SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
เรื่องแคลคูลัสเบื้องต้น                     1
โดยครูปอปลา คนส้วยสวย

                                         คำ า แนะนำ า สำ า หรั บ ผู ้ เ รี ย น




     ١. แบบฝึกทักษะที่ ١.٢ ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน (2) นี้มีผล
     การเรียนรู้
          ที่คาดหวัง คืือ พิจารณาหาลิมิตของฟังก์ชันจากฟังก์ชันได้ ใช้เวลา ٢
     ชั่วโมง
     ٢. ให้ผู้เรียนทำาแบบฝึกทักษะลงในชุดที่ครูแจกให้หรือทำาลงในสมุดของ
     นักเรียนก็ได้
          และหากทำาไม่ทันตามเวลาที่กำาหนดไว้ในแบบฝึกทักษะให้นำาไปทำา
     ต่อเป็นการบ้าน
          แล้วนำามาส่งครูในวันรุ่งขึ้นได้
     ٣. ผูเรียนจะต้องศึกษาแบบฝึกทักษะเรียงตามลำาดับขันตอน โดยเริมจาก
            ้                                          ้          ่
     การฟังครูอธิบาย
          นิยาม ทฤษฎี ตัวอย่าง และซักถามจากครูให้เข้าใจก่อนแล้วจึงเข้า
     กลุ่มและลงมือ
          ทำาแบบฝึกทักษะหากไม่เข้าใจหรือสงสัยในขณะที่กำาลังทำาแบบฝึก
     ทักษะให้ผู้เรียน
          สอบถามเพิ่มเติมจากครูหรือจะซักถามจากเพื่อนในกลุ่มที่เรียนดีก็ได้
     แล้วมาทำาต่อ
           ด้วยตนเอง อย่าให้มีการลอกแบบฝึกทักษะกันส่ง
     ٤. หลังจากทำาแบบฝึกทักษะเสร็จแล้วให้ส่งครูเพื่อตรวจ หากได้คะแนน
     เกิน ٧٥% ของ
         คะแนนเต็มในแต่ละแบบฝึกทักษะถือว่าผ่านเกณฑ์ ก็ให้ผู้เรียนทำาแบบ
     ทดสอบท้าย
         แบบฝึกทักษะนั้น ๆ เพื่อตรวจสอบความเข้าใจอีกครั้งหนึ่ง แต่ถ้าหาก
     ไม่ผ่านเกณฑ์
         ก็ให้ผู้เรียนย้อนกลับไปศึกษาทบทวนและทำาการแก้ไขแบบฝึกทักษะ
     ข้อที่ผดอีกครั้ง
              ิ
         จนผ่านแล้วจึงให้ทำาแบบทดสอบท้ายแบบฝึกทักษะเพื่อตรวจสอบ
     ความเข้าใจ
      5. หากผู้เรียนทำาแบบทดสอบท้ายแบบฝึกทักษะถูกไม่ถึง ٧٥%ของ
จำานวนข้อสอบ
           ให้ทำาการซ่อมเสริมด้วยการซักถามข้อที่ไม่แน่ใจจากครู แล้วให้ลอง
ทำาแบบทดสอบ
           เดิมอีกครั้ง จนผ่าน จึงจะไปศึกษาแบบฝึกทักษะชุดต่อไปได้
     (คะแนนเก็บของแบบฝึกทักษะชุดนี้ คือ ٥ คะแนน)
เรื่องแคลคูลัสเบื้องต้น                                 2
โดยครูปอปลา คนส้วยสวย




 ١.2 ลิ ม ิ ต และความต่ อ เนื ่ อ งของฟั ง ก์ ช ั น (2)
          การพิจารณาหาลิมิตของฟังก์ชัน จากฟังก์ชัน
          ทฤษฎีบท
          เมื่อ a , L และ M เป็นจำำนวนจริงใด ๆ ถ้ำ f และ g เป็นฟังก์ชันที่มี
โดเมน
   และเรนจ์เป็นสับเซตของเซตของจำำนวนจริง โดยที่ x→af(x) = L
                                                lim                  และ
   lim g(x) = M แล้ว
   x→ a



          1. x→ac = c เมื่อ c เป็นค่ำคงตัวใด ๆ
             lim

          2.   lim x = a
               x→ a

                             +
          3. x→ax = a , n∈ I
             lim n n

          4.   lim c f(x) = c lim f(x) = cL,    c เป็นค่ำคงตัวใด ๆ
               x→ a          x→ a


          5.      [ + ]
               limf(x) g(x)= limf(x) limg(x) L + M
               x→ a
                                   +
                                 x→ a
                                           =
                                         x→ a


          6. x→a[ f(x) − g(x)] = x→af(x) − x→ag(x) = L − M
             lim                 lim       lim

          7. x→a[ f(x) ⋅ g(x)] = x→af(x) ⋅ x→ag(x) = L ⋅ M
             lim                 lim       lim

                 f(x)  x→af(x) L
                           lim
          8. x→a g(x)  = limg(x) = M, M ≠ 0
             lim
                       x→a

          9.      [ ] n
                            [ ]     n
               limf(x) = limf(x) = Ln, n∈ I+
               x→a         x→a
เรื่องแคลคูลัสเบื้องต้น                                    3
โดยครูปอปลา คนส้วยสวย

          10. x→a f(x)= n x→ a f(x) L, n∈ I − {1 และ
                                               }
                                           +
              limn        lim = n                              n
                                                                    L∈R




 ตั ว อย่ า       ถ้ำ f(x) = x2 – 3 จงหำ x→2 f(x)
                                         lim

วิธีทำา           limf(x) = limx2 − lim3             (ทฤษฎีบท 6)
                  x→2           x→2      x→2
                                 = 22 − 3 = 1            (ทฤษฎีบท 1 , 3)


 ตั ว อย่ า       ถ้ำ f(x) = (x+2)2 จงหำ x→5 f(x) lim
วิธีทำา           เนื่องจำก x→5(x + 2) = x→5 x + x→52 (ทฤษฎีบท 5)
                            lim          lim lim

                                         = 5+ 2
                                         =7                 (ทฤษฎีบท 1-2)

              ดังนั้น   lim + 2) = [ lim + 2) 2
                           (x 2         (x ]                        (ทฤษฎีบท 9)
                        x→ 5           x→ 5


                                      = 72
                                      = 49

 ตั ว อย่ า       ถ้ำ f(x) = 2x − 2x จงหำ x→5 f(x)
                                          lim
                            3  3



                  เนื่องจำก x→5(2x − 2x) = 2(5 ) − 2(5)
                            lim 3             3
วิธีทำา                                                               (ทฤษฎีบท 2-4, 6)
                                                  = 250− 1 0= 240

                  ดังนั้น      limf(x) = 3 lim(2x3 − 2x)               (ทฤษฎีบท 10)
                               x→5            x→5
                                                = 240= 23 30
                                                 3
เรื่องแคลคูลัสเบื้องต้น                                    4
โดยครูปอปลา คนส้วยสวย




 ตั ว อย่ า             ถ้ำ f(x) = (x + 1 )(3x − 2) จงหำ          lim f(x)
                                     2
                                                                  x→−1


วิธีทำา เนื่องจำก xlim1 (x + 1 ) = (−1 ) + 1 = 2
                          2             2
                   →−
                                                         (ทฤษฎีบท 1, 3)

          และ          lim(3x 2) 3( 1)− 2 = − 5 (ทฤษฎีบท 1, 2)
                            − = −
                       x→ −1



          ดังนั้น             =
                        limf(x)
                        x→ −1
                                  [   x→ −1
                                           2
                                      lim(x + 1)   ][        −
                                                        lim(3x 2)
                                                        x→ −1
                                                                    ]    (ทฤษฎีบท 7)

                                              = (2)(−5)
                                              = −1 0


                               x2 − x − 6
ตั ว อย่ า          ถ้ำ f(x) = 2           จงหำ x→3 f(x)
                                                lim
                              x + 2x − 1 5

วิธีทำา         เนื่องจำก       lim(x2 − x − 6) = 32 − 3− 6 = 0         (ทฤษฎีบท 1-3)
                                x→3


                    และ x→3(x + 2x − 1 5) = 3 + 2(3) − 1 5 = 0 (ทฤษฎีบท 1-4)
                        lim 2                2



                                                   0
                                       limf(x) =
                                       x→3         0




    อำจจะหำค่ำได้หรืออำจจะหำค่ำไม่ได้จึงต้องเปลี่ยนรูป
                     แบบฟังก์ชันใหม่
      โดยอำศัยควำมรูทำงพีชคณิตในกำรดึงตัวร่วมแยก
                     ้
เรื่องแคลคูลัสเบื้องต้น                         5
โดยครูปอปลา คนส้วยสวย




      สำำหรับตัวอย่ำงนี้จะใช้กำรแยกตัวประกอบของเศษและส่วน ดังนี้
                          x2 − x − 6
          จำก     f(x) = 2                เปลียนรูปแบบใหม่จะได้
                                              ่
                         x + 2x − 1 5
                      (x − 3)(x + 2)
                    =
                      (x + 5)(x − 3)
                      x + 2 เมื่อ x ≠
                    =
                      x+5 3
                            x + 2
            lim f(x) = lim
                                    (เมื่อ x≠3)
            x→3        x→3 x + 5 
                      3+ 2
                    =
                      3+5
                      5
                    =
                      8
เรื่องแคลคูลัสเบื้องต้น                                    6
โดยครูปอปลา คนส้วยสวย


 ตั ว อย่ า                                 x2 − 1
                        ถ้ำ          f(x) =        จงหำ x→1 f(x)
                                                        lim
                                            x−1
                                x2 − 1 (x − 1 )(x + 1 )
วิธีทำา       จำก        f(x) =       =                 = x + 1 เมื่อ x≠1
                                x−1        x−1
                    lim f(x) = lim(x + 1 )       ข้อนี้ ทำำนองเดียวกับตัวอย่ำง
                  x→1              x→1
                                                 ที่ ٥
                                  =1 + 1         ต้องเปลี่ยนรูปแบบฟังก์ชันใหม่
                                  =2             โดย


                                             x+ 2 − 2
 ตั ว อย่ า             ถ้ำ         f(x) =            จงหำ x→0 f(x)
                                                           lim
                                                x
                                    x+ 2 − 2   x+ 2 + 2
วิธีทำา       จำก       f(x) =               ×
                                       x       x+ 2 + 2
                                  ( x + 2) − 2
                              =
                                x( x + 2 + 2
                                        x      ข้อนี้ ทำำนองเดียวกับตัวอย่ำง
                              =
                                x( x + 2 + 2   ที่ ٥ กล่ำวคือ            ต้อง
                                       1       เปลี่ยนรูปแบบของฟังก์ชันใหม่
                              =                แต่ข้อนีใช้กำรแยกตัวประกอบ
                                                        ้
                                  x+2+ 2
                                               ไม่ได้

              limf(x) = lim
                                 1            จึงต้องใช้กำรนำำสังยุคของเศษ
              x→0
                                      
                        x→0 x + 2 + 2 
    ∴                     1
                      =
                        2 2
ชื่อ................................................................ชั้น..........
                                    ่
                        ....เลขที.............
เรื่องแคลคูลัสเบื้องต้น                                   7
โดยครูปอปลา คนส้วยสวย


                           แบบฝึกทักษะที่ 1.2

ให้นักเรียนหำค่ำลิมิตของฟังก์ชันต่อไปนี้
       1. x→4(−8)
            lim        = ………………………….
       2. lim(4x)
               x→3     = ………………………….
            lim 2
         3. x→2(3x )             = ………………………….
         4.     lim (−3x5 ) = ………………………….
               x→−2

         5. x→5(x + 2) = x→5(x) + x→5(2) = ………………………….
            lim          lim      lim
         6. lim(5 − 4x) = lim5− lim(4x) = ………………………….
               x→7              x→7   x→7

         7.     lim (x + 9x) = ………………………….
                       2
               x→−1

         8. x→2(3x − 5) = ………………………….
            lim 4

         9.     lim (2x3 − 5x + 8)         = ………………………….
               x→−1

         10. xlim(x + 3x + x − 6) = ………………………….
                   4    2
               →0



                11. ถ้ำ f(x) = x + 22 จงหำ x→5 f(x)
                                           lim
                                       3


               …………………………………………………………………………………….
    …………………………………………………………………………………….
        …………………………………………………………………………………….
        …………………………………………………………………………………….
                      x−1
       12. ถ้ำ f(x) = 2    จงหำ x→1 f(x)
                                lim
                      x −1
        …………………………………………………………………………………….
    …………………………………………………………………………………….
        …………………………………………………………………………………….
        …………………………………………………………………………………….
        …………………………………………………………………………………….
เรื่องแคลคูลัสเบื้องต้น        8
โดยครูปอปลา คนส้วยสวย

                   x−2
         13. ถ้ำ f(x) =  จงหำ x→2 f(x)
                              lim
                 x + x−6  2

         …………………………………………………………………………………….
   …………………………………………………………………………………….
       …………………………………………………………………………………….
       …………………………………………………………………………………….
       …………………………………………………………………………………….
                        2x2 − x − 3
         14. ถ้ำ f(x) =             จงหำ x→−1 f(x)
                                          lim
                           x+ 1
          …………………………………………………………………………………….
   …………………………………………………………………………………….
       …………………………………………………………………………………….
       …………………………………………………………………………………….
       …………………………………………………………………………………….

                   x + 9− 3
            15. ถ้ำ f(x) =  จงหำ x→0 f(x)
                                 lim
                      x
         …………………………………………………………………………………….
   …………………………………………………………………………………….
       …………………………………………………………………………………….
       …………………………………………………………………………………….
       …………………………………………………………………………………….

                   x + 4− 2
            16. ถ้ำ f(x) =  จงหำ x→0 f(x)
                                 lim
                      x
         …………………………………………………………………………………….
   …………………………………………………………………………………….
       …………………………………………………………………………………….
       …………………………………………………………………………………….
       …………………………………………………………………………………….
เรื่องแคลคูลัสเบื้องต้น   9
โดยครูปอปลา คนส้วยสวย

                 x−9
           17.   lim
             x→9 x − 3

         …………………………………………………………………………………….
   …………………………………………………………………………………….
       …………………………………………………………………………………….
       …………………………………………………………………………………….
       …………………………………………………………………………………….
                3− x
            18. lim
             x→9 9 − x

         …………………………………………………………………………………….
   …………………………………………………………………………………….
       …………………………………………………………………………………….
       …………………………………………………………………………………….
       …………………………………………………………………………………….
                 2 − 4− k
            19. lim
             k→0     k
         …………………………………………………………………………………….
   …………………………………………………………………………………….
       …………………………………………………………………………………….
       …………………………………………………………………………………….
       …………………………………………………………………………………….

                 x+ 5 − 5
            20. lim
             x→0    x
         …………………………………………………………………………………….
   …………………………………………………………………………………….
       …………………………………………………………………………………….
       …………………………………………………………………………………….
       …………………………………………………………………………………….
เรื่องแคลคูลัสเบื้องต้น                               10
โดยครูปอปลา คนส้วยสวย


                              แบบทดสอบที่ ١.٢
  วิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค٤٣٢٠٢) ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ٦ หน่วยการ
                          เรียนรู้ แคลคูลัสเบื้องต้น
         เรื่อง ลิมตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน (٢) เวลา ١٥ นาที
                   ิ
คำาชี้แจง ข้อสอบฉบับนี้เป็นแบบปรนัยเลือกตอบจำำนวน 5 ข้อ เกี่ยวข้องกับ
เรื่องกำรพิจำรณำ          หำลิมิตของฟังก์ชันจำกฟังก์ชัน ให้นักเรียนทำำ
ด้วยตนเองเพื่อทดสอบควำมเข้ำใจหลังจำก ทำำกิจกรรมตำมแบบฝึกทักษะที่
1.2 ครบแล้ว โดยกำรเลือกตอบลงในกระดำษคำำตอบ เพียงข้อละ 1 ตัว
เลือกเท่ำนั้น

จากฟั ง ก์ ช ั น ที ่ ก ำ า หนดให้ ท ั ้ ง ٦ ฟั ง ก์ ช ั น นี ้ ให้ พ ิ จ ารณาแล้ ว ตอบ
คำ า ถามข้ อ ٥ – ١
     1 f (x) = 5x2 + 2x – 3
      )                                        2) f(x) = 2 x + 1
                                                           x +1
                  x −4
                   2                                              x −1
    3) f(x) =                                4)       f(x) =
                   x−2                                            x −1
                                                       x – 1 เมื่อ x > 2
                                                       x2 -4x + 5 เมื่อ < 2
                  4− x
    5) f(x) =                                   6) f(x) = {
                  16 − x
                                                        ٣ เมือ x = 2
                                                             ่

1. ลิมิตของฟังก์ชันใด เมื่อ x เข้ำใกล้ 1 มีค่ำเท่ำกับ 0
     ก. 1)                 ข. 2)                      ค. 3)
    ง. 4)
2. ลิมิตของฟังก์ชันใด เมื่อ x เข้ำใกล้ 2 มีค่ำเท่ำกับ 4
     ก. 3)                 ข. 4)                      ค. 5)
    ง. 6)
3. ลิมิตของฟังก์ชันในข้อ 5 เมื่อ x เข้ำใกล้ 16 มีค่ำเท่ำไร
                                            1                            1
       ก. 1                           ข.    4
                                                                  ค.     8
    ง. หำค่ำไม่ได้
4. ลิมิตของฟังก์ชันในข้อ 6 เมื่อ x เข้ำใกล้ 2 มีค่ำเท่ำไร
     ก. 0                ข. 1                   ค. 2
    ง. หำค่ำไม่ได้
เรื่องแคลคูลัสเบื้องต้น                                    11
โดยครูปอปลา คนส้วยสวย

5 ลิมิตของฟังก์ชันในข้อใด เมื่อ x เข้ำใกล้ 4 จะมีค่ำเท่ำกับ 6
      ก.    3)         ข. 5)             ค. 6)          ง. ไม่มีลิมิต
ของฟังก์ชันใดที่มีค่ำเป็น 6



                 เฉลยแบบฝึ ก ทั ก ษะที ่ ١.2
      1.         –8
      2.         4 (٣) = 12
      3.         3 (22) = 12
      4.         –3 (–2)5 = –3(–32) = 96
      5.         5 + 2 = 7
      6.         5 – 4 (7) = 5 – 28 = –23
      7.         (–1)2 + 9(–1) = 1 – 9 = –8
      8.         3 (24) – 5 = 48 – 5 = 43
      9.         2 (–1)3 – 5 (–1) + 8 = – 2 + 5 + 8 = 11
           10.           04 + 3 (02) + 0 –6 = –6
           11.    3
                      5 + 22 = 3 27 = 3
                                      (x− 1)            1     1     1
                     lim = lim
                 12. x→1f(x) x→1              = lim        =     =
                                  (x− 1)(x 1) x→1 (x+ 1) 1+ 1 2
                                           +
                                       (x− 2)            1     1      1
                     lim = lim
                 13. x→ 2f(x) x→ 2              = lim       =      =
                                   (x+ 3)(x 2) x→ 2 x + 3 2+ 3 5
                                            −
                                    (x+ 1)(2x3)
                                            −
                            =
                 14. xlimf(x) xlim             = lim(2x 3)= 2( 1)− 3= − 5
                                                         −    −
                      → −1     → −1     x+ 1     x→ − 1

                                          x + 9 − 3 x + 9 + 3 (x+ 9) 9−
                     lim =
                 15. x→0f(x) xlim                  ⋅          =
                               →0            x       x + 9 + 3 x x + 9 + 3)

                          x+ 4 − 2 x+ 4 + 2          (x+ 4) 4
                                                          −
      16.         = lim           ⋅            = lim
                    x→ 0     x       x + 4 + 2 x→0 x x + 4 + 2
                       (x + 4) 4
                              −              x               1
                  lim            = lim              = lim
                  x→ 0 x(x 4+ 2) x→ 0 x( x + 4 + 2) x→ 0 x + 4 + 2
                          +
เรื่องแคลคูลัสเบื้องต้น                           12
โดยครูปอปลา คนส้วยสวย

                      1       1    1
                            =    =
                    0+ 4 + 2 2+ 2 4




                         x− 9   x+ 3
      17.          =
             limf(x)          ⋅
             x→ 9         x− 3 x+ 3
                     (x− 9)( x + 3)
              = lim
                x→ 9     (x− 9)
              = lim x + 3)= 0 + 3= 3
                   (
                x→ 9

              = 9 + 3= 3+ 3= 6

                3− x        3− x 3+ x
      18.   lim       = lim          ⋅
            x→ 9 9− x   x→ 9 9− x      3+ x
                                         −
                                       (9 x)
                          = lim
                                    − +
                             x→ 9 (9 x)(3 x)

                                     1
                            = lim
                              x→ 9 3+   x
                                  1       1   1
                            =         =     =
                              3+ 9 3+ 3 6

                 2− 4 − k 2+ 4 − k           4− (4− k)
      19.   lim          ⋅             = lim
            x→ 0    k       2+ 4− k x→9 k(2 4− k)
                                              +
                                     k
                        = lim
                                  + 4− k)
                           x→ 0 k(2

                                    1
                        = lim
                           x→ 0 2+ 4− k

                                     1      1    1
                             =            =    =
                                 2 + 4 − 0 2+ 2 4
เรื่องแคลคูลัสเบื้องต้น                          13
โดยครูปอปลา คนส้วยสวย




                    x+ 5− 5 x+ 5+ 5               (x+ 5)− 5
      20     lim             ⋅             = lim
             x→ 0      x         x + 5 + 5 x→ 0 x( x + 5 + 5)
                                       x
                         = lim
                           x→ 0 x( x + 5 + 5)

                                     1
                         = lim
                           x→ 0 x + 5 + 5

                                  1         1
                         =               =
                             0+ 5 + 5 2 5

More Related Content

What's hot

แบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจ
แบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจแบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจ
แบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจชัชชญา ช่างเจริญ
 
สมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรง
สมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรงสมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรง
สมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรงทับทิม เจริญตา
 
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวsontayath
 
สื่อรายวิชา ค 31201 (สมการเส้นตรง) ครูขวัญแก้ว มีเหมือน
สื่อรายวิชา ค 31201 (สมการเส้นตรง) ครูขวัญแก้ว  มีเหมือนสื่อรายวิชา ค 31201 (สมการเส้นตรง) ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน
สื่อรายวิชา ค 31201 (สมการเส้นตรง) ครูขวัญแก้ว มีเหมือนพัน พัน
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรตkrurutsamee
 
Chapter 4 ลิมิตของฟังก์ชัน
Chapter 4 ลิมิตของฟังก์ชันChapter 4 ลิมิตของฟังก์ชัน
Chapter 4 ลิมิตของฟังก์ชันPumPui Oranuch
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการAon Narinchoti
 
9789740331131
97897403311319789740331131
9789740331131CUPress
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นRitthinarongron School
 
เฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตเฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตkrurutsamee
 
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปรกราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปรJiraprapa Suwannajak
 
9789740333005
97897403330059789740333005
9789740333005CUPress
 
บทที่ 13 ระบบสมการ
บทที่ 13 ระบบสมการบทที่ 13 ระบบสมการ
บทที่ 13 ระบบสมการkrulerdboon
 
ค่าสูงสุดสัมบูรณ์และค่าต่ำสุดสัมบูรณ์ของฟังก์ชัน
ค่าสูงสุดสัมบูรณ์และค่าต่ำสุดสัมบูรณ์ของฟังก์ชันค่าสูงสุดสัมบูรณ์และค่าต่ำสุดสัมบูรณ์ของฟังก์ชัน
ค่าสูงสุดสัมบูรณ์และค่าต่ำสุดสัมบูรณ์ของฟังก์ชันsawed kodnara
 
สมการและอสมการ
สมการและอสมการสมการและอสมการ
สมการและอสมการORAWAN SAKULDEE
 
ฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นY'Yuyee Raksaya
 

What's hot (20)

แบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจ
แบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจแบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจ
แบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจ
 
สมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรง
สมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรงสมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรง
สมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรง
 
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
สื่อรายวิชา ค 31201 (สมการเส้นตรง) ครูขวัญแก้ว มีเหมือน
สื่อรายวิชา ค 31201 (สมการเส้นตรง) ครูขวัญแก้ว  มีเหมือนสื่อรายวิชา ค 31201 (สมการเส้นตรง) ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน
สื่อรายวิชา ค 31201 (สมการเส้นตรง) ครูขวัญแก้ว มีเหมือน
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรต
 
Chapter 4 ลิมิตของฟังก์ชัน
Chapter 4 ลิมิตของฟังก์ชันChapter 4 ลิมิตของฟังก์ชัน
Chapter 4 ลิมิตของฟังก์ชัน
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการ
 
9789740331131
97897403311319789740331131
9789740331131
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
เฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตเฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรต
 
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปรกราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
 
9789740333005
97897403330059789740333005
9789740333005
 
บทที่ 13 ระบบสมการ
บทที่ 13 ระบบสมการบทที่ 13 ระบบสมการ
บทที่ 13 ระบบสมการ
 
Calculus www.clipvidva.com
Calculus www.clipvidva.com Calculus www.clipvidva.com
Calculus www.clipvidva.com
 
ค่าสูงสุดสัมบูรณ์และค่าต่ำสุดสัมบูรณ์ของฟังก์ชัน
ค่าสูงสุดสัมบูรณ์และค่าต่ำสุดสัมบูรณ์ของฟังก์ชันค่าสูงสุดสัมบูรณ์และค่าต่ำสุดสัมบูรณ์ของฟังก์ชัน
ค่าสูงสุดสัมบูรณ์และค่าต่ำสุดสัมบูรณ์ของฟังก์ชัน
 
ปริพันธ์
ปริพันธ์ปริพันธ์
ปริพันธ์
 
สมการและอสมการ
สมการและอสมการสมการและอสมการ
สมการและอสมการ
 
Function1
Function1Function1
Function1
 
ฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้น
 
การแก้ระบบสมการ
การแก้ระบบสมการการแก้ระบบสมการ
การแก้ระบบสมการ
 

Viewers also liked

Gracia santificante 60
Gracia santificante 60Gracia santificante 60
Gracia santificante 60Rebeca Reynaud
 
GENERALIDADES TEMATICAS SOBRE LA INTRODUCCCION A LA SDA ESCRITURA
GENERALIDADES TEMATICAS SOBRE LA INTRODUCCCION A LA SDA ESCRITURAGENERALIDADES TEMATICAS SOBRE LA INTRODUCCCION A LA SDA ESCRITURA
GENERALIDADES TEMATICAS SOBRE LA INTRODUCCCION A LA SDA ESCRITURAluisafda2476
 
Generalidades de la biblia
Generalidades de la bibliaGeneralidades de la biblia
Generalidades de la bibliaJosue Mateo
 
Generalidades de la Biblia 01
Generalidades de la Biblia 01Generalidades de la Biblia 01
Generalidades de la Biblia 01CARLOS MASSUH
 
Generalidades de la Biblia
Generalidades de la BibliaGeneralidades de la Biblia
Generalidades de la BibliaLizbeth Ramos
 
Generalidades de la biblia
Generalidades de la bibliaGeneralidades de la biblia
Generalidades de la bibliaJessie Reyes
 

Viewers also liked (9)

La Biblia Inspiracion De Dios
La Biblia Inspiracion De DiosLa Biblia Inspiracion De Dios
La Biblia Inspiracion De Dios
 
Sesión I.Introducción generalidades
Sesión I.Introducción   generalidadesSesión I.Introducción   generalidades
Sesión I.Introducción generalidades
 
Gracia santificante 60
Gracia santificante 60Gracia santificante 60
Gracia santificante 60
 
La gracia
La graciaLa gracia
La gracia
 
GENERALIDADES TEMATICAS SOBRE LA INTRODUCCCION A LA SDA ESCRITURA
GENERALIDADES TEMATICAS SOBRE LA INTRODUCCCION A LA SDA ESCRITURAGENERALIDADES TEMATICAS SOBRE LA INTRODUCCCION A LA SDA ESCRITURA
GENERALIDADES TEMATICAS SOBRE LA INTRODUCCCION A LA SDA ESCRITURA
 
Generalidades de la biblia
Generalidades de la bibliaGeneralidades de la biblia
Generalidades de la biblia
 
Generalidades de la Biblia 01
Generalidades de la Biblia 01Generalidades de la Biblia 01
Generalidades de la Biblia 01
 
Generalidades de la Biblia
Generalidades de la BibliaGeneralidades de la Biblia
Generalidades de la Biblia
 
Generalidades de la biblia
Generalidades de la bibliaGeneralidades de la biblia
Generalidades de la biblia
 

Similar to 1ลิมิต2ไว้สอนจริง

Exponential and logarithm function
Exponential and logarithm functionExponential and logarithm function
Exponential and logarithm functionThanuphong Ngoapm
 
Factoring of polynomials
Factoring of polynomialsFactoring of polynomials
Factoring of polynomialsAon Narinchoti
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการAon Narinchoti
 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม Somporn Amornwech
 
9789740329183
97897403291839789740329183
9789740329183CUPress
 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม Somporn Amornwech
 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว Somporn Amornwech
 
ประวัติ แคลคูลัส
ประวัติ แคลคูลัสประวัติ แคลคูลัส
ประวัติ แคลคูลัสPloy Purr
 
บทเรียนซ่อมเสริมการแยกฯ ม.3 ส่วนบุญ
บทเรียนซ่อมเสริมการแยกฯ ม.3 ส่วนบุญบทเรียนซ่อมเสริมการแยกฯ ม.3 ส่วนบุญ
บทเรียนซ่อมเสริมการแยกฯ ม.3 ส่วนบุญKrukomnuan
 

Similar to 1ลิมิต2ไว้สอนจริง (20)

Calculus
CalculusCalculus
Calculus
 
ลิมิต
ลิมิตลิมิต
ลิมิต
 
Exponential and logarithm function
Exponential and logarithm functionExponential and logarithm function
Exponential and logarithm function
 
Factoring of polynomials
Factoring of polynomialsFactoring of polynomials
Factoring of polynomials
 
Limit
LimitLimit
Limit
 
Intrigate(3)
Intrigate(3)Intrigate(3)
Intrigate(3)
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการ
 
Math9
Math9Math9
Math9
 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
 
9789740329183
97897403291839789740329183
9789740329183
 
Real
RealReal
Real
 
Math onet49
Math onet49Math onet49
Math onet49
 
เฉลยMath onet49
เฉลยMath onet49เฉลยMath onet49
เฉลยMath onet49
 
เฉลยMath onet49
เฉลยMath onet49เฉลยMath onet49
เฉลยMath onet49
 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
 
Cal
CalCal
Cal
 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
 
ประวัติ แคลคูลัส
ประวัติ แคลคูลัสประวัติ แคลคูลัส
ประวัติ แคลคูลัส
 
บทเรียนซ่อมเสริมการแยกฯ ม.3 ส่วนบุญ
บทเรียนซ่อมเสริมการแยกฯ ม.3 ส่วนบุญบทเรียนซ่อมเสริมการแยกฯ ม.3 ส่วนบุญ
บทเรียนซ่อมเสริมการแยกฯ ม.3 ส่วนบุญ
 
Series
SeriesSeries
Series
 

1ลิมิต2ไว้สอนจริง

  • 1. เรื่องแคลคูลัสเบื้องต้น 1 โดยครูปอปลา คนส้วยสวย คำ า แนะนำ า สำ า หรั บ ผู ้ เ รี ย น ١. แบบฝึกทักษะที่ ١.٢ ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน (2) นี้มีผล การเรียนรู้ ที่คาดหวัง คืือ พิจารณาหาลิมิตของฟังก์ชันจากฟังก์ชันได้ ใช้เวลา ٢ ชั่วโมง ٢. ให้ผู้เรียนทำาแบบฝึกทักษะลงในชุดที่ครูแจกให้หรือทำาลงในสมุดของ นักเรียนก็ได้ และหากทำาไม่ทันตามเวลาที่กำาหนดไว้ในแบบฝึกทักษะให้นำาไปทำา ต่อเป็นการบ้าน แล้วนำามาส่งครูในวันรุ่งขึ้นได้ ٣. ผูเรียนจะต้องศึกษาแบบฝึกทักษะเรียงตามลำาดับขันตอน โดยเริมจาก ้ ้ ่ การฟังครูอธิบาย นิยาม ทฤษฎี ตัวอย่าง และซักถามจากครูให้เข้าใจก่อนแล้วจึงเข้า กลุ่มและลงมือ ทำาแบบฝึกทักษะหากไม่เข้าใจหรือสงสัยในขณะที่กำาลังทำาแบบฝึก ทักษะให้ผู้เรียน สอบถามเพิ่มเติมจากครูหรือจะซักถามจากเพื่อนในกลุ่มที่เรียนดีก็ได้ แล้วมาทำาต่อ ด้วยตนเอง อย่าให้มีการลอกแบบฝึกทักษะกันส่ง ٤. หลังจากทำาแบบฝึกทักษะเสร็จแล้วให้ส่งครูเพื่อตรวจ หากได้คะแนน เกิน ٧٥% ของ คะแนนเต็มในแต่ละแบบฝึกทักษะถือว่าผ่านเกณฑ์ ก็ให้ผู้เรียนทำาแบบ ทดสอบท้าย แบบฝึกทักษะนั้น ๆ เพื่อตรวจสอบความเข้าใจอีกครั้งหนึ่ง แต่ถ้าหาก ไม่ผ่านเกณฑ์ ก็ให้ผู้เรียนย้อนกลับไปศึกษาทบทวนและทำาการแก้ไขแบบฝึกทักษะ ข้อที่ผดอีกครั้ง ิ จนผ่านแล้วจึงให้ทำาแบบทดสอบท้ายแบบฝึกทักษะเพื่อตรวจสอบ ความเข้าใจ 5. หากผู้เรียนทำาแบบทดสอบท้ายแบบฝึกทักษะถูกไม่ถึง ٧٥%ของ จำานวนข้อสอบ ให้ทำาการซ่อมเสริมด้วยการซักถามข้อที่ไม่แน่ใจจากครู แล้วให้ลอง ทำาแบบทดสอบ เดิมอีกครั้ง จนผ่าน จึงจะไปศึกษาแบบฝึกทักษะชุดต่อไปได้ (คะแนนเก็บของแบบฝึกทักษะชุดนี้ คือ ٥ คะแนน)
  • 2. เรื่องแคลคูลัสเบื้องต้น 2 โดยครูปอปลา คนส้วยสวย ١.2 ลิ ม ิ ต และความต่ อ เนื ่ อ งของฟั ง ก์ ช ั น (2) การพิจารณาหาลิมิตของฟังก์ชัน จากฟังก์ชัน ทฤษฎีบท เมื่อ a , L และ M เป็นจำำนวนจริงใด ๆ ถ้ำ f และ g เป็นฟังก์ชันที่มี โดเมน และเรนจ์เป็นสับเซตของเซตของจำำนวนจริง โดยที่ x→af(x) = L lim และ lim g(x) = M แล้ว x→ a 1. x→ac = c เมื่อ c เป็นค่ำคงตัวใด ๆ lim 2. lim x = a x→ a + 3. x→ax = a , n∈ I lim n n 4. lim c f(x) = c lim f(x) = cL, c เป็นค่ำคงตัวใด ๆ x→ a x→ a 5. [ + ] limf(x) g(x)= limf(x) limg(x) L + M x→ a + x→ a = x→ a 6. x→a[ f(x) − g(x)] = x→af(x) − x→ag(x) = L − M lim lim lim 7. x→a[ f(x) ⋅ g(x)] = x→af(x) ⋅ x→ag(x) = L ⋅ M lim lim lim  f(x)  x→af(x) L lim 8. x→a g(x)  = limg(x) = M, M ≠ 0 lim   x→a 9. [ ] n [ ] n limf(x) = limf(x) = Ln, n∈ I+ x→a x→a
  • 3. เรื่องแคลคูลัสเบื้องต้น 3 โดยครูปอปลา คนส้วยสวย 10. x→a f(x)= n x→ a f(x) L, n∈ I − {1 และ } + limn lim = n n L∈R ตั ว อย่ า ถ้ำ f(x) = x2 – 3 จงหำ x→2 f(x) lim วิธีทำา limf(x) = limx2 − lim3 (ทฤษฎีบท 6) x→2 x→2 x→2 = 22 − 3 = 1 (ทฤษฎีบท 1 , 3) ตั ว อย่ า ถ้ำ f(x) = (x+2)2 จงหำ x→5 f(x) lim วิธีทำา เนื่องจำก x→5(x + 2) = x→5 x + x→52 (ทฤษฎีบท 5) lim lim lim = 5+ 2 =7 (ทฤษฎีบท 1-2) ดังนั้น lim + 2) = [ lim + 2) 2 (x 2 (x ] (ทฤษฎีบท 9) x→ 5 x→ 5 = 72 = 49 ตั ว อย่ า ถ้ำ f(x) = 2x − 2x จงหำ x→5 f(x) lim 3 3 เนื่องจำก x→5(2x − 2x) = 2(5 ) − 2(5) lim 3 3 วิธีทำา (ทฤษฎีบท 2-4, 6) = 250− 1 0= 240 ดังนั้น limf(x) = 3 lim(2x3 − 2x) (ทฤษฎีบท 10) x→5 x→5 = 240= 23 30 3
  • 4. เรื่องแคลคูลัสเบื้องต้น 4 โดยครูปอปลา คนส้วยสวย ตั ว อย่ า ถ้ำ f(x) = (x + 1 )(3x − 2) จงหำ lim f(x) 2 x→−1 วิธีทำา เนื่องจำก xlim1 (x + 1 ) = (−1 ) + 1 = 2 2 2 →− (ทฤษฎีบท 1, 3) และ lim(3x 2) 3( 1)− 2 = − 5 (ทฤษฎีบท 1, 2) − = − x→ −1 ดังนั้น = limf(x) x→ −1 [ x→ −1 2 lim(x + 1) ][ − lim(3x 2) x→ −1 ] (ทฤษฎีบท 7) = (2)(−5) = −1 0 x2 − x − 6 ตั ว อย่ า ถ้ำ f(x) = 2 จงหำ x→3 f(x) lim x + 2x − 1 5 วิธีทำา เนื่องจำก lim(x2 − x − 6) = 32 − 3− 6 = 0 (ทฤษฎีบท 1-3) x→3 และ x→3(x + 2x − 1 5) = 3 + 2(3) − 1 5 = 0 (ทฤษฎีบท 1-4) lim 2 2 0 limf(x) = x→3 0 อำจจะหำค่ำได้หรืออำจจะหำค่ำไม่ได้จึงต้องเปลี่ยนรูป แบบฟังก์ชันใหม่ โดยอำศัยควำมรูทำงพีชคณิตในกำรดึงตัวร่วมแยก ้
  • 5. เรื่องแคลคูลัสเบื้องต้น 5 โดยครูปอปลา คนส้วยสวย สำำหรับตัวอย่ำงนี้จะใช้กำรแยกตัวประกอบของเศษและส่วน ดังนี้ x2 − x − 6 จำก f(x) = 2 เปลียนรูปแบบใหม่จะได้ ่ x + 2x − 1 5 (x − 3)(x + 2) = (x + 5)(x − 3) x + 2 เมื่อ x ≠ = x+5 3 x + 2 lim f(x) = lim   (เมื่อ x≠3) x→3 x→3 x + 5  3+ 2 = 3+5 5 = 8
  • 6. เรื่องแคลคูลัสเบื้องต้น 6 โดยครูปอปลา คนส้วยสวย ตั ว อย่ า x2 − 1 ถ้ำ f(x) = จงหำ x→1 f(x) lim x−1 x2 − 1 (x − 1 )(x + 1 ) วิธีทำา จำก f(x) = = = x + 1 เมื่อ x≠1 x−1 x−1 lim f(x) = lim(x + 1 ) ข้อนี้ ทำำนองเดียวกับตัวอย่ำง x→1 x→1 ที่ ٥ =1 + 1 ต้องเปลี่ยนรูปแบบฟังก์ชันใหม่ =2 โดย x+ 2 − 2 ตั ว อย่ า ถ้ำ f(x) = จงหำ x→0 f(x) lim x x+ 2 − 2 x+ 2 + 2 วิธีทำา จำก f(x) = × x x+ 2 + 2 ( x + 2) − 2 = x( x + 2 + 2 x ข้อนี้ ทำำนองเดียวกับตัวอย่ำง = x( x + 2 + 2 ที่ ٥ กล่ำวคือ ต้อง 1 เปลี่ยนรูปแบบของฟังก์ชันใหม่ = แต่ข้อนีใช้กำรแยกตัวประกอบ ้ x+2+ 2 ไม่ได้ limf(x) = lim 1  จึงต้องใช้กำรนำำสังยุคของเศษ x→0   x→0 x + 2 + 2  ∴ 1 = 2 2
  • 7. ชื่อ................................................................ชั้น.......... ่ ....เลขที............. เรื่องแคลคูลัสเบื้องต้น 7 โดยครูปอปลา คนส้วยสวย แบบฝึกทักษะที่ 1.2 ให้นักเรียนหำค่ำลิมิตของฟังก์ชันต่อไปนี้ 1. x→4(−8) lim = …………………………. 2. lim(4x) x→3 = …………………………. lim 2 3. x→2(3x ) = …………………………. 4. lim (−3x5 ) = …………………………. x→−2 5. x→5(x + 2) = x→5(x) + x→5(2) = …………………………. lim lim lim 6. lim(5 − 4x) = lim5− lim(4x) = …………………………. x→7 x→7 x→7 7. lim (x + 9x) = …………………………. 2 x→−1 8. x→2(3x − 5) = …………………………. lim 4 9. lim (2x3 − 5x + 8) = …………………………. x→−1 10. xlim(x + 3x + x − 6) = …………………………. 4 2 →0 11. ถ้ำ f(x) = x + 22 จงหำ x→5 f(x) lim 3 ……………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………. x−1 12. ถ้ำ f(x) = 2 จงหำ x→1 f(x) lim x −1 ……………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………….
  • 8. เรื่องแคลคูลัสเบื้องต้น 8 โดยครูปอปลา คนส้วยสวย x−2 13. ถ้ำ f(x) = จงหำ x→2 f(x) lim x + x−6 2 ……………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………. 2x2 − x − 3 14. ถ้ำ f(x) = จงหำ x→−1 f(x) lim x+ 1 ……………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………. x + 9− 3 15. ถ้ำ f(x) = จงหำ x→0 f(x) lim x ……………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………. x + 4− 2 16. ถ้ำ f(x) = จงหำ x→0 f(x) lim x ……………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………….
  • 9. เรื่องแคลคูลัสเบื้องต้น 9 โดยครูปอปลา คนส้วยสวย x−9 17. lim x→9 x − 3 ……………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………. 3− x 18. lim x→9 9 − x ……………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………. 2 − 4− k 19. lim k→0 k ……………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………. x+ 5 − 5 20. lim x→0 x ……………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………….
  • 10. เรื่องแคลคูลัสเบื้องต้น 10 โดยครูปอปลา คนส้วยสวย แบบทดสอบที่ ١.٢ วิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค٤٣٢٠٢) ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ٦ หน่วยการ เรียนรู้ แคลคูลัสเบื้องต้น เรื่อง ลิมตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน (٢) เวลา ١٥ นาที ิ คำาชี้แจง ข้อสอบฉบับนี้เป็นแบบปรนัยเลือกตอบจำำนวน 5 ข้อ เกี่ยวข้องกับ เรื่องกำรพิจำรณำ หำลิมิตของฟังก์ชันจำกฟังก์ชัน ให้นักเรียนทำำ ด้วยตนเองเพื่อทดสอบควำมเข้ำใจหลังจำก ทำำกิจกรรมตำมแบบฝึกทักษะที่ 1.2 ครบแล้ว โดยกำรเลือกตอบลงในกระดำษคำำตอบ เพียงข้อละ 1 ตัว เลือกเท่ำนั้น จากฟั ง ก์ ช ั น ที ่ ก ำ า หนดให้ ท ั ้ ง ٦ ฟั ง ก์ ช ั น นี ้ ให้ พ ิ จ ารณาแล้ ว ตอบ คำ า ถามข้ อ ٥ – ١ 1 f (x) = 5x2 + 2x – 3 ) 2) f(x) = 2 x + 1 x +1 x −4 2 x −1 3) f(x) = 4) f(x) = x−2 x −1 x – 1 เมื่อ x > 2 x2 -4x + 5 เมื่อ < 2 4− x 5) f(x) = 6) f(x) = { 16 − x ٣ เมือ x = 2 ่ 1. ลิมิตของฟังก์ชันใด เมื่อ x เข้ำใกล้ 1 มีค่ำเท่ำกับ 0 ก. 1) ข. 2) ค. 3) ง. 4) 2. ลิมิตของฟังก์ชันใด เมื่อ x เข้ำใกล้ 2 มีค่ำเท่ำกับ 4 ก. 3) ข. 4) ค. 5) ง. 6) 3. ลิมิตของฟังก์ชันในข้อ 5 เมื่อ x เข้ำใกล้ 16 มีค่ำเท่ำไร 1 1 ก. 1 ข. 4 ค. 8 ง. หำค่ำไม่ได้ 4. ลิมิตของฟังก์ชันในข้อ 6 เมื่อ x เข้ำใกล้ 2 มีค่ำเท่ำไร ก. 0 ข. 1 ค. 2 ง. หำค่ำไม่ได้
  • 11. เรื่องแคลคูลัสเบื้องต้น 11 โดยครูปอปลา คนส้วยสวย 5 ลิมิตของฟังก์ชันในข้อใด เมื่อ x เข้ำใกล้ 4 จะมีค่ำเท่ำกับ 6 ก. 3) ข. 5) ค. 6) ง. ไม่มีลิมิต ของฟังก์ชันใดที่มีค่ำเป็น 6 เฉลยแบบฝึ ก ทั ก ษะที ่ ١.2 1. –8 2. 4 (٣) = 12 3. 3 (22) = 12 4. –3 (–2)5 = –3(–32) = 96 5. 5 + 2 = 7 6. 5 – 4 (7) = 5 – 28 = –23 7. (–1)2 + 9(–1) = 1 – 9 = –8 8. 3 (24) – 5 = 48 – 5 = 43 9. 2 (–1)3 – 5 (–1) + 8 = – 2 + 5 + 8 = 11 10. 04 + 3 (02) + 0 –6 = –6 11. 3 5 + 22 = 3 27 = 3 (x− 1) 1 1 1 lim = lim 12. x→1f(x) x→1 = lim = = (x− 1)(x 1) x→1 (x+ 1) 1+ 1 2 + (x− 2) 1 1 1 lim = lim 13. x→ 2f(x) x→ 2 = lim = = (x+ 3)(x 2) x→ 2 x + 3 2+ 3 5 − (x+ 1)(2x3) − = 14. xlimf(x) xlim = lim(2x 3)= 2( 1)− 3= − 5 − − → −1 → −1 x+ 1 x→ − 1 x + 9 − 3 x + 9 + 3 (x+ 9) 9− lim = 15. x→0f(x) xlim ⋅ = →0 x x + 9 + 3 x x + 9 + 3) x+ 4 − 2 x+ 4 + 2 (x+ 4) 4 − 16. = lim ⋅ = lim x→ 0 x x + 4 + 2 x→0 x x + 4 + 2 (x + 4) 4 − x 1 lim = lim = lim x→ 0 x(x 4+ 2) x→ 0 x( x + 4 + 2) x→ 0 x + 4 + 2 +
  • 12. เรื่องแคลคูลัสเบื้องต้น 12 โดยครูปอปลา คนส้วยสวย 1 1 1 = = 0+ 4 + 2 2+ 2 4 x− 9 x+ 3 17. = limf(x) ⋅ x→ 9 x− 3 x+ 3 (x− 9)( x + 3) = lim x→ 9 (x− 9) = lim x + 3)= 0 + 3= 3 ( x→ 9 = 9 + 3= 3+ 3= 6 3− x 3− x 3+ x 18. lim = lim ⋅ x→ 9 9− x x→ 9 9− x 3+ x − (9 x) = lim − + x→ 9 (9 x)(3 x) 1 = lim x→ 9 3+ x 1 1 1 = = = 3+ 9 3+ 3 6 2− 4 − k 2+ 4 − k 4− (4− k) 19. lim ⋅ = lim x→ 0 k 2+ 4− k x→9 k(2 4− k) + k = lim + 4− k) x→ 0 k(2 1 = lim x→ 0 2+ 4− k 1 1 1 = = = 2 + 4 − 0 2+ 2 4
  • 13. เรื่องแคลคูลัสเบื้องต้น 13 โดยครูปอปลา คนส้วยสวย x+ 5− 5 x+ 5+ 5 (x+ 5)− 5 20 lim ⋅ = lim x→ 0 x x + 5 + 5 x→ 0 x( x + 5 + 5) x = lim x→ 0 x( x + 5 + 5) 1 = lim x→ 0 x + 5 + 5 1 1 = = 0+ 5 + 5 2 5