SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
1 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 
รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 
ปีการศึกษา 2557 
ชื่อโครงงาน องค์ประกอบชองเซลล์สัตว์ 
ชื่อผู้ทาโครงงาน 
นางสาวปรางวดี ศรีเกษ เลขที่ 4 ชั้น ม. 6 ห้อง 8 
นางสาวสืบขวัญ นาวายุทธ เลขที่ 6 ชั้น ม. 6 ห้อง 8 
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ 
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 
2557
2 
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ 
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34 
ใบงาน 
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ 
สมาชิกในกลมุ่ 
1. นางสาวปรางวดี ศรีเกษ เลขที่4 
2. นางสาวสืบขวัญ นาวายุทธ เลขที่6 
คาชี้แจง ให้ผเู้รียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ 
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) 
องค์ประกอบของเซลล์สัตว์ 
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) 
Animal Cell Structure 
ประเภทโครงงาน สื่อการเรียนการสอน
3 
ชื่อผทู้า โครงงาน 1. น.ส.ปรางวดี ศรีเกษ เลขที่4 ชั้น ม. 6 ห้อง 
8 
2. น.ส.สบืขวัญ นาวายุทธ เลขที่6 ชั้น ม. 6 ห้อง 8 
ชื่อทปี่รึกษา ครูเขอื่นทอง มูลวรรณ์ 
ชื่อทปี่รึกษาร่วม - 
ระยะเวลาดาเนนิงาน เดือนพฤศจิกายน 2557 – เดือนกุมภาพนัธ์ 
2558 
ที่มาและความสา คัญของโครงงาน 
ปัจจุบันมีการเรียนการสอนเรอื่งเซลล์ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 
ซึ่งเป็นเรอื่งทสี่า คัญในการต่อยอดไปในเรอื่งอนื่ๆในวิชาชีววิทยาแทบทุกบท 
หากมีความรเู้รอื่งเซลล์ไม่เข้าใจเท่าทคี่วรก็จะทา ให้การเรียนรใู้นวิชาชีววิท 
ยาในเรอื่งอนื่ๆมีปัญหาตามมา ส่งผลกระทบเป็นทอดๆ 
ทาให้ความรคู้วามเข้าใจไม่สามารถเข้าถึงแก่นหลักในวิชาเนอื้หานไี้ด้อย่างเ 
ข้าใจจริง 
เรื่องเซลล์นอี้าจเป็นเรอื่งทยี่ากหรือไม่สามารถจดจา ส่วนประกอบแต่ละส่วนไ 
ด้อย่างชัดเจนอาจเป็นเพราะชื่อทยี่ากตอ่การจดจา หรอือาจเป็นเพราะส่วนปร 
ะกอบของเซลล์นนั้มีหลากหลายและลา้ลึกเกินไป 
แต่เรอื่งเซลล์นนั้เซลล์ยังเป็นเรอื่งใกล้ตัวทนี่่าสนใจและควรรู้ 
เพราะหากมีความรเู้รอื่งเซลล์ทดีี่เราจา สามารถนา มาประยุกต์ใช้ในชีวิตประ 
จาวันได้อย่างมากมาย แต่ในปัจจุบัน 
กลับยังไม่มีสื่อการเรียนการสอนเรอื่งเซลล์ของสัตว์ในโลกออนไลน์ทคี่รบถ้ว 
นสมบูรณ์ ฟรี และหาง่ายเท่าทคี่วร 
ถึงแม้เรานนั้อาจค้นคว้าแต่กลับไม่มีข้อมูลทตี่รงกับความต้องการของเราหรอื 
ไม่มีข้อมูลทเี่รานนั้สามารถทา ความเข้าใจทตี่รงกับความเข้าใจของเรามากเ 
ท่าที่ควร และบางทีสอื่การสอนเหล่านอี้าจมีตัวหนังสือไม่สวยงาม อ่านยาก 
ทาให้มีความรสูึ้กไม่อยากทา ความเข้าใจ ซึ่งเป็นเรอื่งทเี่กิดขนึ้ได้ 
เพราะทุกคนนนั้ล้วนแต่ต้องการสอื่การสอนทมีี่ความสวยงามและสามารถเข้า 
ใจได้โดยง่ายเพอื่ความสะดวกในการเรียนรู้ 
วิชาชีวะนนั้ทุกคนอาจคิดว่าเป็นวิชาทที่่องจา 
เป็นวิชาทคี่นทชี่อบจา เท่านนั้ถึงจะชอบวิชานี้ 
แต่ถ้าเราสามารถจดจา ไดโ้ดยรูปภาพเราก็จะสามารถจา เรอื่งราวต่างๆได้มา
4 
กยิ่งขนึ้ 
การจดจา เรอื่งๆหนงึ่คล้ายกับการจัดเรียงในสมองเมอื่นึกถึงสงิ่ๆหนงึ่เราก็จะนึ 
กถึงสิ่งทเี่กยี่วข้องกับสงิ่นนั้ได้โดยอัตโนมัติโดยไม่ต้องนงั่นึกคิดนานว่าสงิ่นหี้ 
มายความว่าอย่างไร ไม่ต้องตีความให้ซับซ้อน 
ความคิดจะออกมาโดยทันทีทเี่ราคิด 
ยกตัวอย่างเช่นเมอื่นึกถงึแอปเปลิ้เราก็จะนึกถึงพายแอปเปลิ้ น้าแอปเปลิ้ 
หรือผลไม้อนื่ๆทมีี่สีแดงตามสีของผลแอปเปลิ้ ดวงอาทิตย์ 
หรืออนื่ๆอีกมากมายทมีี่ส่วนเกยี่วข้อง 
ดังนั้นถา้เราสามารถจัดเรียงข้อมูลต่างๆได้อย่างเรียบร้อยเป็นระเบียบ 
ถ้าเกิดเราฝึกฝนการจดจา บ่อยๆก็จะทา ให้เราสามารถจดจา ข้อมูลนนั้ได้อย่า 
งแม่นยา และชัดเจนยิ่งขนึ้ 
สื่อการเรียนการสอนเรอื่งเซลล์ของสัตว์ทกี่ลมุ่ของข้าพเจ้านนั้จะสามาร 
ถไขข้อสงสัยเกยี่วกับเซลล์ในปัญหาทเี่ราสงสัย 
ทาให้เรานนั้เกิดความเข้าใจในเรอื่งนมี้ากขนึ้ 
ทาให้หายสงสัยในประเด็นทเี่ราไม่เข้าใจ 
ช่วยส่งเสริมความเข้าใจให้เรามากขนึ้ยิ่งกว่าเดิม 
ความเข้าใจถือว่าเป็นเรอื่งสา คัญเรอื่งหนงึ่ 
กลุ่มของของข้าพเจ้าก็ได้ตระหนักถึงเรอื่งนี้ 
ด้วยเหตุนกี้ลุ่มของข้าพเจ้าจึงตงั้ใจจะทา สอื่การเรียนการสอนเรอื่งเซลล์ของ 
สัตว์นใี้ห้สวยงาม เข้าถึงง่าย และมีข้อมูลถูกต้องครบถ้วนสมบูรณ์ 
เพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อผทู้สี่นใจไม่มากกน็้อย 
เพื่อเป็นข้อมูลในการศึกษาค้นคว้าเรียนรหู้รือสามารถต่อยอดสอื่การเรียนกา 
รสอนนตี้่อไปในอนาคตภายภาคหนา้ 
วัตถุประสงค์ 
1. เพื่อเผยแพร่ความรเู้รอื่งเซลล์ของสัตว์ทถีู่กตอ้งและครบถ้วนสมบูรณ์แก่ 
ผู้ที่สนใจ 
2. เพื่อเป็นการทบทวนความรแู้ก่ผู้จัดทา 
3. เพื่อเป็นแนวทางการจดัทา สอื่การเรียนรเู้รอื่งเซลล์สัตว์ต่อไป 
ขอบเขตโครงงาน 
เซลล์ของสัตว์ อันประกอบไปดว้ยประวัติการค้นพบเซลล์ โครงสร้าง 
และหน้าทขี่อง นิวเคลียส เยื่อหมุ้เซลล์ และออแกเนลล์ต่างๆ ได้แก่ ไรโบโซม
5 
ไมโทคอนเดรยี ไซโตสเกเลตอล เอนโดพลาสมิกเรติคิวลัม กอลจิบอดี 
แวคิวโอล ไลโซโซม เพอรอกซิโซม 
หลักการและทฤษฎี 
เซลล์ (Cell) หมายถึง หน่วยพนื้ฐานทเี่ล็กทสีุ่ดของสงิ่มีชีวิต 
มีรูปร่างลักษณะและขนาดแตกต่างกนัขนึ้อยกูั่บชนิดของสงิ่มีชีวิตและหน้าที่ 
ของเซลล์เหล่านนั้เซลล์ทมีี่ขนาดเล็กทสีุ่ดคือ ไมโครพลาสมา 
(Mycoplasma) หรือ PPLO (Pleuropneumonia - like organism) 
มีขนาดประมาณ 0.1 - 0.25 m 
เซลล์ทมีี่ขนาดใหญ่ทสีุ่ด คือ เซลล์ไข่นกกระจอกเทศ 
ประวัติการศึกษาเซลล์ (Cell) 
ศตวรรษที่17 กาลิเลโอ ได้ประดิษฐ์แว่นขยายกา ลังขยาย 2-5 เท่า 
ส่องดูสงิ่มีชีวิตเล็กๆ 
ค.ศ.1665 Robert Hook ได้ประดิษฐ์กล้องจุลทรรศน์เลนส์ประกอบได้สา เร็จ 
ซึ่งมีกาลังขยาย 270 เท่า 
และนา ไปส่องดูไม้คอร์กทเี่ฉือนบางๆและพบห้องว่างมากมายทเี่ขาเรียกว่า 
Cell 
ค.ศ.1839 ชวานน์และชไลเดน ได้เสนอ ทฤษฎีเซลล์ 
ทฤษฎีเซลล์ (Cell Theory) 
เสนอโดย Schwann และ Schleiden มีใจความสา คัญว่า 
สิ่งมีชีวิตทงั้หลายประกอบด้วยเซลล์และผลิตภัณฑ์ของเซลล์ ในปัจจบุัน 
พบว่าสงิ่มีชีวิตทไี่ม่ประกอบด้วยเซลล์ก็มี เช่น Virus และ Viroid 
เพราะเหตุว่า ไม่มีเยอื่หมุ้เซลล์และโพรโทพลาซึม
6 
ส่วนทหี่่อหมุ้เซลล์สัตว์ ประกอบด้วย 
เยื่อหุ้มเซลล์ (Cell membrane) พบในเซลล์สงิ่มีชีวิตทุกชนิด 
ควบคุมการผ่านเข้าออกของสารเพราะมีสมบัติเป็นเยอื่เลือกผ่าน 
ประกอบด้วยไขมันและโปรตีนอยรู่วมกันเป็น Fluid mosaic model กล่าวคือ 
โมเลกุลของฟอสโฟลิพิดเรียงกันเป็น 2 ชั้น หันด้านมีขวั้ซงึ่ชอบรวมตัวกับนา้ 
(Hydrophilic)ออกด้านนอก และหันดา้นไม่มีขนั้ซงึ่ไม่ชอบรวมกับนา้ 
(Hydrophobic) เข้าข้างใน และมีการเคลอื่นทไี่หลไปมาได้ 
ส่วนโปรตีนมีลักษณะเป็นก้อน (Globular) ฝังหรือลอยอยู่ในชนั้ไขมัน 
และอาจพบคาร์โบไฮเดรตเกาะทผีิ่วโปรตีนดว้ยก็ได้ ไซโทพลาซึม 
(Cytoplasm) เป็นของเหลวภายในเซลล์ทอี่ยรู่อบ ๆ นิวเคลียสประกอบด้วย 
คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน และแร่ธาตุต่าง ๆ ไซโทพลาซึมมี 
ออร์แกแนลล์ (Organelle) หลายชนิด ทาหน้าทตี่่าง ๆ กัน 
1. ไรโบโซม (Ribosome) 
มีลักษณะเป็นทรงกลมขนาดเล็กประมาณ 20 nm ประกอบด้วย rRNA 
และโปรตีน พบทวั่ไปในไซโทพลาสซึม ไมโทคอนเดรยี คลอโรพลาสต์ 
มีหน้าทสีั่งเคราะหโ์ปรตีนสา หรับใช้ภายในเซลล์และส่งออกไปใช้นอกเซลล์ 
2. เซนทริโอล (Centriole) 
เป็นท่อกลวง ประกอบด้วยไมโครทิวบูล 9 กลุ่ม กลุ่มละ 3 ท่อ 
เรียงกันเป็นวงกลม เรียกว่า 9 + 0 
(ตรงกลางไม่มีไมโครทิวบูล)มีหน้าทสี่รา้งเส้นใยสปินเดิล 
3.ไมโครทิวบูล (Microtubule) 
ประกอบด้วยโปรตีนพวกทิวบูลินเรียงต่อกนัเป็นวงเห็นเป็นท่อมีหน้าทเี่กยี่วข้ 
องกับการเคลอื่นไหวของเซลล์
7 
4.ไลโซโซม (Lysosome) 
พบเฉพาะในเซลล์สัตว์ มีกาเนิดจากกอลจิคอมเพลกซ์ 
มีเอนไซม์สา หรบัการย่อยสลายสารต่าง ๆ ภายในเซลล์ 
5. ร่างแหเอนโดพลาซึม (Endoplasmic reticulum) 
เป็นเมมเบรนทเี่ชอื่มต่อกบัเยอื่หมุ้เซลล์และเยอื่หมุ้นิวเคลียสได้ 
ไม่พบในเซลล์ของโพรแคริโอต แบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ 
คือร่างแหเอนโดพลาซึมแบบผิวขรุขระ 
และร่างแหเอนโดพลาซึมแบบผิวเรียบ 
6.กอลจิคอมเพลกซ์ (Golgi complex) 
เป็นถุงแบนบางเรียบซ้อนกันเป็นตงั้ ๆ 5 - 8 ชั้น ภายในมีของเหลว 
ส่วนปลายทงั้สองข้างยื่นพองออกเป็นถุงเล็ก ๆ เรียกว่า เวซิเคิล (vesicle) 
มีบทบาทในการสร้างไลโซโซม เป็นแหล่งสะสมสารต่าง ๆ 
ก่อนนา ไปใช้ในกิจกรรมของเซลล์ 
7.ไมโทรคอนเดรีย (Mitochondria) 
มีหน้าทสี่ร้างพลังงานให้แก่เซลล์ (ส่วนใหญ่อยใู่นรูป ATP) 
8. แวคิวโอล (Vacuole) 
มีลักษณะเป็นถุงมีเยื่อหมุ้บาง ๆ เรียกว่า โทโนพลาสต์ (Tonoplast) 
ภายใต้มีของเหลวหรือสารหลายชนิดบรรจุอยู่ แบ่งออกเป็น 3 แบบ คือ 
ฟูดแวคิวโอล (Food vacuole) 
คอนแทร็กไทล์แวคิวโอล (Contractile vacuole) 
แซปแวคิวโอล (Sap vacuole) 
นิวเคลียส (Nucleus) 
มีรูปร่างคล้ายทรงกลม โดยทวั่ไปมีเพียง 1 นิวเคลียสเท่านนั้ 
แต่ในสงิ่มีชีวิตชนั้ตา่บางชนิด มี 2 นิวเคลียส เช่น พารามีเซียม
8 
สาหรับเซลล์เม็ดเลือดแดงของสัตว์เลยี้งลูกด้วยนมเมอื่เจริญเต็มทจี่ะไม่มีนิวเ 
คลียส 
นิวเคลียสถือว่าเป็นศูนย์กลางควบคุมการทา งานของเซลล์ 
มีองค์ประกอบทสี่า คัญดังนี้ 
เยื่อหุ้มนิวเคลียส (Nuclear membrane) เป็นยูนิตเมมเบรน 2 ชั้น 
ที่มีสมบัติเป็นเยอื่เลือกผ่านเช่นเดียวกับเยื่อหมุ้เซลล์ 
เยื่อหุ้มชั้นนอกมีไรโบโซมเกาะอยู่ ผิวของเยอื่หมุ้มีรูเล็ก ๆ (annulus) 
กระจายทวั่ไปเป็นช่องติดต่อระหว่างของเหลวในนิวเคลียสกับของเหลวในไ 
ซโทพลาสซึม 
นิวคลีออลัส (Nucleous) 
เห็นชัดเจนในภาวะปกติทเี่ซลล์ยังไม่มีการแบ่งตัวไม่มีเยอื่หมุ้ 
เป็นบริเวณทสี่ะสม RNA และสังเคราะห์ไรโบโซม 10 เปอร์เซ็นต์ และ RNA 
4 เปอร์เซ็นต์ 
โครโมโซม (Chromosome) เป็นเส้นใยเล็ก ๆ เรียกว่า โครมาทิน 
(Chromatin) ซึ่งก็คือ โมเลกุลของ DNA ที่มีโปรตีนหมุ้นนั่เอง 
โครโมโซมประกอบด้วย 2 โครมาทิด (Chromatid) เชื่อมกันที่เซนโทรเมียร์ 
(Centromere) 
วิธีดาเนินงาน 
- แนวทางการดา เนินงาน 
ค้นหาข้อมูลจากทงั้ในหนังสือและอินเทอรเ์น็ต 
พิสูจน์ว่าความรนู้นั้ถูกต้อง และนา มาสรุปเป็นภาษาของผจูั้ดทา เอง 
และนา เสนอโดยใช้พาวเวอร์พ้อยท์ 
- เครื่องมือและอุปกรณ์ทใี่ช้
9 
หนังสือเรียนชีววิทยา ความรจู้ากอินเทอรเ์น็ต 
และพาวเวอร์พ้อยท์ 
- งบประมาณ 
ไม่มีค่าใช้จ่าย 
ขั้นตอนและแผนดา เนินงาน 
ลา 
ดับ 
ที่ 
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดช 
อบ 
1 2 3 4 5 6 7 8 9 
1 
0 
1 
1 
1 
2 
1 
3 
1 
4 
1 
5 
1 
6 
17 
1 คิดหัวข้อโครงงาน สืบขวัญ 
2 ศึกษาและค้นคว้าข้ 
อมูล 
สืบขวัญ 
3 จัดทาโครงร่างงาน สืบขวัญ 
4 ปฏิบัติการสร้างโค 
รงงาน 
ปรางวดี 
5 ปรับปรุงทดสอบ สืบขวัญ 
6 การทาเอกสารราย 
งาน 
ปรางวดี 
7 ประเมินผลงาน ปรางวดี,สื 
บขวัญ 
8 นาเสนอโครงงาน ปรางวดี 
ผลทคี่าดว่าจะได้รับ 
ผู้ที่สนใจได้รับความรจู้ากพาวเวอร์พ้อยท์ทจีั่ดทา ขนึ้ 
สามารถนา ความรไู้ปใช้ในชีวิตประจา วันได้ เช่น การสอบ 
และผจูั้ดทา ก็ได้ทบทวนความรเู้รอื่งเซลล์ของสิ่งมีชีวิตจากการทา โครงงานนี้ 
ด้วย 
สถานที่ดาเนินการ 
ห้องสมุดกาญจนาภิเษก โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
10 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 
กลุ่มสาระการเรียนรเู้ทคโนโลยีและสารสนเทศ 
กลุ่มสาระการเรียนรวูิ้ทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) 
กลุ่มสาระการเรียนรภู้าษาไทย 
กลุ่มสาระการเรียนรภู้าษาอังกฤษ 
แหล่งอ้างอิง 
หนังสือเรียนชีววิทยา ระดับมัธยมปลาย 
เวปไซต์ต่างๆ

More Related Content

What's hot

ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียงติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียงWichai Likitponrak
 
2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์Wichai Likitponrak
 
สื่อการเรียนรู้การแบ่งเซลล์.
สื่อการเรียนรู้การแบ่งเซลล์.สื่อการเรียนรู้การแบ่งเซลล์.
สื่อการเรียนรู้การแบ่งเซลล์.Kururu Heart
 
โครงงานงานคอม (2)
โครงงานงานคอม (2)โครงงานงานคอม (2)
โครงงานงานคอม (2)Onin Goh
 
บท1การแบ่งเซลล์
บท1การแบ่งเซลล์บท1การแบ่งเซลล์
บท1การแบ่งเซลล์Wichai Likitponrak
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชsukanya petin
 
Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์bio2014-5
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 
ต่อมไทรอยด์
ต่อมไทรอยด์ต่อมไทรอยด์
ต่อมไทรอยด์parwaritfast
 
เซเรบอส Brands วิชาชีววิทยา (192 หน้า) new
เซเรบอส Brands วิชาชีววิทยา (192 หน้า) newเซเรบอส Brands วิชาชีววิทยา (192 หน้า) new
เซเรบอส Brands วิชาชีววิทยา (192 หน้า) newfindgooodjob
 
โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.itualeksuriya
 
การแบ่งเซลล์
การแบ่งเซลล์การแบ่งเซลล์
การแบ่งเซลล์Pew Juthiporn
 

What's hot (20)

ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียงติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
 
2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์
 
สื่อการเรียนรู้การแบ่งเซลล์.
สื่อการเรียนรู้การแบ่งเซลล์.สื่อการเรียนรู้การแบ่งเซลล์.
สื่อการเรียนรู้การแบ่งเซลล์.
 
Powerpoint1
Powerpoint1Powerpoint1
Powerpoint1
 
โครงงานงานคอม (2)
โครงงานงานคอม (2)โครงงานงานคอม (2)
โครงงานงานคอม (2)
 
บท1การแบ่งเซลล์
บท1การแบ่งเซลล์บท1การแบ่งเซลล์
บท1การแบ่งเซลล์
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
Cell.ppt25 copy
Cell.ppt25   copyCell.ppt25   copy
Cell.ppt25 copy
 
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
 
Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์
 
Cell
CellCell
Cell
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
computer project
computer projectcomputer project
computer project
 
ต่อมไทรอยด์
ต่อมไทรอยด์ต่อมไทรอยด์
ต่อมไทรอยด์
 
เซเรบอส Brands วิชาชีววิทยา (192 หน้า) new
เซเรบอส Brands วิชาชีววิทยา (192 หน้า) newเซเรบอส Brands วิชาชีววิทยา (192 หน้า) new
เซเรบอส Brands วิชาชีววิทยา (192 หน้า) new
 
โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
การแบ่งเซลล์
การแบ่งเซลล์การแบ่งเซลล์
การแบ่งเซลล์
 
4
44
4
 

Viewers also liked

Almacen luz
Almacen luzAlmacen luz
Almacen luzyerinson
 
Wi fi – all the time
Wi fi – all the timeWi fi – all the time
Wi fi – all the timecokepepsi
 
Ashford edu 645 week 4 dq 1 item analysis
Ashford edu 645 week 4 dq 1 item analysisAshford edu 645 week 4 dq 1 item analysis
Ashford edu 645 week 4 dq 1 item analysisasdsdassdasdasd
 
Era su manzanito
Era su manzanitoEra su manzanito
Era su manzanitoLusly
 
Interactuando con las redes
Interactuando con las redes Interactuando con las redes
Interactuando con las redes gabiangel
 
оюунгэрэл х2
оюунгэрэл х2оюунгэрэл х2
оюунгэрэл х2oyungerel85
 
Stampomatica / How to Make a Postcard Press
Stampomatica / How to Make a Postcard PressStampomatica / How to Make a Postcard Press
Stampomatica / How to Make a Postcard PressTecnificio
 
F:\Nueva Carpeta\PresentacióN1
F:\Nueva Carpeta\PresentacióN1F:\Nueva Carpeta\PresentacióN1
F:\Nueva Carpeta\PresentacióN1saritagc
 
2015:1:9 現代人の哲学
2015:1:9 現代人の哲学2015:1:9 現代人の哲学
2015:1:9 現代人の哲学TomoyasuUdo
 
Hotel engineer kpi
Hotel engineer kpiHotel engineer kpi
Hotel engineer kpideripotsri
 

Viewers also liked (20)

Almacen luz
Almacen luzAlmacen luz
Almacen luz
 
Processing 06
Processing 06Processing 06
Processing 06
 
Wi fi – all the time
Wi fi – all the timeWi fi – all the time
Wi fi – all the time
 
3.მათემატიკა
3.მათემატიკა3.მათემატიკა
3.მათემატიკა
 
Frio
FrioFrio
Frio
 
empresa dcarte
empresa dcarteempresa dcarte
empresa dcarte
 
Ashford edu 645 week 4 dq 1 item analysis
Ashford edu 645 week 4 dq 1 item analysisAshford edu 645 week 4 dq 1 item analysis
Ashford edu 645 week 4 dq 1 item analysis
 
Era su manzanito
Era su manzanitoEra su manzanito
Era su manzanito
 
¡bOxx!3rd
¡bOxx!3rd¡bOxx!3rd
¡bOxx!3rd
 
Interactuando con las redes
Interactuando con las redes Interactuando con las redes
Interactuando con las redes
 
Repaso
RepasoRepaso
Repaso
 
¡bOxx!2nd
¡bOxx!2nd¡bOxx!2nd
¡bOxx!2nd
 
оюунгэрэл х2
оюунгэрэл х2оюунгэрэл х2
оюунгэрэл х2
 
Stampomatica / How to Make a Postcard Press
Stampomatica / How to Make a Postcard PressStampomatica / How to Make a Postcard Press
Stampomatica / How to Make a Postcard Press
 
Big picturewhitepaper
Big picturewhitepaperBig picturewhitepaper
Big picturewhitepaper
 
Habilidades comunicativas
Habilidades comunicativasHabilidades comunicativas
Habilidades comunicativas
 
El renacimiento
El renacimientoEl renacimiento
El renacimiento
 
F:\Nueva Carpeta\PresentacióN1
F:\Nueva Carpeta\PresentacióN1F:\Nueva Carpeta\PresentacióN1
F:\Nueva Carpeta\PresentacióN1
 
2015:1:9 現代人の哲学
2015:1:9 現代人の哲学2015:1:9 現代人の哲学
2015:1:9 現代人の哲学
 
Hotel engineer kpi
Hotel engineer kpiHotel engineer kpi
Hotel engineer kpi
 

Similar to โครงงานคอม

โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)Prangwadee Sriket
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)Thanyamon Chat.
 
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์chawisa44361
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยาDarika Kanhala
 
การศึกษาเซลล์
การศึกษาเซลล์การศึกษาเซลล์
การศึกษาเซลล์Issara Mo
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตTakky Pinkgirl
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
M.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวM.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวWeeraphon Parawach
 
Pont มุนี
Pont มุนีPont มุนี
Pont มุนีmu_nin
 
2560 project438 (1)
2560 project438 (1)2560 project438 (1)
2560 project438 (1)saruta38605
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตpongrawee
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์dnavaroj
 
โครงงานคอม 1
โครงงานคอม 1โครงงานคอม 1
โครงงานคอม 1Prangwadee Sriket
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตบทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตPinutchaya Nakchumroon
 

Similar to โครงงานคอม (20)

โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)
 
ใบงานที่7.1
ใบงานที่7.1ใบงานที่7.1
ใบงานที่7.1
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
 
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยา
 
การศึกษาเซลล์
การศึกษาเซลล์การศึกษาเซลล์
การศึกษาเซลล์
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
M.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวM.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติว
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
B03
B03B03
B03
 
Pont มุนี
Pont มุนีPont มุนี
Pont มุนี
 
4
44
4
 
4
44
4
 
2560 project438 (1)
2560 project438 (1)2560 project438 (1)
2560 project438 (1)
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
Division[1]
Division[1]Division[1]
Division[1]
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
 
โครงงานคอม 1
โครงงานคอม 1โครงงานคอม 1
โครงงานคอม 1
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตบทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
 

โครงงานคอม

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2557 ชื่อโครงงาน องค์ประกอบชองเซลล์สัตว์ ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวปรางวดี ศรีเกษ เลขที่ 4 ชั้น ม. 6 ห้อง 8 นางสาวสืบขวัญ นาวายุทธ เลขที่ 6 ชั้น ม. 6 ห้อง 8 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2557
  • 2. 2 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลมุ่ 1. นางสาวปรางวดี ศรีเกษ เลขที่4 2. นางสาวสืบขวัญ นาวายุทธ เลขที่6 คาชี้แจง ให้ผเู้รียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) องค์ประกอบของเซลล์สัตว์ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Animal Cell Structure ประเภทโครงงาน สื่อการเรียนการสอน
  • 3. 3 ชื่อผทู้า โครงงาน 1. น.ส.ปรางวดี ศรีเกษ เลขที่4 ชั้น ม. 6 ห้อง 8 2. น.ส.สบืขวัญ นาวายุทธ เลขที่6 ชั้น ม. 6 ห้อง 8 ชื่อทปี่รึกษา ครูเขอื่นทอง มูลวรรณ์ ชื่อทปี่รึกษาร่วม - ระยะเวลาดาเนนิงาน เดือนพฤศจิกายน 2557 – เดือนกุมภาพนัธ์ 2558 ที่มาและความสา คัญของโครงงาน ปัจจุบันมีการเรียนการสอนเรอื่งเซลล์ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ซึ่งเป็นเรอื่งทสี่า คัญในการต่อยอดไปในเรอื่งอนื่ๆในวิชาชีววิทยาแทบทุกบท หากมีความรเู้รอื่งเซลล์ไม่เข้าใจเท่าทคี่วรก็จะทา ให้การเรียนรใู้นวิชาชีววิท ยาในเรอื่งอนื่ๆมีปัญหาตามมา ส่งผลกระทบเป็นทอดๆ ทาให้ความรคู้วามเข้าใจไม่สามารถเข้าถึงแก่นหลักในวิชาเนอื้หานไี้ด้อย่างเ ข้าใจจริง เรื่องเซลล์นอี้าจเป็นเรอื่งทยี่ากหรือไม่สามารถจดจา ส่วนประกอบแต่ละส่วนไ ด้อย่างชัดเจนอาจเป็นเพราะชื่อทยี่ากตอ่การจดจา หรอือาจเป็นเพราะส่วนปร ะกอบของเซลล์นนั้มีหลากหลายและลา้ลึกเกินไป แต่เรอื่งเซลล์นนั้เซลล์ยังเป็นเรอื่งใกล้ตัวทนี่่าสนใจและควรรู้ เพราะหากมีความรเู้รอื่งเซลล์ทดีี่เราจา สามารถนา มาประยุกต์ใช้ในชีวิตประ จาวันได้อย่างมากมาย แต่ในปัจจุบัน กลับยังไม่มีสื่อการเรียนการสอนเรอื่งเซลล์ของสัตว์ในโลกออนไลน์ทคี่รบถ้ว นสมบูรณ์ ฟรี และหาง่ายเท่าทคี่วร ถึงแม้เรานนั้อาจค้นคว้าแต่กลับไม่มีข้อมูลทตี่รงกับความต้องการของเราหรอื ไม่มีข้อมูลทเี่รานนั้สามารถทา ความเข้าใจทตี่รงกับความเข้าใจของเรามากเ ท่าที่ควร และบางทีสอื่การสอนเหล่านอี้าจมีตัวหนังสือไม่สวยงาม อ่านยาก ทาให้มีความรสูึ้กไม่อยากทา ความเข้าใจ ซึ่งเป็นเรอื่งทเี่กิดขนึ้ได้ เพราะทุกคนนนั้ล้วนแต่ต้องการสอื่การสอนทมีี่ความสวยงามและสามารถเข้า ใจได้โดยง่ายเพอื่ความสะดวกในการเรียนรู้ วิชาชีวะนนั้ทุกคนอาจคิดว่าเป็นวิชาทที่่องจา เป็นวิชาทคี่นทชี่อบจา เท่านนั้ถึงจะชอบวิชานี้ แต่ถ้าเราสามารถจดจา ไดโ้ดยรูปภาพเราก็จะสามารถจา เรอื่งราวต่างๆได้มา
  • 4. 4 กยิ่งขนึ้ การจดจา เรอื่งๆหนงึ่คล้ายกับการจัดเรียงในสมองเมอื่นึกถึงสงิ่ๆหนงึ่เราก็จะนึ กถึงสิ่งทเี่กยี่วข้องกับสงิ่นนั้ได้โดยอัตโนมัติโดยไม่ต้องนงั่นึกคิดนานว่าสงิ่นหี้ มายความว่าอย่างไร ไม่ต้องตีความให้ซับซ้อน ความคิดจะออกมาโดยทันทีทเี่ราคิด ยกตัวอย่างเช่นเมอื่นึกถงึแอปเปลิ้เราก็จะนึกถึงพายแอปเปลิ้ น้าแอปเปลิ้ หรือผลไม้อนื่ๆทมีี่สีแดงตามสีของผลแอปเปลิ้ ดวงอาทิตย์ หรืออนื่ๆอีกมากมายทมีี่ส่วนเกยี่วข้อง ดังนั้นถา้เราสามารถจัดเรียงข้อมูลต่างๆได้อย่างเรียบร้อยเป็นระเบียบ ถ้าเกิดเราฝึกฝนการจดจา บ่อยๆก็จะทา ให้เราสามารถจดจา ข้อมูลนนั้ได้อย่า งแม่นยา และชัดเจนยิ่งขนึ้ สื่อการเรียนการสอนเรอื่งเซลล์ของสัตว์ทกี่ลมุ่ของข้าพเจ้านนั้จะสามาร ถไขข้อสงสัยเกยี่วกับเซลล์ในปัญหาทเี่ราสงสัย ทาให้เรานนั้เกิดความเข้าใจในเรอื่งนมี้ากขนึ้ ทาให้หายสงสัยในประเด็นทเี่ราไม่เข้าใจ ช่วยส่งเสริมความเข้าใจให้เรามากขนึ้ยิ่งกว่าเดิม ความเข้าใจถือว่าเป็นเรอื่งสา คัญเรอื่งหนงึ่ กลุ่มของของข้าพเจ้าก็ได้ตระหนักถึงเรอื่งนี้ ด้วยเหตุนกี้ลุ่มของข้าพเจ้าจึงตงั้ใจจะทา สอื่การเรียนการสอนเรอื่งเซลล์ของ สัตว์นใี้ห้สวยงาม เข้าถึงง่าย และมีข้อมูลถูกต้องครบถ้วนสมบูรณ์ เพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อผทู้สี่นใจไม่มากกน็้อย เพื่อเป็นข้อมูลในการศึกษาค้นคว้าเรียนรหู้รือสามารถต่อยอดสอื่การเรียนกา รสอนนตี้่อไปในอนาคตภายภาคหนา้ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ความรเู้รอื่งเซลล์ของสัตว์ทถีู่กตอ้งและครบถ้วนสมบูรณ์แก่ ผู้ที่สนใจ 2. เพื่อเป็นการทบทวนความรแู้ก่ผู้จัดทา 3. เพื่อเป็นแนวทางการจดัทา สอื่การเรียนรเู้รอื่งเซลล์สัตว์ต่อไป ขอบเขตโครงงาน เซลล์ของสัตว์ อันประกอบไปดว้ยประวัติการค้นพบเซลล์ โครงสร้าง และหน้าทขี่อง นิวเคลียส เยื่อหมุ้เซลล์ และออแกเนลล์ต่างๆ ได้แก่ ไรโบโซม
  • 5. 5 ไมโทคอนเดรยี ไซโตสเกเลตอล เอนโดพลาสมิกเรติคิวลัม กอลจิบอดี แวคิวโอล ไลโซโซม เพอรอกซิโซม หลักการและทฤษฎี เซลล์ (Cell) หมายถึง หน่วยพนื้ฐานทเี่ล็กทสีุ่ดของสงิ่มีชีวิต มีรูปร่างลักษณะและขนาดแตกต่างกนัขนึ้อยกูั่บชนิดของสงิ่มีชีวิตและหน้าที่ ของเซลล์เหล่านนั้เซลล์ทมีี่ขนาดเล็กทสีุ่ดคือ ไมโครพลาสมา (Mycoplasma) หรือ PPLO (Pleuropneumonia - like organism) มีขนาดประมาณ 0.1 - 0.25 m เซลล์ทมีี่ขนาดใหญ่ทสีุ่ด คือ เซลล์ไข่นกกระจอกเทศ ประวัติการศึกษาเซลล์ (Cell) ศตวรรษที่17 กาลิเลโอ ได้ประดิษฐ์แว่นขยายกา ลังขยาย 2-5 เท่า ส่องดูสงิ่มีชีวิตเล็กๆ ค.ศ.1665 Robert Hook ได้ประดิษฐ์กล้องจุลทรรศน์เลนส์ประกอบได้สา เร็จ ซึ่งมีกาลังขยาย 270 เท่า และนา ไปส่องดูไม้คอร์กทเี่ฉือนบางๆและพบห้องว่างมากมายทเี่ขาเรียกว่า Cell ค.ศ.1839 ชวานน์และชไลเดน ได้เสนอ ทฤษฎีเซลล์ ทฤษฎีเซลล์ (Cell Theory) เสนอโดย Schwann และ Schleiden มีใจความสา คัญว่า สิ่งมีชีวิตทงั้หลายประกอบด้วยเซลล์และผลิตภัณฑ์ของเซลล์ ในปัจจบุัน พบว่าสงิ่มีชีวิตทไี่ม่ประกอบด้วยเซลล์ก็มี เช่น Virus และ Viroid เพราะเหตุว่า ไม่มีเยอื่หมุ้เซลล์และโพรโทพลาซึม
  • 6. 6 ส่วนทหี่่อหมุ้เซลล์สัตว์ ประกอบด้วย เยื่อหุ้มเซลล์ (Cell membrane) พบในเซลล์สงิ่มีชีวิตทุกชนิด ควบคุมการผ่านเข้าออกของสารเพราะมีสมบัติเป็นเยอื่เลือกผ่าน ประกอบด้วยไขมันและโปรตีนอยรู่วมกันเป็น Fluid mosaic model กล่าวคือ โมเลกุลของฟอสโฟลิพิดเรียงกันเป็น 2 ชั้น หันด้านมีขวั้ซงึ่ชอบรวมตัวกับนา้ (Hydrophilic)ออกด้านนอก และหันดา้นไม่มีขนั้ซงึ่ไม่ชอบรวมกับนา้ (Hydrophobic) เข้าข้างใน และมีการเคลอื่นทไี่หลไปมาได้ ส่วนโปรตีนมีลักษณะเป็นก้อน (Globular) ฝังหรือลอยอยู่ในชนั้ไขมัน และอาจพบคาร์โบไฮเดรตเกาะทผีิ่วโปรตีนดว้ยก็ได้ ไซโทพลาซึม (Cytoplasm) เป็นของเหลวภายในเซลล์ทอี่ยรู่อบ ๆ นิวเคลียสประกอบด้วย คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน และแร่ธาตุต่าง ๆ ไซโทพลาซึมมี ออร์แกแนลล์ (Organelle) หลายชนิด ทาหน้าทตี่่าง ๆ กัน 1. ไรโบโซม (Ribosome) มีลักษณะเป็นทรงกลมขนาดเล็กประมาณ 20 nm ประกอบด้วย rRNA และโปรตีน พบทวั่ไปในไซโทพลาสซึม ไมโทคอนเดรยี คลอโรพลาสต์ มีหน้าทสีั่งเคราะหโ์ปรตีนสา หรับใช้ภายในเซลล์และส่งออกไปใช้นอกเซลล์ 2. เซนทริโอล (Centriole) เป็นท่อกลวง ประกอบด้วยไมโครทิวบูล 9 กลุ่ม กลุ่มละ 3 ท่อ เรียงกันเป็นวงกลม เรียกว่า 9 + 0 (ตรงกลางไม่มีไมโครทิวบูล)มีหน้าทสี่รา้งเส้นใยสปินเดิล 3.ไมโครทิวบูล (Microtubule) ประกอบด้วยโปรตีนพวกทิวบูลินเรียงต่อกนัเป็นวงเห็นเป็นท่อมีหน้าทเี่กยี่วข้ องกับการเคลอื่นไหวของเซลล์
  • 7. 7 4.ไลโซโซม (Lysosome) พบเฉพาะในเซลล์สัตว์ มีกาเนิดจากกอลจิคอมเพลกซ์ มีเอนไซม์สา หรบัการย่อยสลายสารต่าง ๆ ภายในเซลล์ 5. ร่างแหเอนโดพลาซึม (Endoplasmic reticulum) เป็นเมมเบรนทเี่ชอื่มต่อกบัเยอื่หมุ้เซลล์และเยอื่หมุ้นิวเคลียสได้ ไม่พบในเซลล์ของโพรแคริโอต แบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ คือร่างแหเอนโดพลาซึมแบบผิวขรุขระ และร่างแหเอนโดพลาซึมแบบผิวเรียบ 6.กอลจิคอมเพลกซ์ (Golgi complex) เป็นถุงแบนบางเรียบซ้อนกันเป็นตงั้ ๆ 5 - 8 ชั้น ภายในมีของเหลว ส่วนปลายทงั้สองข้างยื่นพองออกเป็นถุงเล็ก ๆ เรียกว่า เวซิเคิล (vesicle) มีบทบาทในการสร้างไลโซโซม เป็นแหล่งสะสมสารต่าง ๆ ก่อนนา ไปใช้ในกิจกรรมของเซลล์ 7.ไมโทรคอนเดรีย (Mitochondria) มีหน้าทสี่ร้างพลังงานให้แก่เซลล์ (ส่วนใหญ่อยใู่นรูป ATP) 8. แวคิวโอล (Vacuole) มีลักษณะเป็นถุงมีเยื่อหมุ้บาง ๆ เรียกว่า โทโนพลาสต์ (Tonoplast) ภายใต้มีของเหลวหรือสารหลายชนิดบรรจุอยู่ แบ่งออกเป็น 3 แบบ คือ ฟูดแวคิวโอล (Food vacuole) คอนแทร็กไทล์แวคิวโอล (Contractile vacuole) แซปแวคิวโอล (Sap vacuole) นิวเคลียส (Nucleus) มีรูปร่างคล้ายทรงกลม โดยทวั่ไปมีเพียง 1 นิวเคลียสเท่านนั้ แต่ในสงิ่มีชีวิตชนั้ตา่บางชนิด มี 2 นิวเคลียส เช่น พารามีเซียม
  • 8. 8 สาหรับเซลล์เม็ดเลือดแดงของสัตว์เลยี้งลูกด้วยนมเมอื่เจริญเต็มทจี่ะไม่มีนิวเ คลียส นิวเคลียสถือว่าเป็นศูนย์กลางควบคุมการทา งานของเซลล์ มีองค์ประกอบทสี่า คัญดังนี้ เยื่อหุ้มนิวเคลียส (Nuclear membrane) เป็นยูนิตเมมเบรน 2 ชั้น ที่มีสมบัติเป็นเยอื่เลือกผ่านเช่นเดียวกับเยื่อหมุ้เซลล์ เยื่อหุ้มชั้นนอกมีไรโบโซมเกาะอยู่ ผิวของเยอื่หมุ้มีรูเล็ก ๆ (annulus) กระจายทวั่ไปเป็นช่องติดต่อระหว่างของเหลวในนิวเคลียสกับของเหลวในไ ซโทพลาสซึม นิวคลีออลัส (Nucleous) เห็นชัดเจนในภาวะปกติทเี่ซลล์ยังไม่มีการแบ่งตัวไม่มีเยอื่หมุ้ เป็นบริเวณทสี่ะสม RNA และสังเคราะห์ไรโบโซม 10 เปอร์เซ็นต์ และ RNA 4 เปอร์เซ็นต์ โครโมโซม (Chromosome) เป็นเส้นใยเล็ก ๆ เรียกว่า โครมาทิน (Chromatin) ซึ่งก็คือ โมเลกุลของ DNA ที่มีโปรตีนหมุ้นนั่เอง โครโมโซมประกอบด้วย 2 โครมาทิด (Chromatid) เชื่อมกันที่เซนโทรเมียร์ (Centromere) วิธีดาเนินงาน - แนวทางการดา เนินงาน ค้นหาข้อมูลจากทงั้ในหนังสือและอินเทอรเ์น็ต พิสูจน์ว่าความรนู้นั้ถูกต้อง และนา มาสรุปเป็นภาษาของผจูั้ดทา เอง และนา เสนอโดยใช้พาวเวอร์พ้อยท์ - เครื่องมือและอุปกรณ์ทใี่ช้
  • 9. 9 หนังสือเรียนชีววิทยา ความรจู้ากอินเทอรเ์น็ต และพาวเวอร์พ้อยท์ - งบประมาณ ไม่มีค่าใช้จ่าย ขั้นตอนและแผนดา เนินงาน ลา ดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดช อบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 1 2 1 3 1 4 1 5 1 6 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน สืบขวัญ 2 ศึกษาและค้นคว้าข้ อมูล สืบขวัญ 3 จัดทาโครงร่างงาน สืบขวัญ 4 ปฏิบัติการสร้างโค รงงาน ปรางวดี 5 ปรับปรุงทดสอบ สืบขวัญ 6 การทาเอกสารราย งาน ปรางวดี 7 ประเมินผลงาน ปรางวดี,สื บขวัญ 8 นาเสนอโครงงาน ปรางวดี ผลทคี่าดว่าจะได้รับ ผู้ที่สนใจได้รับความรจู้ากพาวเวอร์พ้อยท์ทจีั่ดทา ขนึ้ สามารถนา ความรไู้ปใช้ในชีวิตประจา วันได้ เช่น การสอบ และผจูั้ดทา ก็ได้ทบทวนความรเู้รอื่งเซลล์ของสิ่งมีชีวิตจากการทา โครงงานนี้ ด้วย สถานที่ดาเนินการ ห้องสมุดกาญจนาภิเษก โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
  • 10. 10 กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง กลุ่มสาระการเรียนรเู้ทคโนโลยีและสารสนเทศ กลุ่มสาระการเรียนรวูิ้ทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) กลุ่มสาระการเรียนรภู้าษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรภู้าษาอังกฤษ แหล่งอ้างอิง หนังสือเรียนชีววิทยา ระดับมัธยมปลาย เวปไซต์ต่างๆ