SlideShare a Scribd company logo
1 of 53
Download to read offline
เนื้อหา
5.1 การศึกษาพันธุกรรมของเมนเดล
5.2 ลักษณะทางพันธุกรรมที่เป็นส่วนขยายของพันธุศาสตร์เมนเดล
5.3 ยีนบนโครโมโซมเดียวกัน
> ได้รับการยกย่องเป็นบิดาแห่งพันธุศาสตร์
> ผู้ค้นพบ “ลักษณะที่ปรากฏในลูก เป็นผลมาจากการ
ถ่ายทอดหน่วยควบคุมลักษณะต่างๆ ที่ได้จากพ่อแม่ ผ่าน
ทางเซลล์สืบพันธุ์”
> จากการทดลองผสมพันธุ์และศึกษาข้อมูลต้นถั่วลันเตา
(Pisum sativum)
: เป็นชาวออสเตรีย ศึกษาและบวชที่โบสถ์แห่ง
หนึ่งในกรุงบรึนน์ ปัจจุบันคือ เมืองเบรอน (Brno) ใน
สาธารณรัฐเช็ก ต่อมาศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยเวียนนาซึ่งได้
เรียนรู้ทั้งทางด้านพฤกษศาสตร์ คณิตศาสตร์ เคมี และฟิสิกส์
ภายหลังเมนเดลกลับมาเป็นครูได้ดัดแปลงที่ดินในโบสถ์ให้
เป็นแปลงเพื่อทดลองด้านพฤกษศาสตร์ควบคู่ไปด้วย ในปี
พ.ศ. 2408 เมนเดลได้เสนองานวิจัย และตีพิมพ์ในปีถัดมา
แต่ผลงานของเขาเริ่มได้รับการยอมรับในกลุ่มวิทยาศาสตร์
ในช่วงปี พ.ศ. 2443 หลังจากที่เมนเดลเสียชีวิตแล้ว
▪ วัฏจักรชีวิตสั้น ปลูกง่าย ให้ลูกหลานจานวนมาก
▪ เติบโตเร็ว มีหลายพันธุ์ มีลักษณะที่แตกต่างกันอย่างชัดเจน
▪ เป็นดอกสมบูรณ์เพศมีกลีบดอกที่ปกปิดมิดชิดไม่ให้ละอองเรณู
จากดอกอื่นมาผสมกับเซลล์ไข่ ดังนั้นในธรรมชาติจึงมีการผสมในดอก
เดียวกัน (self-fertillzation) ได้ลูกที่เป็นพันธุ์แท้
เมนเดลคัดเลือกลักษณะของถั่วลันเตา 7 ลักษณะที่แตกต่างกันอย่าง
ชัดเจน คือ สีของดอก ตาแหน่งของดอก สีของเมล็ด รูปร่างของเมล็ด
รูปร่างของฝัก สีของฝัก และความสูงของลาต้น
พ่อ แม่
P
F1
X
X
F2
เขียว
เหลือง
> เมนเดลได้สรุปว่าลักษณะต่างๆ ของถั่วลันเตาจะต้องมีหน่วยควบคุม เรียกว่า
แฟกเตอร์ (factor) ซึ่งอยู่เป็นคู่และจะถ่ายทอดจากพ่อแม่ไปสู่ลูก
> ต่อภายหลังเรียก แฟกเตอร์ ว่า ยีน (gene) โดยยีนที่ควบคุมลักษณะหนึ่งมี
รูปแบบที่แตกต่างกันได้หลายรูปแบบ เรียกรูปแบบที่แตกต่างกันว่า แอลลีล (allele)
> เช่น ยีนควบคุมสีดอก มีแอลลีลควบคุมลักษณะกลีบสีม่วง และ แอลลีลควบคุม
ลักษณะกลีบสีขาว
▪ ลักษณะที่แสดงออกในรุ่น F1 จะเป็นลักษณะเด่น (dominant trait)
เช่น ลักษณะกลีบสีม่วง
▪ และลักษณะที่ไม่แสดงออกในรุ่น F1 แต่แสดงออกในรุ่น F2 เป็น
ลักษณะด้อย (recessive trait) เช่น ลักษณะกลีบสีขาว
> ลักษณะที่ปรากฏของสิ่งมีชีวิต เช่น ความสูงของต้นถั่ว สีตา หมู่เลือด เรียกว่า
ฟีโนไทป์ (phenotype) ซึ่งถูกกาหนดโดยองค์ประกอบทางพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม
> รูปแบบต่างๆ ของคู่ของแอลลีล เรียกว่า จีโนไทป์ (genotype) เช่น AA Aa aa
> ในสิ่งมีชีวิตที่เป็น diploid หรือมีโครโมโซม 2 ชุด โครโมโซมแต่ละแท่งจะมีคู่ของ
ตัวเอง โครโมโซมที่เป็นคู่กันจะมีลักษณะเหมือนกัน เรียก โครโมโซมนี้ว่า ฮอโมโลกัส
โครโมโซม (homologous chromosome)
> ในสิ่งมีชีวิตที่เป็น diploid หรือมีโครโมโซม 2 ชุด โครโมโซมแต่ละแท่งจะมีคู่ของ
ตัวเอง โครโมโซมที่เป็นคู่กันจะมีลักษณะเหมือนกัน เรียก โครโมโซมนี้ว่า ฮอโมโลกัส
โครโมโซม (homologous chromosome)
> ยีนที่ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมแต่ละลักษณะจะมีคู่ของแอลลีลที่ตาแหน่งหรือ
โลคัส (locus) เดียวกันบนฮอโมโลกัสโครโมโซม แต่ละแอลลีลของยีนบนโลคัสเดียวกัน
บนฮอโมโลกัสโครโมโซม จะมีรูปแบบเหมือนหรือแตกต่างกันก็ได้
ยีนควบคุมสีกลีบดอกถั่วลันเตา
> แอลลีลเด่น (dominant allele)
ควบคุมกลีบสีม่วง
> แอลลีลด้อย (recessive allele)
ควบคุมกลีบสีขาว
> แอลลีลเด่น (dominant allele) นิยมแทนด้วยภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่
เช่น A B C D
> แอลลีลด้อย (recessive allele) นิยมแทนด้วยภาษาอังกฤษตัวพิมพ์เล็ก
เช่น a b c d
ยีนควบคุมสีกลีบดอกถั่ว
ลันเตา
> B แทนแอลลีลเด่นควบคุม
กลีบสีม่วง
> b แทนแอลลีลด้อยควบคุม
กลีบสีขาว
> จีโนไทป์ที่มีแอลลีลรูปแบบเดียวกัน เรียกว่า ฮอมอไซกัส (homozygous)
- แอลลีลเด่นทั้งหมด (AA) เรียกว่า ฮอโมไซกัสโดมิเนนท์ (homozygous dominant)
- แอลลีลด้อยทั้งหมด (aa) เรียกว่า ฮอมอไซกัสรีเซสสีพ (homozygous recessive)
> จีโนไทป์ที่มีแอลลีลรูปแบบแตกต่างกัน (Aa) เรียกว่า เฮเทอโรไซกัส (heterozygous)
 จีโนไทป์ (genotype)
 ฟีโนไทป์ (phenotype)
 ฮอมอไซกัสจีโนไทป์ (homozygous genotype)
 ฮอโมไซกัสโดมิเนนท์ (homozygous dominant)
 ฮอมอไซกัสรีเซสสีพ (homozygous recessive)
 เฮเทอโรไซกัสจีโนไทป์ (heterozygous genotype)
 ฮอโมโลกัสโครโมโซม (homologous chromosome)
 โลคัส (locus)
 แอลลีล (allele)
 ยีน (gene)
 ลักษณะเด่น (dominant)
 ลักษณะด้อย (recessive)
ในการทดลองของเมลเดลศึกษาลักษณะต่างๆ ของถั่วลันเตา โดยการผสม
ลักษณะเดียว (monohybrid cross) ทีละลักษณะจนครบทั้ง 7 ลักษณะ แล้วจึงค่อย
ศึกษา 2 ลักษณะ (ผสม 2 ลักษณะพร้อมกัน) จนค้นพบกฎการถ่ายทอดลักษณะทาง
พันธุกรรมขึ้น 2 กฎ คือ
1. กฎการแยก (Law of segregation)
2. กฎแห่งการรวมกลุ่มอย่างอิสระ (Law of independent assortment)
1. กฎการแยก (Law of segregation)
มีใจความสาคัญว่า
“ลักษณะของสิ่งมีชีวิตถูกควบคุมโดยยีน และยีนจะปรากฏเป็นคู่ ๆ เสมอ ซึ่งยีนจะแยก
จากกันเมื่อมีการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ โดยเซลล์สืบพันธุ์แต่ละเซลล์จะได้รับเพียงแอลลีล
ใดแอลลีลหนึ่ง”
การผสมพันธุ์ถั่วลันเตาดอกสีม่วงกับดอกสีขาว
ตามกฎการแยกของเมนเดล
การผสมพิจารณาเพียง
ลักษณะเดียว
(Monohybrid cross)
โจทย์
ผสมถั่วลันเตาพันธุ์แท้ต้นสูง (เด่น) กับต้นเตี้ย (ด้อย) ผลที่เกิด
ในรุ่น F1 และ F2 จะเป็นอย่างไร มีอัตราส่วนเท่าไร
กาหนดให้ T คือ ลักษณะเด่น (สูง) และ t คือ ลักษณะด้อย(เตี้ย)
P พ่อ สูง x แม่ เตี้ย
TT tt
เซลล์สืบพันธุ์ T t
Tt
F1
ลักษณะที่ปรากฏในรุ่นลูก เป็นลักษณะเด่นทั้งหมด
Tt
สูง
F1 Tt
สูง
x
เซลล์สืบพันธุ์ T t T t
F2 TT Tt Tt tt
ต้นสูง ต้นสูง ต้นสูง ต้นเตี้ย
สัดส่วน genotype 1:2:1 = TT : Tt : tt
phenotype 3:1 = สูง : เตี้ย
สาหรับจีโนไทป์ heterozygous
เมื่อผสมกันตามแบบเมนเดล
1 ยีน (Tt x Tt)
รุ่นลูกจะได้อัตราส่วนจีโนไทป์
TT : Tt : tt = 1:2:1
และอัตราส่วนฟีโนไทป์
เด่น:ด้อย = 3:1
สาหรับจีโนไทป์ heterozygous
เมื่อผสมกันตามแบบเมนเดล
1 ยีน (Tt x Tt)
รุ่นลูกจะได้อัตราส่วนจีโนไทป์
TT : Tt : tt = 1:2:1
และอัตราส่วนฟีโนไทป์
เด่น:ด้อย = 3:1
สาหรับจีโนไทป์ heterozygous
เมื่อผสมกันตามแบบเมนเดล
1 ยีน (Tt x Tt)
รุ่นลูกจะได้อัตราส่วนจีโนไทป์
TT : Tt : tt = 1:2:1
และอัตราส่วนฟีโนไทป์
เด่น:ด้อย = 3:1
Genotype
phenotype
GG : Gg : gg
1 : 2 : 1
ฝักสีเขียว : ฝักสีเหลือง
3 : 1
Ex.
ฝักสีเขียว ฝักสีเขียว
2. กฎแห่งการรวมกลุ่มอย่างอิสระ (Law of independent assortment)
มีใจความสาคัญว่า
“แอลลีลของยีนที่เป็นคู่กัน เมื่อแยกออกจากกันจะจัดกลุ่มกันอย่างอิสระกับแอลลีลของ
ยีนอื่นๆ ซึ่งแยกออกจากคู่เช่นกัน เพื่อเข้าไปยังเซลล์สืบพันธุ์”
การผสมพิจารณาเพียงสองลักษณะ
(Dihybrid cross)
การผสมพิจารณาเพียงสองลักษณะ
(Dihybrid cross)
กาหนดให้ R แทนแอลลีลควบคุมเมล็ดกลม
r แทนแอลลีลควบคุมเมล็ดขรุขระ
Y แทนแอลลีลควบคุมเมล็ดสีเหลือง
y แทนแอลลีลควบคุมเมล็ดสีเขียว
กาหนดให้ R แทนแอลลีลควบคุมเมล็ดกลม
r แทนแอลลีลควบคุมเมล็ดขรุขระ
Y แทนแอลลีลควบคุมเมล็ดสีเหลือง
y แทนแอลลีลควบคุมเมล็ดสีเขียว
สาหรับจีโนไทป์ heterozygous
เมื่อผสมกันตามแบบเมนเดล 2 ยีน
(RrYy x RrYy) รุ่นลูกจะได้อัตราส่วนฟีโนไทป์
เป็นเด่นเด่น:เด่นด้อย:ด้อยเด่น:ด้อยด้อย
= 9:3:3:1
สาหรับจีโนไทป์ heterozygous
เมื่อผสมกันตามแบบเมนเดล 2 ยีน
(RrYy x RrYy) รุ่นลูกจะได้อัตราส่วนฟีโนไทป์
เป็นเด่นเด่น:เด่นด้อย:ด้อยเด่น:ด้อยด้อย
= 9:3:3:1
สาหรับจีโนไทป์ heterozygous
เมื่อผสมกันตามแบบเมนเดล 2 ยีน
(RrYy x RrYy) รุ่นลูกจะได้อัตราส่วนฟีโนไทป์
เป็นเด่นเด่น:เด่นด้อย:ด้อยเด่น:ด้อยด้อย
= 9:3:3:1
วิธีการหาสัดส่วน Phenotype และ Genetype
1. วิธีเขียนแผนภาพ (Diagram)
2. วิธีใช้ตารางพันเนตต์ (Punnett-square)
คิดค้นโดย เรจินัลด์ พันเนตต์ (Reginald Punnett) สามารถใช้ตารางพันเนตต์หา
ผลลัพธ์ของโอกาสการเข้าคู่กันของแอลลีลในขณะเกิดการปฏิสนธิ
3. วิธีการแตกกิ่ง (Branching หรือ Forked-line method)
ลองทาดู!! ผสม Aa x Aa
Monohybrid cross – สนใจยีนยีนเดียว
Ex. Aa × Aa
แต่ละตัวสร้างเซลล์สืบพันธุ์ได้ 2 แบบ คือ A, a
โอกาสสร้าง A = 1/2 และโอกาสสร้าง a = 1/2
อัตราส่วนจีโนไทป์ AA : Aa : aa = 1 : 2 : 1
อัตราส่วนฟีโนไทป์ เด่น : ด้อย = 3 : 1
Ex. Aa × aa
Aa สร้างเซลล์สืบพันธุ์ได้สองแบบ คือ A, a
aa สร้างเซลล์สืบพันธุ์ได้แบบเดียว คือ a
อัตราส่วนจีโนไทป์ Aa : aa = 1:1
อัตราส่วนฟีโนไทป์ เด่น : ด้อย = 1:1
ตัวอย่าง พิจารณาสิ่งมีชีวิตที่มีจีโนไทป์ AaBb
กฎแห่งการแยก จะแยก Aa เป็น A, a และแยก Bb เป็น B, b
กฎแห่งการรวมกลุ่มกันอย่างอิสระ จะได้เซลล์สืบพันธุ์ 4 แบบ
Dihybrid cross – สนใจยีน 2 ยีนพร้อมๆ กัน
Ex. AaBb × AaBb
ลองทาดู!! ผสม AaBb x AaBb
Dihybrid cross – สนใจยีน 2 ยีนพร้อมๆ กัน
Ex. AaBb × AaBb
อัตราส่วนฟีโนไทป์ (AB) : (Ab) : (aB) : (ab) = 9 : 3 : 3 : 1
Ex. จงหาโอกาสในการเกิดลูกจีโนไทป์ AABb จาก AaBb × AaBB
ขั้นที่ 1 พิจารณาเฉพาะยีน A
ขั้นที่ 2 พิจารณาเฉพาะยีน B
ขั้นที่ 3 ใช้กฎการคูณ
Quiz
1.พืชที่มีจีโนไทป์ AaBBCc สร้างเซลล์สืบพันธุ์ได้กี่แบบ อะไรบ้าง
2.สิ่งมีชีวิต มีจีโนไทป์ YySs x YYSS
จงหาอัตราส่วนของจีโนไทป์และฟีโนไทป์
ความน่าจะเป็นกับหลักพันธุศาสตร์
1. กฎการคูณ
> ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นตั้งแต่ 2 เหตุการณ์ขึ้นไปที่มีความอิสระต่อกัน
Ex. ความน่าจะเป็นในการทอยลูกเต่า 2 ครั้งให้หงายหน้าเป็นหมายเลข 4 ทั้งสองครั้ง
คิดได้จาก ในการทอยลูกเต่าแต่ละครั้งจะมีความน่าจะเป็นในการหงายหน้าเป็น
หมายเลข 4 เท่ากับ 1/6 ทั้งสองครั้ง
ดังนั้น ความน่าจะเป็นรวมทั้งหมด 1/6x1/6 = 1/36
2. กฎการบวก
> ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่ไม่สามารถเกิดขึ้นพร้อมกันได้ในเวลาเดียวกัน
Ex. ในการทอยลูกเต่า 1 ครั้ง จงหาความน่าจะเป็นที่หงายหน้าเป็นหมายเลข 4 หรือ
หมายเลข 5 คิดได้จาก ในการทอยลูกเต่าหนึ่งครั้งจะมีความน่าจะเป็นในการหงายหน้า
เป็นหมายเลข 4 เท่ากับ 1/6 และความน่าจะเป็นที่จะหงายหน้าหมายเลข 5 เท่ากับ 1/6
ดังนั้น ความน่าจะเป็นรวมทั้งหมด 1/6+1/6 = 2/6 =1/3
Tt
สูง
P Tt
สูง
x
เซลล์สืบพันธุ์ T t T t
F1 TT Tt Tt tt
ต้นสูง ต้นสูง ต้นสูง ต้นเตี้ย
ความน่าจะเป็น genotype TT : Tt : tt
phenotype สูง : เตี้ย
จงหาโอกาสที่รุ่น F1 จะมีจีโนไทป์ Tt
จงหาโอกาสที่รุ่น F2 มีจีโนไทป์เป็น homozygous
Ex. ถ้ารุ่นพ่อแม่ AABbccDdEeff มาผสมกัน
n = 3 เพราะมียีน heterozygous 3 คู่ คือ Bb Dd Ee
แต่ละตัวจะสร้างเซลล์สืบพันธุ์ได้ 23 = 8 แบบ
ให้ลูกที่มีจีโนไทป์ต่างกัน 33 = 27 แบบ
และลูกมีฟีโนไทป์ต่างกัน 23 = 8 แบบ
ถ้ารุ่นพ่อแม่มีจีโนไทป์เหมือนกัน โดยเป็นยีน heterozygous n คู่ และมีการ
ถ่ายทอดลักษณะตามแบบเมนเดลแล้ว
พ่อแม่แต่ละตัวจะสร้างเซลล์สืบพันธุ์ได้ 2n แบบ
ให้ลูกที่มีจีโนไทป์ต่างกัน 3n แบบ
และลูกมีฟีโนไทป์ต่างกัน 2n แบบ
คือ การผสมพันธุ์โดยนาลูกผสม
ย้อนไปผสมกับพ่อหรือแม่พันธุ์
เพื่อปรับปรุงพันธุ์ให้ดีตามพ่อแม่มากขึ้นเรื่อยๆ
เพื่อปรับปรุงพันธุ์ให้ดีตามพ่อแม่มากขึ้นเรื่อยๆ
x
พ่อ (สูง) แม่ (เตี้ย)
P
F1
ถ้าเป็น Aa ผสมตัวเอง ลูกที่ได้จะ
เป็นอัตราส่วนลักษณะเด่น : ด้อย = 3 : 1 แต่ถ้าเป็น AA เมื่อ
ผสมตัวเองจะได้ลักษณะเด่นล้วน
2. ถ้าเรามีฟีโนไทป์เด่น (A_) แล้วอยากรู้ว่ามีจีโนไทป์เป็นแบบ AA
หรือ Aa สามารถทาได้ 2 วิธี คือ……
A_
?
A
a
x
ลักษณะเด่น : ด้อย
= 3 : 1
AA Aa Aa aa
Aa
Aa x AA
AA
ลักษณะเด่น
AA
คือ การผสมกับ homozygous
recessive (aa) เรียกว่า ตัวทดสอบ
ถ้าเกิดเป็น Aa ผสมกับ aa จะได้เด่น : ด้อย = 1 : 1
แต่ถ้าเป็น AA ผสมกับ aa จะได้เด่นล้วน และ backcross อาจเป็น
test cross อย่างหนึ่งด้วย ถ้าเกิดพ่อพันธุ์แม่พันธุ์ที่เอาไปผสม มีจีโนไทป์
aa
AA
Aa
?
A_ A
a
เมล็ดสีเหลือง
aa
เมล็ดสีเขียว
x
Aa
aa
Aa
aa
aa
เมล็ดสีเหลือง
เมล็ดสีเขียว
x
Aa
Aa
Aa
Aa
A_ A_

More Related Content

What's hot

เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)Wan Ngamwongwan
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)สำเร็จ นางสีคุณ
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)พัน พัน
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดPinutchaya Nakchumroon
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพyangclang22
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซมPinutchaya Nakchumroon
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดWan Ngamwongwan
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaWan Ngamwongwan
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59Wan Ngamwongwan
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2Wichai Likitponrak
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011Namthip Theangtrong
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตPopeye Kotchakorn
 

What's hot (20)

เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 

Similar to บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1

พันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มพันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มWichai Likitponrak
 
Biology bio15
 Biology bio15 Biology bio15
Biology bio15Bios Logos
 
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1kasidid20309
 
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่มบท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่มWichai Likitponrak
 
พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2wijitcom
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรมsupreechafkk
 
การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดทางพันธุกรรมการถ่ายทอดทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดทางพันธุกรรมBiobiome
 
พันธุศาสตร์
พันธุศาสตร์พันธุศาสตร์
พันธุศาสตร์zidane36
 
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมฟลุ๊ค ลำพูน
 
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมฟลุ๊ค ลำพูน
 
ระบบสืบพันธุ์ สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอนระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์ สอนnokbiology
 
ยีนและโครโมโซม.pptx
ยีนและโครโมโซม.pptxยีนและโครโมโซม.pptx
ยีนและโครโมโซม.pptxKru Bio Hazad
 
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6Nattapong Boonpong
 

Similar to บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1 (20)

พันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มพันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่ม
 
พันธูกรรม1
พันธูกรรม1พันธูกรรม1
พันธูกรรม1
 
Genetics
GeneticsGenetics
Genetics
 
Biology bio15
 Biology bio15 Biology bio15
Biology bio15
 
Genetics posn
Genetics posnGenetics posn
Genetics posn
 
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1
 
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่มบท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
 
พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรม
 
การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดทางพันธุกรรมการถ่ายทอดทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
Tutur(biology)0 net 3
Tutur(biology)0 net 3Tutur(biology)0 net 3
Tutur(biology)0 net 3
 
พันธุศาสตร์
พันธุศาสตร์พันธุศาสตร์
พันธุศาสตร์
 
Aaa
AaaAaa
Aaa
 
Genetics
GeneticsGenetics
Genetics
 
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
ระบบสืบพันธุ์ สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอนระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์ สอน
 
pantugam
pantugampantugam
pantugam
 
ยีนและโครโมโซม.pptx
ยีนและโครโมโซม.pptxยีนและโครโมโซม.pptx
ยีนและโครโมโซม.pptx
 
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
 

บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1

  • 1.
  • 3.
  • 4. > ได้รับการยกย่องเป็นบิดาแห่งพันธุศาสตร์ > ผู้ค้นพบ “ลักษณะที่ปรากฏในลูก เป็นผลมาจากการ ถ่ายทอดหน่วยควบคุมลักษณะต่างๆ ที่ได้จากพ่อแม่ ผ่าน ทางเซลล์สืบพันธุ์” > จากการทดลองผสมพันธุ์และศึกษาข้อมูลต้นถั่วลันเตา (Pisum sativum)
  • 5. : เป็นชาวออสเตรีย ศึกษาและบวชที่โบสถ์แห่ง หนึ่งในกรุงบรึนน์ ปัจจุบันคือ เมืองเบรอน (Brno) ใน สาธารณรัฐเช็ก ต่อมาศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยเวียนนาซึ่งได้ เรียนรู้ทั้งทางด้านพฤกษศาสตร์ คณิตศาสตร์ เคมี และฟิสิกส์ ภายหลังเมนเดลกลับมาเป็นครูได้ดัดแปลงที่ดินในโบสถ์ให้ เป็นแปลงเพื่อทดลองด้านพฤกษศาสตร์ควบคู่ไปด้วย ในปี พ.ศ. 2408 เมนเดลได้เสนองานวิจัย และตีพิมพ์ในปีถัดมา แต่ผลงานของเขาเริ่มได้รับการยอมรับในกลุ่มวิทยาศาสตร์ ในช่วงปี พ.ศ. 2443 หลังจากที่เมนเดลเสียชีวิตแล้ว
  • 6. ▪ วัฏจักรชีวิตสั้น ปลูกง่าย ให้ลูกหลานจานวนมาก ▪ เติบโตเร็ว มีหลายพันธุ์ มีลักษณะที่แตกต่างกันอย่างชัดเจน ▪ เป็นดอกสมบูรณ์เพศมีกลีบดอกที่ปกปิดมิดชิดไม่ให้ละอองเรณู จากดอกอื่นมาผสมกับเซลล์ไข่ ดังนั้นในธรรมชาติจึงมีการผสมในดอก เดียวกัน (self-fertillzation) ได้ลูกที่เป็นพันธุ์แท้
  • 7. เมนเดลคัดเลือกลักษณะของถั่วลันเตา 7 ลักษณะที่แตกต่างกันอย่าง ชัดเจน คือ สีของดอก ตาแหน่งของดอก สีของเมล็ด รูปร่างของเมล็ด รูปร่างของฝัก สีของฝัก และความสูงของลาต้น
  • 8.
  • 9.
  • 10.
  • 12. > เมนเดลได้สรุปว่าลักษณะต่างๆ ของถั่วลันเตาจะต้องมีหน่วยควบคุม เรียกว่า แฟกเตอร์ (factor) ซึ่งอยู่เป็นคู่และจะถ่ายทอดจากพ่อแม่ไปสู่ลูก > ต่อภายหลังเรียก แฟกเตอร์ ว่า ยีน (gene) โดยยีนที่ควบคุมลักษณะหนึ่งมี รูปแบบที่แตกต่างกันได้หลายรูปแบบ เรียกรูปแบบที่แตกต่างกันว่า แอลลีล (allele) > เช่น ยีนควบคุมสีดอก มีแอลลีลควบคุมลักษณะกลีบสีม่วง และ แอลลีลควบคุม ลักษณะกลีบสีขาว ▪ ลักษณะที่แสดงออกในรุ่น F1 จะเป็นลักษณะเด่น (dominant trait) เช่น ลักษณะกลีบสีม่วง ▪ และลักษณะที่ไม่แสดงออกในรุ่น F1 แต่แสดงออกในรุ่น F2 เป็น ลักษณะด้อย (recessive trait) เช่น ลักษณะกลีบสีขาว
  • 13. > ลักษณะที่ปรากฏของสิ่งมีชีวิต เช่น ความสูงของต้นถั่ว สีตา หมู่เลือด เรียกว่า ฟีโนไทป์ (phenotype) ซึ่งถูกกาหนดโดยองค์ประกอบทางพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม > รูปแบบต่างๆ ของคู่ของแอลลีล เรียกว่า จีโนไทป์ (genotype) เช่น AA Aa aa > ในสิ่งมีชีวิตที่เป็น diploid หรือมีโครโมโซม 2 ชุด โครโมโซมแต่ละแท่งจะมีคู่ของ ตัวเอง โครโมโซมที่เป็นคู่กันจะมีลักษณะเหมือนกัน เรียก โครโมโซมนี้ว่า ฮอโมโลกัส โครโมโซม (homologous chromosome)
  • 14. > ในสิ่งมีชีวิตที่เป็น diploid หรือมีโครโมโซม 2 ชุด โครโมโซมแต่ละแท่งจะมีคู่ของ ตัวเอง โครโมโซมที่เป็นคู่กันจะมีลักษณะเหมือนกัน เรียก โครโมโซมนี้ว่า ฮอโมโลกัส โครโมโซม (homologous chromosome) > ยีนที่ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมแต่ละลักษณะจะมีคู่ของแอลลีลที่ตาแหน่งหรือ โลคัส (locus) เดียวกันบนฮอโมโลกัสโครโมโซม แต่ละแอลลีลของยีนบนโลคัสเดียวกัน บนฮอโมโลกัสโครโมโซม จะมีรูปแบบเหมือนหรือแตกต่างกันก็ได้ ยีนควบคุมสีกลีบดอกถั่วลันเตา > แอลลีลเด่น (dominant allele) ควบคุมกลีบสีม่วง > แอลลีลด้อย (recessive allele) ควบคุมกลีบสีขาว
  • 15. > แอลลีลเด่น (dominant allele) นิยมแทนด้วยภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่ เช่น A B C D > แอลลีลด้อย (recessive allele) นิยมแทนด้วยภาษาอังกฤษตัวพิมพ์เล็ก เช่น a b c d ยีนควบคุมสีกลีบดอกถั่ว ลันเตา > B แทนแอลลีลเด่นควบคุม กลีบสีม่วง > b แทนแอลลีลด้อยควบคุม กลีบสีขาว
  • 16. > จีโนไทป์ที่มีแอลลีลรูปแบบเดียวกัน เรียกว่า ฮอมอไซกัส (homozygous) - แอลลีลเด่นทั้งหมด (AA) เรียกว่า ฮอโมไซกัสโดมิเนนท์ (homozygous dominant) - แอลลีลด้อยทั้งหมด (aa) เรียกว่า ฮอมอไซกัสรีเซสสีพ (homozygous recessive) > จีโนไทป์ที่มีแอลลีลรูปแบบแตกต่างกัน (Aa) เรียกว่า เฮเทอโรไซกัส (heterozygous)
  • 17.
  • 18.  จีโนไทป์ (genotype)  ฟีโนไทป์ (phenotype)  ฮอมอไซกัสจีโนไทป์ (homozygous genotype)  ฮอโมไซกัสโดมิเนนท์ (homozygous dominant)  ฮอมอไซกัสรีเซสสีพ (homozygous recessive)  เฮเทอโรไซกัสจีโนไทป์ (heterozygous genotype)  ฮอโมโลกัสโครโมโซม (homologous chromosome)  โลคัส (locus)  แอลลีล (allele)  ยีน (gene)  ลักษณะเด่น (dominant)  ลักษณะด้อย (recessive)
  • 19. ในการทดลองของเมลเดลศึกษาลักษณะต่างๆ ของถั่วลันเตา โดยการผสม ลักษณะเดียว (monohybrid cross) ทีละลักษณะจนครบทั้ง 7 ลักษณะ แล้วจึงค่อย ศึกษา 2 ลักษณะ (ผสม 2 ลักษณะพร้อมกัน) จนค้นพบกฎการถ่ายทอดลักษณะทาง พันธุกรรมขึ้น 2 กฎ คือ 1. กฎการแยก (Law of segregation) 2. กฎแห่งการรวมกลุ่มอย่างอิสระ (Law of independent assortment)
  • 20. 1. กฎการแยก (Law of segregation) มีใจความสาคัญว่า “ลักษณะของสิ่งมีชีวิตถูกควบคุมโดยยีน และยีนจะปรากฏเป็นคู่ ๆ เสมอ ซึ่งยีนจะแยก จากกันเมื่อมีการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ โดยเซลล์สืบพันธุ์แต่ละเซลล์จะได้รับเพียงแอลลีล ใดแอลลีลหนึ่ง”
  • 21.
  • 23. โจทย์ ผสมถั่วลันเตาพันธุ์แท้ต้นสูง (เด่น) กับต้นเตี้ย (ด้อย) ผลที่เกิด ในรุ่น F1 และ F2 จะเป็นอย่างไร มีอัตราส่วนเท่าไร กาหนดให้ T คือ ลักษณะเด่น (สูง) และ t คือ ลักษณะด้อย(เตี้ย) P พ่อ สูง x แม่ เตี้ย TT tt เซลล์สืบพันธุ์ T t Tt F1 ลักษณะที่ปรากฏในรุ่นลูก เป็นลักษณะเด่นทั้งหมด
  • 24. Tt สูง F1 Tt สูง x เซลล์สืบพันธุ์ T t T t F2 TT Tt Tt tt ต้นสูง ต้นสูง ต้นสูง ต้นเตี้ย สัดส่วน genotype 1:2:1 = TT : Tt : tt phenotype 3:1 = สูง : เตี้ย สาหรับจีโนไทป์ heterozygous เมื่อผสมกันตามแบบเมนเดล 1 ยีน (Tt x Tt) รุ่นลูกจะได้อัตราส่วนจีโนไทป์ TT : Tt : tt = 1:2:1 และอัตราส่วนฟีโนไทป์ เด่น:ด้อย = 3:1 สาหรับจีโนไทป์ heterozygous เมื่อผสมกันตามแบบเมนเดล 1 ยีน (Tt x Tt) รุ่นลูกจะได้อัตราส่วนจีโนไทป์ TT : Tt : tt = 1:2:1 และอัตราส่วนฟีโนไทป์ เด่น:ด้อย = 3:1 สาหรับจีโนไทป์ heterozygous เมื่อผสมกันตามแบบเมนเดล 1 ยีน (Tt x Tt) รุ่นลูกจะได้อัตราส่วนจีโนไทป์ TT : Tt : tt = 1:2:1 และอัตราส่วนฟีโนไทป์ เด่น:ด้อย = 3:1
  • 25. Genotype phenotype GG : Gg : gg 1 : 2 : 1 ฝักสีเขียว : ฝักสีเหลือง 3 : 1 Ex. ฝักสีเขียว ฝักสีเขียว
  • 26.
  • 27. 2. กฎแห่งการรวมกลุ่มอย่างอิสระ (Law of independent assortment) มีใจความสาคัญว่า “แอลลีลของยีนที่เป็นคู่กัน เมื่อแยกออกจากกันจะจัดกลุ่มกันอย่างอิสระกับแอลลีลของ ยีนอื่นๆ ซึ่งแยกออกจากคู่เช่นกัน เพื่อเข้าไปยังเซลล์สืบพันธุ์”
  • 28.
  • 29. การผสมพิจารณาเพียงสองลักษณะ (Dihybrid cross) การผสมพิจารณาเพียงสองลักษณะ (Dihybrid cross) กาหนดให้ R แทนแอลลีลควบคุมเมล็ดกลม r แทนแอลลีลควบคุมเมล็ดขรุขระ Y แทนแอลลีลควบคุมเมล็ดสีเหลือง y แทนแอลลีลควบคุมเมล็ดสีเขียว
  • 30. กาหนดให้ R แทนแอลลีลควบคุมเมล็ดกลม r แทนแอลลีลควบคุมเมล็ดขรุขระ Y แทนแอลลีลควบคุมเมล็ดสีเหลือง y แทนแอลลีลควบคุมเมล็ดสีเขียว สาหรับจีโนไทป์ heterozygous เมื่อผสมกันตามแบบเมนเดล 2 ยีน (RrYy x RrYy) รุ่นลูกจะได้อัตราส่วนฟีโนไทป์ เป็นเด่นเด่น:เด่นด้อย:ด้อยเด่น:ด้อยด้อย = 9:3:3:1 สาหรับจีโนไทป์ heterozygous เมื่อผสมกันตามแบบเมนเดล 2 ยีน (RrYy x RrYy) รุ่นลูกจะได้อัตราส่วนฟีโนไทป์ เป็นเด่นเด่น:เด่นด้อย:ด้อยเด่น:ด้อยด้อย = 9:3:3:1 สาหรับจีโนไทป์ heterozygous เมื่อผสมกันตามแบบเมนเดล 2 ยีน (RrYy x RrYy) รุ่นลูกจะได้อัตราส่วนฟีโนไทป์ เป็นเด่นเด่น:เด่นด้อย:ด้อยเด่น:ด้อยด้อย = 9:3:3:1
  • 31. วิธีการหาสัดส่วน Phenotype และ Genetype 1. วิธีเขียนแผนภาพ (Diagram)
  • 32. 2. วิธีใช้ตารางพันเนตต์ (Punnett-square) คิดค้นโดย เรจินัลด์ พันเนตต์ (Reginald Punnett) สามารถใช้ตารางพันเนตต์หา ผลลัพธ์ของโอกาสการเข้าคู่กันของแอลลีลในขณะเกิดการปฏิสนธิ
  • 33.
  • 34.
  • 35.
  • 38. Monohybrid cross – สนใจยีนยีนเดียว Ex. Aa × Aa แต่ละตัวสร้างเซลล์สืบพันธุ์ได้ 2 แบบ คือ A, a โอกาสสร้าง A = 1/2 และโอกาสสร้าง a = 1/2 อัตราส่วนจีโนไทป์ AA : Aa : aa = 1 : 2 : 1 อัตราส่วนฟีโนไทป์ เด่น : ด้อย = 3 : 1
  • 39. Ex. Aa × aa Aa สร้างเซลล์สืบพันธุ์ได้สองแบบ คือ A, a aa สร้างเซลล์สืบพันธุ์ได้แบบเดียว คือ a อัตราส่วนจีโนไทป์ Aa : aa = 1:1 อัตราส่วนฟีโนไทป์ เด่น : ด้อย = 1:1
  • 40. ตัวอย่าง พิจารณาสิ่งมีชีวิตที่มีจีโนไทป์ AaBb กฎแห่งการแยก จะแยก Aa เป็น A, a และแยก Bb เป็น B, b กฎแห่งการรวมกลุ่มกันอย่างอิสระ จะได้เซลล์สืบพันธุ์ 4 แบบ
  • 41. Dihybrid cross – สนใจยีน 2 ยีนพร้อมๆ กัน Ex. AaBb × AaBb
  • 43. Dihybrid cross – สนใจยีน 2 ยีนพร้อมๆ กัน Ex. AaBb × AaBb อัตราส่วนฟีโนไทป์ (AB) : (Ab) : (aB) : (ab) = 9 : 3 : 3 : 1
  • 44. Ex. จงหาโอกาสในการเกิดลูกจีโนไทป์ AABb จาก AaBb × AaBB ขั้นที่ 1 พิจารณาเฉพาะยีน A ขั้นที่ 2 พิจารณาเฉพาะยีน B ขั้นที่ 3 ใช้กฎการคูณ
  • 46. 2.สิ่งมีชีวิต มีจีโนไทป์ YySs x YYSS จงหาอัตราส่วนของจีโนไทป์และฟีโนไทป์
  • 47. ความน่าจะเป็นกับหลักพันธุศาสตร์ 1. กฎการคูณ > ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นตั้งแต่ 2 เหตุการณ์ขึ้นไปที่มีความอิสระต่อกัน Ex. ความน่าจะเป็นในการทอยลูกเต่า 2 ครั้งให้หงายหน้าเป็นหมายเลข 4 ทั้งสองครั้ง คิดได้จาก ในการทอยลูกเต่าแต่ละครั้งจะมีความน่าจะเป็นในการหงายหน้าเป็น หมายเลข 4 เท่ากับ 1/6 ทั้งสองครั้ง ดังนั้น ความน่าจะเป็นรวมทั้งหมด 1/6x1/6 = 1/36 2. กฎการบวก > ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่ไม่สามารถเกิดขึ้นพร้อมกันได้ในเวลาเดียวกัน Ex. ในการทอยลูกเต่า 1 ครั้ง จงหาความน่าจะเป็นที่หงายหน้าเป็นหมายเลข 4 หรือ หมายเลข 5 คิดได้จาก ในการทอยลูกเต่าหนึ่งครั้งจะมีความน่าจะเป็นในการหงายหน้า เป็นหมายเลข 4 เท่ากับ 1/6 และความน่าจะเป็นที่จะหงายหน้าหมายเลข 5 เท่ากับ 1/6 ดังนั้น ความน่าจะเป็นรวมทั้งหมด 1/6+1/6 = 2/6 =1/3
  • 48. Tt สูง P Tt สูง x เซลล์สืบพันธุ์ T t T t F1 TT Tt Tt tt ต้นสูง ต้นสูง ต้นสูง ต้นเตี้ย ความน่าจะเป็น genotype TT : Tt : tt phenotype สูง : เตี้ย จงหาโอกาสที่รุ่น F1 จะมีจีโนไทป์ Tt
  • 50. Ex. ถ้ารุ่นพ่อแม่ AABbccDdEeff มาผสมกัน n = 3 เพราะมียีน heterozygous 3 คู่ คือ Bb Dd Ee แต่ละตัวจะสร้างเซลล์สืบพันธุ์ได้ 23 = 8 แบบ ให้ลูกที่มีจีโนไทป์ต่างกัน 33 = 27 แบบ และลูกมีฟีโนไทป์ต่างกัน 23 = 8 แบบ ถ้ารุ่นพ่อแม่มีจีโนไทป์เหมือนกัน โดยเป็นยีน heterozygous n คู่ และมีการ ถ่ายทอดลักษณะตามแบบเมนเดลแล้ว พ่อแม่แต่ละตัวจะสร้างเซลล์สืบพันธุ์ได้ 2n แบบ ให้ลูกที่มีจีโนไทป์ต่างกัน 3n แบบ และลูกมีฟีโนไทป์ต่างกัน 2n แบบ
  • 52. ถ้าเป็น Aa ผสมตัวเอง ลูกที่ได้จะ เป็นอัตราส่วนลักษณะเด่น : ด้อย = 3 : 1 แต่ถ้าเป็น AA เมื่อ ผสมตัวเองจะได้ลักษณะเด่นล้วน 2. ถ้าเรามีฟีโนไทป์เด่น (A_) แล้วอยากรู้ว่ามีจีโนไทป์เป็นแบบ AA หรือ Aa สามารถทาได้ 2 วิธี คือ…… A_ ? A a x ลักษณะเด่น : ด้อย = 3 : 1 AA Aa Aa aa Aa Aa x AA AA ลักษณะเด่น AA
  • 53. คือ การผสมกับ homozygous recessive (aa) เรียกว่า ตัวทดสอบ ถ้าเกิดเป็น Aa ผสมกับ aa จะได้เด่น : ด้อย = 1 : 1 แต่ถ้าเป็น AA ผสมกับ aa จะได้เด่นล้วน และ backcross อาจเป็น test cross อย่างหนึ่งด้วย ถ้าเกิดพ่อพันธุ์แม่พันธุ์ที่เอาไปผสม มีจีโนไทป์ aa AA Aa ? A_ A a เมล็ดสีเหลือง aa เมล็ดสีเขียว x Aa aa Aa aa aa เมล็ดสีเหลือง เมล็ดสีเขียว x Aa Aa Aa Aa A_ A_