SlideShare a Scribd company logo
1 of 70
Download to read offline
10

                                               บทที่ 2
                               เอกสารและงานวิจยที่เกียวข้ อง
                                              ั ่

       การสร้างและพัฒนาการเรี ยนการสอนโดยใช้บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรื่ อง
             ั
คอมพิวเตอร์ กบเทคโนโลยีสารสนเทศ สําหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ผูรายงานได้ศึกษา
                                                                         ้
เอกสารและงานวิจยที่เกี่ยวข้องนําเสนอตามลําดับดังนี้
                   ั
       1. หลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544 กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชี พ
และเทคโนโลยี
       2. หลักสู ตรสถานศึกษา รายวิชา ง32111 เทคโนโลยีสารสนเทศ 8 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2
       3. เทคโนโลยีสารสนเทศ
       4. การสอนแบบคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน
       5. บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน
       6. งานวิจยที่เกี่ยวข้อง
                 ั

1. หลักสู ตรการศึกษาขั้นพืนฐาน พุทธศักราช 2544 กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงาน
                          ้
   อาชีพและเทคโนโลยี
                                                                    ่
          หลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 มีจุดมุงหมายเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็ น
มนุษย์ที่สมบูรณ์ เป็ นคนดี มีปัญญา มีความสุ ข และมีความเป็ นไทย มีศกยภาพในการศึกษาต่อ
                                                                          ั
และประกอบอาชีพ โดยมีหลักการพื้นฐาน คือ จะต้องเป็ นการศึกษาเพื่อปวงชนที่ประชาชนทุกคน
จะได้รับการศึกษาต่ออย่างเสมอภาคและเท่าเทียมกัน โดยสังคมมีส่วนร่ วมในการจัดการศึกษา และ
ส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนได้พฒนาและเรี ยนรู ้ดวยตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต โดยถือว่าผูเ้ รี ยนสําคัญ
                            ั                ้
ที่สุด สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ
                                                                                        ํ
          เพื่อให้การศึกษาเป็ นไปตามหลักสู ตร จุดหมาย และมาตรฐานการเรี ยนรู้ที่กาหนดไว้ จึงได้
มีการกําหนดโครงสร้างของหลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐานไว้เป็ น 2 ส่ วน คือ ระดับช่วงชั้น และ
สาระการเรี ยนรู้ โดยช่วงชั้นแบ่งออกเป็ น 4 ช่วงชั้น คือ ช่วงชั้นที่ 1 คือ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1-3
ช่วงชั้นที่ 2 คือ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4-6 ช่วงชั้นที่ 3 คือ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1- 3 และช่วงชั้นที่ 4
คือ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4- 6 ส่ วนสาระการเรี ยนรู ้น้ นได้แบ่งออกเป็ น 8 กลุ่ม คือ ภาษาไทย
                                                       ั
คณิ ตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคม ศาสนาและวัฒนธรรม สุ ขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงาน
11

อาชีพและเทคโนโลยี และภาษาต่างประเทศ โดยแต่ละกลุ่มสาระนั้นยังได้กาหนดมาตรฐาน   ํ
การเรี ยนรู ้ไว้ เพื่อเป็ นข้อกําหนดคุณภาพผูเ้ รี ยนด้านความรู ้ ทักษะ กระบวนการ คุณธรรม จริ ยธรรม
และค่านิยมของแต่ละกลุ่ม
         1.1 จุดหมายของหลักสู ตร
               หลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 จึงกําหนดจุดหมายซึ่ งถือเป็ น
มาตรฐานการเรี ยนรู ้ให้ผเู ้ รี ยนเกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ดงต่อไปนี้
                                                                   ั
               1. เห็นคุณค่าของตนเอง มีวนยในตนเอง ปฏิบติตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา
                                             ิ ั                 ั
หรื อศาสนาที่ตนนับถือ มีคุณธรรม จริ ยธรรมและค่านิยมอันพึงประสงค์
               2. มีความคิดสร้างสรรค์ ใฝ่ รู ้ ใฝ่ เรี ยน รักการอ่าน รักการเขียน และรักการค้นคว้า
               3. มีความรู ้อนเป็ นสากล รู ้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงและความเจริ ญก้าวหน้าทาง
                                 ั
วิทยาการ มีทกษะและศักยภาพในการจัดการ การสื่ อสารและการใช้เทคโนโลยี ปรับวิธีการคิด
             ั
วิธีการทํางานได้เหมาะสมกับสถานการณ์
               4. มีทกษะและกระบวนการ โดยเฉพาะทางคณิ ตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ทักษะการคิด
                      ั
การสร้างปัญญา และทักษะในการดําเนินชีวิต
               5. รักการออกกําลังกาย ดูแลตนเองให้มีสุขภาพและบุคลิกภาพที่ดี
                                                                     ่
               6. มีประสิ ทธิ ภาพในการผลิตและการบริ โภค มีคานิยมเป็ นผูผลิตมากกว่าเป็ น
                                                                               ้
ผูบริ โภค
  ้
               7. เข้าใจในประวัติศาสตร์ ของชาติไทย ภูมิใจในความเป็ นไทย เป็ นพลเมืองดี ยึดมัน     ่
ในวิถีชีวตและการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ นประมุข
         ิ                                                                ์
               8. มีจิตสํานึกในการอนุรักษ์ภาษาไทย ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี กีฬา ภูมิปัญญา
ไทย ทรัพยากรธรรมชาติและพัฒนาสิ่ งแวดล้อม
               9. รักประเทศชาติและท้องถิ่น มุ่งทําประโยชน์และสร้างสิ่ งที่ดีงามให้สังคม
            1.2 ความสาคัญ ธรรมชาติ และลักษณะเฉพาะ
                 กลุ่มสาระการเรี ยนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีเป็ นสาระการเรี ยนรู ้ที่มุ่งพัฒนา
ผูเ้ รี ยนให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับงาน อาชีพ และเทคโนโลยี มีทกษะการทํางาน ทักษะ
                                                                   ั
การจัดการ สามารถนําเทคโนโลยีสารสนเทศและเทคโนโลยีต่างๆ มาใช้ในการทํางานอย่างถูกต้อง
เหมาะสมคุมค่าและมีคุณธรรม มีความคิดสร้างสรรค์ในการสร้างและพัฒนาผลิตภัณฑ์หรื อวิธีการ
               ้
ใหม่ สามารถทํางานเป็ นหมู่คณะ มีนิสัยรักการทํางาน เห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีตองาน ตลอดจน
                                                                               ่
12

มีคุณธรรม จริ ยธรรมและค่านิยมที่เป็ นพื้นฐาน ได้แก่ ความขยัน ซื่ อสัตย์ ประหยัดและอดทน
อันจะนําไปสู่ การให้ผเู ้ รี ยนสามารถช่วยเหลือตนเองและพึ่งตนเองได้ตามพระราชดําริ แบบ
                                     ิ ่
เศรษฐกิจพอเพียง สามารถดํารงชีวตอยูในสังคมได้อย่างมีความสุ ข ร่ วมมือและแข่งขันในระดับ
สากลในบริ บทของสังคมไทย (กรมวิชาการ. 2547 : 1)
          1.3 วิสัยทัศน์ การเรี ยนรู้ ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชี พและเทคโนโลยี
               วิสัยทัศน์ของกลุ่มสาระการเรี ยนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เป็ นสาระการเรี ยนรู้
ที่เน้นกระบวนการทํางานและการจัดการอย่างเป็ นระบบ พัฒนาความคิดอย่างสร้างสรรค์ มีทกษะ             ั
การออกแบบงานและการทํางานอย่างมีกลยุทธ์ โดยใช้ทกษะกระบวนการทางเทคโนโลยี และ
                                                             ั
เทคโนโลยีสารสนเทศ ตลอดจนนําเทคโนโลยีมาใช้และประยุกต์ใช้ในการทํางาน รวมทั้งการสร้าง
และพัฒนาผลิตภัณฑ์หรื อวิธีการใหม่ เน้นการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่ งแวดล้อมและพลังงานอย่าง
ประหยัด คุมค่า เพื่อให้บรรลุวสัยทัศน์ดงกล่าว กลุ่มสาระการเรี ยนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
             ้                   ิ            ั
จึงกําหนดการเรี ยนรู้ที่ยดงานกระบวนการจัดการและการแก้ปัญหาเป็ นสําคัญ บนพื้นฐานของ
                          ึ
การใช้หลักการและทฤษฎีเป็ นหลักในการทํางานและการแก้ปัญหา งานที่นามาฝึ กฝนเพื่อให้บรรลุ
                                                                            ํ
วิสัยทัศน์ของกลุ่มนั้น เป็ นงานเพื่อการดํารงชี วตในครอบครัวและสังคม และงานเพื่อการประกอบ
                                                    ิ
อาชีพ ซึ่ งงานทั้ง 2 ประเภทนี้ เมื่อผูเ้ รี ยนได้รับการฝึ กฝนและปฏิบติตามกระบวนการเรี ยนรู้ของ
                                                                    ั
กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยีแล้ว ผูเ้ รี ยนจะได้รับการปลูกฝังและพัฒนาให้มี
คุณภาพและคุณธรรม การเรี ยนรู ้จากการทํางานและการแก้ปัญหาของกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงาน
อาชีพและเทคโนโลยี จึงเป็ นการเรี ยนรู ้ที่เกิดจากการบูรณาการความรู้ ทักษะและความดีที่หลอม
รวมกันจนก่อเกิดเป็ นคุณลักษณะของผูเ้ รี ยนทั้งด้านคุณภาพและคุณธรรมตามมาตรฐานการเรี ยนรู ้
ที่กาหนด (กรมวิชาการ. 2547 : 1-2)
     ํ
               เพื่อให้บรรลุวสัยทัศน์ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยีจึงกําหนด
                             ิ
วิสัยทัศน์การเรี ยนรู้ โดยยึดการทํางานที่เน้นทักษะในการปฏิบติงาน ให้ผเู้ รี ยนคิดเป็ น ทําเป็ น
                                                                  ั
แก้ปัญหาเป็ นสําคัญ บนพื้นฐานของการใช้หลักการทฤษฎีเป็ นหลักและยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง
        1.4 คุณภาพของผู้เรี ยน
             กลุ่มสาระการเรี ยนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีมุ่งพัฒนาผูเ้ รี ยนแบบองค์รวมเพื่อให้
เป็ นคนดี มีความรู้ความสามารถ ดําเนิ นชีวตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีคุณลักษณะ ที่พึง
                                         ิ
ประสงค์ ดังนี้
13

                 1. มีความรู ้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดํารงชี วตและครอบครัว การอาชีพ การออกแบบ
                                                              ิ
และเทคโนโลยี เทคโนโลยีสารสนเทศ และเทคโนโลยีเพื่อการทํางานและอาชีพ
                 2. มีทกษะในการทํางาน การประกอบอาชีพ การจัดการ การแสวงหาความรู้ เลือกใช้
                        ั
เทคโนโลยีและเทคโนโลยีสารสนเทศในการทํางาน สามารถทํางานอย่างมีกลยุทธ์ สร้างและพัฒนา
ผลิตภัณฑ์หรื อวิธีการใหม่
                 3. มีความรับผิดชอบ ซื่ อสัตย์ ขยัน อดทน รักการทํางาน ประหยัด อดออม ตรงต่อ
เวลา เอื้อเฟื้ อ เสี ยสละและมีวนยในการทํางาน
                                ิ ั
                 4. เห็นคุณค่าความสําคัญของงานและอาชีพสุ จริ ต
                 5. ตระหนักถึงความสําคัญของสารสนเทศ การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่ งแวดล้อมและพลังงาน
                 6. ดํารงชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

                                         พอประมาณ


                             เหตุผล                   มีภูมิคุมกัน
                                                              ้

                                                       ในตัวที่ดี
                  ความรู ้                               คุณธรรม

        (รอบรู ้ รอบคอบ ระมัดระวัง)         (ซื่อสัตย์ สติปัญญา ขยันอดทน แบ่งปัน)




                                      นําไปสู่




                         ชีวต/เศรษฐกิจ/สังคม/สิ่ งแวดล้อม
                            ิ


                                สมดุล/มันคง/ยังยืน
                                        ่     ่
14

         1.5 ความสามารถเมื่อผู้เรี ยนจบช่ วงชั้ นที่ 3
               กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยีน้ ีเมื่อผูเ้ รี ยนจบช่วงชั้นที่ 3 ผูเ้ รี ยนจะต้องมี
ความสามารถดังต่อไปนี้ (กรมวิชาการ. 2544 : 4-5)
               ช่ วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1-3
               มีทกษะการทํางานอาชีพสุ จริ ต มีทกษะการจัดการ ทํางานอย่างเป็ นระบบ และมี
                   ั                                  ั
กลยุทธ์ ทํางานร่ วมกับผูอ่ืนได้ เห็นคุณค่าของงานอาชีพสุ จริ ต เห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ
                             ้
เลือกใช้เทคโนโลยีและเทคโนโลยีสารสนเทศได้เหมาะสมกับงานและถูกต้อง มีคุณธรรม สามารถ
คิด ออกแบบ สร้างและพัฒนาผลิตภัณฑ์หรื อวิธีการใหม่ในการทํางาน ทํางานด้วยความรับผิดชอบ
ขยัน ซื่อสัตย์ ประหยัด อดออม ใช้พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมได้อย่างคุมค่าและ      ้
ถูกวิธี
       1.6 สาระการเรี ยนรู้ ของกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
            สาระที่เป็ นความรู ้ของกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยีประกอบด้วย
(กรมวิชาการ. 2547 : 3-5)
                สาระที่ 1 การดํารงชีวตและครอบครัว
                                        ิ
                สาระที่ 2 การอาชีพ
                สาระที่ 3 การออกแบบและเทคโนโลยี
                สาระที่ 4 เทคโนโลยีสารสนเทศ
                สาระที่ 5 เทคโนโลยีเพื่อการทํางานและอาชีพ
              สาระที่ 4 เทคโนโลยีสารสนเทศ
              เป็ นสาระที่เกี่ยวกับกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ การติดต่อสื่ อสาร การค้นหา
ความรู้ การสื บค้น การใช้ขอมูลและสารสนเทศ การแก้ปัญหาหรื อสร้างงาน คุณค่าและผลกระทบ
                              ้
ของเทคโนโลยีสารสนเทศ
               สาระที่ 5 เทคโนโลยีเพื่อการทํางานและอาชีพ
               เป็ นสาระที่เกี่ยวกับการนําเทคโนโลยีและเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการทํางาน
ที่เกี่ยวกับการดํารงชีวิตและครอบครัว และการอาชีพ
      1.7 มาตรฐานการเรียนรู้ ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชี พและเทคโนโลยี
          สาระที่เป็ นความรู ้ของกลุ่มการงานอาชีพและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี
สารสนเทศประกอบด้วย (กรมวิชาการ. 2544 : 6-15)
15

             สาระที่ 4 : เทคโนโลยีสารสนเทศ
             มาตรฐาน ง 4.1 : เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศใน
การสื บค้นข้อมูล การเรี ยนรู ้ การสื่ อสาร การแก้ปัญหา การทํางานและอาชีพอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
ประสิ ทธิผลและมีคุณธรรม
             สําหรับมาตรฐานการเรี ยนรู ้ช่วงชั้นที่ 3 คือ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1- ปี ที่ 3 ใน
สาระเทคโนโลยีสารสนเทศ มีรายละเอียดดังนี้
             เข้าใจหลักการทํางานบทบาทและประโยชน์ของระบบคอมพิวเตอร์ เข้าใจหลักการ
เบื้องต้นของการสื่ อสารข้อมูลและระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ มีความรู ้พ้ืนฐานทางด้านเทคโนโลยี
สารสนเทศ ประมวลผลข้อมูลให้เป็ นสารสนเทศ เข้าใจหลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วย
กระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ เข้าใจหลักการทําโครงงานที่มีการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ ค้นหาข้อมูล ความรู ้ และติดต่อสื่ อสารผ่านคอมพิวเตอร์ หรื อเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศนําเสนองานในรู ปแบบที่เหมาะสม ใช้คอมพิวเตอร์ ช่วยสร้างชิ้นงานหรื อ
โครงงานจากจินตนาการ หรื องานที่ทาในชีวิตประจําวันอย่างมีจิตสํานึกและมีความรับผิดชอบ
                                         ํ
                สาระที่ 5 : เทคโนโลยีเพือการทางานและอาชีพ
                                        ่
                มาตรฐาน ง 5.1 : ใช้เทคโนโลยีในการทํางาน การผลิต การออกแบบ การแก้ปัญหา
การสร้างงาน การสร้างอาชีพสุ จริ ตอย่างมีความเข้าใจ มีการวางแผนเชิงกลยุทธ์และมีความคิด
สร้างสรรค์
                การศึกษาเอกสารเกี่ยวกับหลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 กลุ่มสาระ
การเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยีน้ ี ทําให้ได้หลักการเกี่ยวกับมาตรฐานการเรี ยนรู ้ต่างๆ
การจัดเวลาเรี ยนและมาตรฐานการเรี ยนรู ้ของแต่ละช่วงชั้น โดยเฉพาะอย่างยิงมาตรฐานการเรี ยนรู ้
                                                                         ่
ของช่วงชั้นที่ 3 สําหรับสาระเทคโนโลยีสารสนเทศและมาตรฐานประจําสาระเทคโนโลยี
สารสนเทศ เพื่อนําผลการศึกษาเอกสารนี้ไปเป็ นแนวทางการสร้างหลักสู ตรสถานศึกษา
16

2. หลักสู ตรสถานศึกษา รายวิชา ง32111 เทคโนโลยีสารสนเทศ 8 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2
        การจัดทําหลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ของกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้
การงานอาชีพและเทคโนโลยี เป็ นการจัดการศึกษาเพื่อให้ผเู้ รี ยนมีความรู้ ทักษะ กระบวนการ
คุณธรรม จริ ยธรรมและค่านิ ยมที่จะพัฒนาคุณภาพของผูเ้ รี ยนให้เป็ นคนดี มีปัญญา มีคุณภาพที่ดี มี
ความสามารถในด้านศักยภาพของผูเ้ รี ยนให้สูงขึ้น สามารถดํารงชีวตอย่างมีความสุ ขได้บนพื้นฐาน
                                                                ิ
ของความเป็ นไทยและความเป็ นสากล สอดคล้องกับความสามารถ ทักษะ ความรู ้ของผูเ้ รี ยนเป็ น
สําคัญและความเหมาะสมกับสภาพท้องถิ่น ชุมชน ซึ่ งมีรายละเอียด ดังนี้ (กลุ่มการงานอาชีพและ
เทคโนโลยี. 2546 : 1)
           2.1 การจัดทาหลักสู ตรกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ การงานอาชี พและเทคโนโลยี
                 การจัดหลักสู ตรกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยีในส่ วนที่เป็ นสาระ
การเรี ยนรู ้พ้ืนฐานสําหรับแต่ละช่วงชั้นมีดงนี้ คือ (กรมวิชาการ. 2545 : 41-44)
                                            ั
                 1. ในช่วงชั้นของแต่ละช่วงชั้น ต้องจัดให้ครบทั้ง 5 สาระ ยกเว้นช่วงชั้นที่ 1 ไม่ตอง    ้
จัดสาระที่ 2 การอาชีพ
                 2. สาระที่ 4 เทคโนโลยีสารสนเทศ ทุกช่วงชั้นต้องจัดให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้เกี่ยวกับ
ข้อมูลสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่ อสารข้อมูลและเครื อข่าย หลักการแก้ปัญหาหรื อ
สร้างงาน หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ การจัดการเรี ยนรู ้เน้นการนําเอากระบวนการ
เทคโนโลยีสารสนเทศ อันได้แก่ การรวบรวมข้อมูล การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล การจัดการ และประมวลผลข้อมูลเพื่อให้ได้สารสนเทศสําหรับนํามาใช้ใน
การตัดสิ นใจ ตลอดจนเก็บรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์สานักงาน มีการนําเอาความรู้และ
                                                                 ํ
ทักษะเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศไปบูรณาการกับทั้ง 5 งาน ของสาระที่ 1
                 3. สาระที่ 5 เทคโนโลยีเพื่อการทํางานและอาชีพ ทุกช่วงชั้นต้องจัดให้ผเู ้ รี ยนได้
เรี ยนรู้ เน้นการนําเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการทํางานที่เกี่ยวกับการดํารงชีวิตและ
ครอบครัว และการอาชีพ การจัดการเรี ยนรู ้สามารถบูรณาการไปกับการปฏิบติงานทั้ง 5 งาน ของ
                                                                               ั
สาระที่ 1 รวมทั้งสาระที่ 2 สาระที่ 3 และสาระที่ 4
      2.2 คุณภาพของผู้เรี ยนสาระเทคโนโลยีสารสนเทศ
          สาระเทคโนโลยีสารสนเทศ มุ่งพัฒนาผูเ้ รี ยนแบบองค์รวมเพื่อให้เป็ นคนดี มีความรู ้
ความสามารถ โดยมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ดงนี้ (กรมวิชาการ. 2547 : 161-162)
                                       ั
17

                  มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ มีทกษะในการ
                                                                              ั
ทํางานโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่ อสาร การค้นหาความรู้ การสื บค้น การใช้ขอมูล  ้
และสารสนเทศ การแก้ปัญหาหรื อสร้างงาน ตระหนักถึงคุณค่า ความสําคัญ และผลกระทบของ
เทคโนโลยี
                  มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์ ขยัน อดทน รักการทํางาน ประหยัด อดออม ตรงต่อเวลา
เอื้อเฟื้ อ เสี ยสละ และมีวนยในการทํางาน การอนุ รักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่ งแวดล้อม และ
                             ิ ั
พลังงาน
              เมื่อจบช่ วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1- 3 ผู้เรียนต้ องมีความสามารถดังต่ อไปนี้
              มีความรู ้พ้นฐานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เข้าใจหลักการเบื้องต้นของการ
                          ื
สื่ อสารข้อมูลและระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ สามารถประมวลผลข้อมูลให้เป็ นสารสนเทศ เข้าใจ
หลักการ วิธีการแก้ปัญหา และหลักการทําโครงงานด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ ใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศค้นหาข้อมูล ความรู ้ ติดต่อสื่ อสาร นําเสนองานสร้างชิ้นงานหรื อโครงงาน
จากจินตนาการ หรื องานที่ทาในชีวตประจําวันอย่างมีจิตสํานึกและมีความรับผิดชอบ
                              ํ        ิ
18

          ผังมโนทัศน์ สาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ช่ วงชั้นที่ 3
                              ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 - 3
(กรมวิชาการ : 2546) ประเด็นสําคัญ 1. ช่วงชั้นที่ 3 ต้องจัดให้เรี ยนรู ้ครบทั้ง 5 สาระ
                                         2. สาระที่ 1 การดํารงชีวตและครอบครัว ช่วงชั้นนี้ ตองจัด
                                                                 ิ                         ้
ให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้ครบทั้ง 5 งาน



               สาระที่ 3 การออกแบบ                                  สาระที่ 4 เทคโนโลยี
                  และเทคโนโลยี                                          สารสนเทศ



                                          การงานอาชีพ
                                          และเทคโนโลยี


            สาระที่ 2 การอาชีพ                                              สาระที่ 5 เทคโนโลยี
                                                                          เพื่อการทํางานและอาชีพ

                                               สาระที่ 1
                                       การดํารงชีวตและครอบครัว
                                                  ิ



        งานบ้าน             งานเกษตร              งานช่าง               งานประดิษฐ์          งานธุรกิจ




     งานบ้าน           งานผ้า          งานอาหาร               พืช               สัตว์
19

        2.3 มาตรฐานการเรียนรู้ ช่วงชั้ น
             สาระที่ 4 เทคโนโลยีสารสนเทศ
             มาตรฐาน ง 4.1 เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศใน
การสื บค้นข้อมูล การเรี ยนรู้ การสื่ อสาร การแก้ปัญหา การทํางานและอาชีพอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
ประสิ ทธิผลและมีคุณธรรม
                                   มาตรฐานการเรียนรู้ ช่วงชั้ น
                    ม. 1 – ม. 3                                         ม. 4 – ม. 6
1.   เข้าใจหลักการทํางาน บทบาท และ                1. เข้าใจหลักการและวิธีการของเทคโนโลยี
     ประโยชน์ของระบบคอมพิวเตอร์                       สารสนเทศ
2.   เข้าใจหลักการเบื้องต้นของการสื่ อสารข้อมูล   2. เข้าใจองค์ประกอบและหลักการทํางานของ
     และระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์                     คอมพิวเตอร์
3.   มีความรู ้พ้นฐานทางด้านเทคโนโลยี
                 ื                                3. เข้าใจระบบคอมพิวเตอร์ ระบบสื่ อสารข้อมูล
     สารสนเทศ                                        และระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์
4.   ประมวลผลข้อมูลให้เป็ นสารสนเทศ               4. เข้าใจข้อกําหนดของคอมพิวเตอร์ และ
                                                     อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
5.   เข้าใจหลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วย          5. จัดเก็บและบํารุ งรักษาสารสนเทศให้ถูกต้อง
     กระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ                    และเป็ นปั จจุบนอยูเ่ สมอ
                                                                      ั
6.   เข้าใจหลักการทําโครงงานที่มีการใช้        3. 6. เข้าใจหลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วย
     เทคโนโลยีสารสนเทศ                                กระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง
                                                      มีประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผล
7.    ค้นหาข้อมูล ความรู้ และติดต่อสื่ อสารผ่าน 7. เข้าใจหลักการพัฒนาโครงงานที่มีการใช้
      คอมพิวเตอร์ หรื อเครื อข่ายคอมพิวเตอร์         เทคโนโลยีสารสนเทศ
8.   ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนําเสนองานใน             8. ใช้ฮาร์ ดแวร์ และซอฟต์แวร์ ให้เหมาะสมกับ
     รู ปแบบที่เหมาะสม                                งาน
9.   ใช้คอมพิวเตอร์ ช่วยสร้างชิ้นงานหรื อ         9. ติดต่อสื่ อสาร ค้นหาข้อมูล และหาความรู้
     โครงงานจากจินตนาการหรื องานที่ทาใน   ํ           ผ่านเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ อย่างมี
     ชีวตประจําวันอย่างมีจิตสํานึกและมีความ
         ิ                                            ประสิ ทธิภาพ
     รับผิดชอบ
20

                                  มาตรฐานการเรียนรู้ ช่วงชั้ น
                  ม. 1 – ม. 3                                      ม. 4 – ม. 6
                                                 10. ใช้คอมพิวเตอร์ ช่วยในการประมวลผล
                                                     ข้อมูลให้เป็ นสารสนเทศเพื่อประกอบการ
                                                      ตัดสิ นใจ
                                                 11. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนําเสนองานใน
                                                     รู ปแบบที่เหมาะสมตรงตามวัตถุประสงค์
                                                     ของงาน
                                                 12. ใช้คอมพิวเตอร์ สร้างงานอย่างมีจิตสํานึก
                                                     และมีความรับผิดชอบ

            สาระที่ 5 เทคโนโลยีเพือการทางานและอาชีพ
                                   ่
            มาตรฐาน ง 5.1 ใช้เทคโนโลยีในการทํางาน การผลิต การออกแบบ การแก้ปัญหา
การสร้างงาน การสร้างอาชีพสุ จริ ต อย่างมีความเข้าใจ มีการวางแผนเชิงกลยุทธ์ และมีความคิด
สร้างสรรค์
                                  มาตรฐานการเรียนรู้ ช่วงชั้ น
                 ม. 1 – ม. 3                                     ม. 4 – ม. 6
1. วางแผน เลือก และใช้เทคโนโลยีอย่าง             1. การวางแผน เลือกและนําเทคโนโลยีไปใช้
   สร้างสรรค์ และเหมาะสมสําหรับงาน                  ในการผลิต การออกแบบ และการบริ การ
                                                    การสร้างงานอาชีพที่สุจริ ต

             ดังนั้นแนวทางการจัดทําสาระของหลักสู ตรกลุ่มสาระการเรี ยนรู้การงานอาชีพและ
เทคโนโลยีมีข้ นตอนการดําเนินการดังนี้ (กรมวิชาการ. 2545 : 51-53)
              ั
             1. กําหนดสาระการเรี ยนรู ้ช่วงชั้น เป็ นการวิเคราะห์รายละเอียดจากขอบข่ายสาระ
12 ปี ของ 5 สาระ เป็ นสาระการเรี ยนรู ้ช่วงชั้น 4 ช่วงชั้น ทั้งนี้ให้สอดคล้องกับสภาพปั ญหาและ
ความต้องการของผูเ้ รี ยนท้องถิ่นและชุมชน
             2. กําหนดสาระการเรี ยนรู ้รายปี /รายภาค เป็ นการวิเคราะห์จากสาระการเรี ยนรู ้ช่วง
ชั้น โดยนํามาจัดทําเป็ นสาระการเรี ยนรู ้รายปี หรื อรายภาค ให้สอดคล้องกับสภาพปั ญหาและ
ความต้องการของผูเ้ รี ยนท้องถิ่นและชุมชน
21

                3. กําหนดผลการเรี ยนรู ้ที่คาดหวังรายปี หรื อรายภาค เป็ นการวิเคราะห์จากมาตรฐาน
การเรี ยนรู ้ช่วงชั้นที่กาหนดไว้ในแต่ละช่วงชั้นมาจัดเป็ นผลการเรี ยนรู ้ท่ีคาดหวังรายปี หรื อรายภาค
                         ํ
ที่มีการระบุถึงความรู้ความสามารถของผูเ้ รี ยน ซึ่ งจะเกิดขึ้นหลังจากการเรี ยนรู ้ในแต่ละปี หรื อภาค
และความรู ้ความสามารถที่วเิ คราะห์และกําหนดไว้ในแต่ละปี นี้ เมื่อครบ 3 ปี แล้วต้องมีคุณภาพ
                            ํ
ตามมาตรฐานช่วงชั้นที่กาหนดไว้ในแต่ละมาตรฐาน
                4. จัดทําคําอธิบายรายวิชา เป็ นการนําเอาผลการเรี ยนรู้ที่คาดหวังรายปี หรื อรายภาค
สาระการเรี ยนรู ้รายปี หรื อรายภาค และเวลาเรี ยนสําหรับแต่ละปี หรื อแต่ละภาคมาเรี ยบเรี ยงเขียน
เป็ นคําอธิบายรายวิชา
                5. จัดทําหน่วยการเรี ยนรู ้ เป็ นการนําเอาสาระการเรี ยนรู้รายปี หรื อรายภาคจาก
คําอธิ บายรายวิชามากําหนดเป็ นหน่วยการเรี ยนรู ้หน่วยย่อยๆ เพื่อให้เกิดความสะดวกในการจัด
การเรี ยนรู ้ หน่วยการเรี ยนรู ้แต่ละหน่วยนั้น อาจเป็ นการบูรณาการภายในกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ต้ งแต่
                                                                                                 ั
สาระที่ 1-5 หรื ออาจบูรณาการกับกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้อื่น ๆ
                6. จัดทําแผนการจัดการเรี ยนรู้ เป็ นการนําหน่วยการเรี ยนรู ้หน่วยย่อยมาจัดทํา
รายละเอียดเป็ นแผนการจัดการเรี ยนรู ้เพื่อเตรี ยมการก่อนที่จะดําเนินการสอนต่อไป
         2.4 โครงสร้ างหลักสู ตรเทคโนโลยี ช่ วงชั้นที่ 3 โรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรี
                                                                                    นาหนัก/ จานวน
                                                                                     ้
รหัสวิชา                     ชื่อวิชา                   สาระ       ช่ วงชั้นที่ 3
                                                                                    หน่ วยกิต ชั่วโมง/ปี
ง31111       เทคโนโลยีสารสนเทศ 7                       พื้นฐาน         ม.1             1.0        40

ง32111       เทคโนโลยีสารสนเทศ 8                       พื้นฐาน         ม.2            1.0          40

ง33111       เทคโนโลยีสารสนเทศ 9                       พื้นฐาน         ม.3            1.0          40

ง30271       ตารางการทํางาน                            เพิมเติม
                                                          ่           ม.ต้น           2.0          80

ง30272       งานกราฟ การนําเสนอข้อมูล                  เพิ่มเติม      ม.ต้น           2.0          80

ง30273       การจัดข้อมูลเบื้องต้น                     เพิ่มเติม      ม.ต้น           2.0          80
22

        2.5 การจัดทารายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2
            การจัดทํารายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 นี้ ทางคณะกรรมการ
กลุ่มการงานอาชีพและเทคโนโลยีได้ร่วมกันจัดทําขึ้น โดยได้ทาการศึกษาและวิเคราะห์ขอบข่าย
                                                        ํ
สาระเทคโนโลยีสารสนเทศ 12 ปี และมาตรฐานการเรี ยนรู ้ช่วงชั้นที่ 3 ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
             2.5.1. การจัดทาสาระการเรี ยนรู้ ช่วงชั้ น
                    การจัดทําสาระการเรี ยนรู ้ช่วงชั้นที่ 3 ได้ทาการวิเคราะห์ขอบข่ายสาระ
                                                                ํ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 12 ปี มีรายละเอียดของขอบข่ายสาระเทคโนโลยีสารสนเทศดังนี้
(กรมวิชาการ. 2547: 162-163)
                    1. ข้อมูลและสารสนเทศ
                        แหล่งข้อมูล
                        ความหมายและประโยชน์ของข้อมูล
                        การรวบรวมข้อมูล
                        ประเภทของข้อมูล
                        การจัดเก็บในรู ปแบบที่เหมาะสม
                        การประมวลผลข้อมูลให้เป็ นสารสนเทศ
                        การเก็บบํารุ งรักษาข้อมูล
                        ซอฟต์แวร์ ช่วยประมวลผลข้อมูล
                    2. เทคโนโลยีสารสนเทศ
                        องค์ประกอบของการผลิตสารสนเทศ
                        บทบาทและประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศ
                        ส่ วนประกอบและอุปกรณ์ของเครื่ องคอมพิวเตอร์
                        หลักการทํางานของเครื่ องคอมพิวเตอร์
                        ซอฟต์แวร์
                        คอมพิวเตอร์ระบบมัลติมีเดีย
                        จริ ยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
                    3. การสื่ อสารข้อมูลและเครื อข่าย
                        การสื่ อสารข้อมูล
                        ส่ วนประกอบของเครื อข่ายคอมพิวเตอร์
23

                         เครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต
                         การค้นหาและสื บค้นข้อมูล
                         การติดต่อสื่ อสารเครื อข่ายคอมพิวเตอร์
                   4.   หลักการแก้ปัญหาหรื อสร้างงาน
                         หลักการคิดคํานวณพื้นฐานในการประมวลผลข้อมูล
                         หลักการเบื้องต้นในการแก้ปัญหา
                         ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมและภาษาโปรแกรม
                         การใช้งานซอฟต์แวร์สาเร็ จ
                                                  ํ
                         ตรรกะ ระบบเลขฐานสอง และวงจรตรรกะ
                   5.   การสร้างงาน
                         การนําเสนอข้อมูล
                         การวางแผนงาน
                         การสร้างงานตามวัตถุประสงค์ของงาน
                         การจัดทําคู่มือ
                         การบํารุ งรักษาโปรแกรมและข้อมูล
                   6.   หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
                         กลไกการทํางาน
                         รู ปแบบการทํางาน
                         ภาษาคอมพิวเตอร์ระดับตํ่า
                   7.   การจัดการข้อมูล
                         การจัดการข้อมูลเบื้องต้น
                         โครงสร้างข้อมูล
                         การจัดการฐานข้อมูล

                       สาหรับสาระการเรี ยนรู้ ช่วงชั้ นที่ 3 มีรายละเอียดดังต่อไปนี้
                       สาระที่ 4 : เทคโนโลยีสารสนเทศ
                       มาตรฐาน ง 4.1 : เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยี
สารสนเทศในการสื บค้นข้อมูลการเรี ยนรู้ การสื่ อสาร การแก้ปัญหา การทํางานและอาชีพอย่างมี
ประสิ ทธิภาพ ประสิ ทธิผล และมีคุณธรรม (กลุ่มการงานอาชีพและเทคโนโลยี. 2546 : 119-120)
24

                           ตารางสาระและมาตรฐานการเรี ยนรู้ ช่วงชั้ น

    มาตรฐานการเรียนรู้ ช่วงชั้ น ม.1 – ม.3           สาระการเรี ยนรู้ ช่วงชั้ น ม. 1 – ม. 3
1. เข้าใจหลักการทํางาน บทบาท และ              1. หลักการทํางาน บทบาทและประโยชน์ของ
   ประโยชน์ของระบบคอมพิวเตอร์                    ระบบคอมพิวเตอร์
2. เข้าใจหลักการเบื้องต้นของการสื่ อสาร       2. หลักการเบื้องต้นของการสื่ อสารข้อมูล
   ข้อมูลและระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์         3. หลักการเบื้องต้นของระบบเครื อข่าย
                                                 คอมพิวเตอร์
                                              4. การติดต่อสื่ อสารผ่านเครื อข่าย
3. มีความรู ้พ้นฐานทางด้านเทคโนโลยี
               ื                              5. ความรู ้พ้ืนฐานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
   สารสนเทศ                                      - ความหมาย ความสําคัญ บทบาท และ
                                                   ประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อ
                                                   การดํารงชีวตประจําวัน
                                                                ิ
                                                 - ข้อมูลและสารสนเทศ
4. ประมวลผลข้อมูลให้เป็ นสารสนเทศ             6. ความหมายและวิธีการประมวลผลข้อมูล
5. เข้าใจหลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วย        7. หลักการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทาง
   กระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ                  เทคโนโลยีสารสนเทศ
                                              8. วิธีการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทาง
                                                  เทคโนโลยีสารสนเทศ
                                              9. การใช้คอมพิวเตอร์ ช่วยสร้างชิ้นงานหรื อ
                                                  โครงงาน
                                              10. การนําคอมพิวเตอร์ มาช่วยการทํางานใน
                                                   ชีวตประจําวัน
                                                      ิ
6. เข้าใจหลักการทําโครงงานที่มีการใช้         11. หลักการทําโครงงานที่มีการใช้เทคโนโลยี
   เทคโนโลยีสารสนเทศ                              สารสนเทศ
7. ค้นหาข้อมูล ความรู้ และติดต่อสื่ อสาร      12. การค้นหาข้อมูล ความรู้และการติดต่อสื่ อสาร
    ผ่านคอมพิวเตอร์ หรื อเครื อข่าย              ผ่านคอมพิวเตอร์ หรื อเครื อข่ายคอมพิวเตอร์
    คอมพิวเตอร์
25

    มาตรฐานการเรียนรู้ ช่วงชั้ น ม.1 – ม.3                 สาระการเรี ยนรู้ ช่วงชั้ น ม. 1 – ม. 3
8. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนําเสนองานใน               13. การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ นําเสนองานใน
   รู ปแบบที่เหมาะสม                                  รู ปแบบที่เหมาะสม
                                                         - การใช้โปรแกรมช่วยสร้างงานกราฟิ ก
                                                         - การใช้โปรแกรมประมวลผลคําช่วยสร้าง
                                                           งานพิมพ์
                                                         - การใช้โปรแกรมช่วยสร้างงานนําเสนอ
                                                            ข้อมูล
9. ใช้คอมพิวเตอร์ ช่วยสร้างชิ้นงานหรื อ           14. การใช้คอมพิวเตอร์ ช่วยสร้างงานหรื อ
   โครงงานจากจินตนาการหรื องานที่ทาใน   ํ             โครงงาน
   ชีวตประจําวันอย่างมีจิตสํานึกและมีความ
      ิ                                           15. มีจิตสํานึกและมีความรับผิดชอบในการใช้
   รับผิดชอบ                                          คอมพิวเตอร์

                   2.5.2 การจัดทาสาระการเรียนรู้ รายปี /รายภาค
                         ในส่ วนของการจัดทําสาระการเรี ยนรู ้รายภาคของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษา
ปี ที่ 2 นี้ ได้ดาเนินการวิเคราะห์จากสาระการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยนช่วงชั้นที่ 3 ซึ่ งรายละเอียดของ
                 ํ
สาระการเรี ยนรู ้รายภาคของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 มีดงนี้ คือ (กลุ่มการงานอาชี พและ
                                                                ั
เทคโนโลยี. 2546 : 121-122)
                         สาระที่ 4 : เทคโนโลยีสารสนเทศ
                         มาตรฐาน ง 4.1 : เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยี
สารสนเทศในการสื บค้นข้อมูล การเรี ยนรู ้ การสื่ อสาร การแก้ปัญหา การทํางานและอาชีพอย่างมี
ประสิ ทธิภาพ ประสิ ทธิผล และมีคุณธรรม
                         1. องค์ประกอบของการผลิตสารสนเทศ
                         2. การจัดเตรี ยมข้อมูล
                         3. การประมวลผลข้อมูลเพื่อให้เป็ นสารสนเทศ
                         4. การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ
                         5. การสื บค้นข้อมูลสารสนเทศ
                         6. จริ ยธรรมในการใช้ขอมูลสารสนเทศ
                                                ้
                                          ั
                         7. คอมพิวเตอร์ กบบทบาทด้านสารสนเทศ
26

                      8. องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
                      9. การทํางานของระบบคอมพิวเตอร์
                      10. โปรแกรมระบบปฏิบติการ    ั
                      11. โปรแกรมสําเร็ จรู ป
                      12. ความหมายของการสื่ อสารและการสื่ อสารข้อมูล
                      13. เทคนิคและช่องทางการถ่ายทอดข้อมูล
                      14. ลักษณะและวิธีการสื่ อสาร
                      15. ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์
                      16. ชนิด ลักษณะ และประโยชน์ของระบบเครื อข่าย
                      17. บทบาทและความสําคัญของการจัดการข้อมูล
                      18. ประเภทของข้อมูล
                      19. หลักการจัดการข้อมูล
                      20. การพัฒนาแฟ้ มข้อมูล
                      21. ฐานข้อมูล
                      22. โปรแกรมสําเร็ จรู ปในการจัดการฐานข้อมูล
                      23. ความรู ้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์ เน็ต
                      24. การใช้งานอินเทอร์ เน็ตเพื่อการสื่ อสารและสื บค้นสารสนเทศ
                      25. ประโยชน์และข้อควรระวังเกี่ยวกับการใช้อินเทอร์ เน็ต
                      26. การจัดทําเว็บเพจเบื้องต้น
                      27. แนวทางในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการทํางาน
                      28. หลักในการแก้ไขปั ญหา
                      29. หลักและขั้นตอนในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อแก้ไขปั ญหา
                2.5.3 การจัดทาผลการเรียนรู้ ทคาดหวังรายปี /รายภาค
                                               ี่
                        ในส่ วนของการจัดทําผลการเรี ยนรู้ที่คาดหวังรายปี ของนักเรี ยนชั้น
มัธยมศึกษาปี ที่ 2 นี้ ได้ดาเนินการวิเคราะห์จากมาตรฐานการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยนช่วงชั้นที่ 3 ซึ่ ง
                           ํ
รายละเอียดของผลการเรี ยนรู้ที่คาดหวังรายปี ของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 มีดงนี้คือ
                                                                                    ั
27

   ตารางวิเคราะห์ ความสั มพันธ์ ระหว่ างมาตรฐานการเรียนรู้ และผลการเรี ยนรู้ ทคาดหวังรายปี
                                                                              ี่
                                      ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2

   มาตรฐานการเรียนรู้ ช่วงชั้ น ม.1 – ม.3           ผลการเรียนรู้ ทคาดหวังรายปี ชั้ น ม. 2
                                                                   ี่
1. เข้าใจหลักการทํางาน บทบาท และ            1. มีความรู ้และเข้าใจเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ กบั
   ประโยชน์ของระบบคอมพิวเตอร์                   บทบาทของสารสนเทศ องค์ประกอบและการ
                                                ทํางานของระบบคอมพิวเตอร์
                                            2. มีความรู้และเข้าใจโปรแกรมระบบปฏิบติการ  ั
                                               โปรแกรมสําเร็ จรู ป
2. เข้าใจหลักการเบื้องต้นของการสื่ อสาร     3. มีความรู้และเข้าใจหลักการเบื้องต้นของการ
   ข้อมูลและระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์          สื่ อสารความหมายของการสื่ อสารและวิธีการ
                                               สื่ อสาร
                                            4. มีความรู ้และเข้าใจเทคนิคและช่องทางการ
                                                ถ่ายทอดข้อมูล
                                            5. มีความรู้และเข้าใจลักษณะและวิธีการสื่ อสาร
                                                ระบบเครื อข่าย ชนิด ลักษณะและประโยชน์
                                                ของระบบเครื อข่าย
                                            6. เห็นประโยชน์ของระบบเครื อข่าย
3. มีความรู ้พ้นฐานทางด้านเทคโนโลยี
               ื                            7. มีความรู้พ้ืนฐานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
   สารสนเทศ                                 8. มีความรู้และเข้าใจองค์ประกอบของการผลิต
                                               สารสนเทศ
                                            9. มีจิตสํานึกของจริ ยธรรมในการใช้ขอมูล ้
                                               สารสนเทศ
4. ประมวลผลข้อมูลให้เป็ นสารสนเทศ           10. มีความรู้และเข้าใจการจัดเตรี ยมข้อมูล
                                                การประมวลผลข้อมูลให้เป็ นสารสนเทศ
                                            11. มีความรู ้และเข้าใจการจัดเก็บและการสื บค้น
                                                 ข้อมูลสารสนเทศ
                                            12. มีความรู้และเข้าใจบทบาทความสําคัญ
                                                หลักการของการจัดการข้อมูล
28

  มาตรฐานการเรียนรู้ ช่วงชั้ น ม.1 – ม.3          ผลการเรียนรู้ ทคาดหวังรายปี ชั้ น ม. 2
                                                                  ี่
                                          13. มีความรู้และเข้าใจประเภทข้อมูล
                                          14. มีความรู้และเข้าใจวิธีการพัฒนาแฟ้ มข้อมูลและ
                                              ฐานข้อมูล
                                          15. มีความรู้เรื่ องชนิดของโปรแกรมสําเร็ จรู ปที่ใช้
                                              ในการจัดการฐานข้อมูล
5. เข้าใจหลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วย 16. มีความรู้และเข้าใจแนวทางการใช้เทคโนโลยี
   กระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ              สารสนเทศในการทํางาน
                                          17. มีความรู ้และเข้าใจหลักในการแก้ปัญหา
                                          18. มีความรู ้และเข้าใจหลักและขั้นตอนในการใช้
                                              เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อแก้ปัญหา
                                          19. สามารถนําคอมพิวเตอร์ มาช่วยการทํางานใน
                                              ชีวตประจําวัน
                                                  ิ
6. เข้าใจหลักการทําโครงงานที่มีการใช้     20. ทําโครงงานต่างๆ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
   เทคโนโลยีสารสนเทศ                          มาช่วยในการสร้างงาน
7. ค้นหาข้อมูล ความรู้ และติดต่อสื่ อสาร  21. มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับระบบอินเทอร์เน็ต
    ผ่านคอมพิวเตอร์ หรื อเครื อข่าย       22. สามารถใช้งานอินเทอร์เน็ตเพื่อการสื่ อสารและ
    คอมพิวเตอร์                               สื บค้นสารสนเทศ
                                          23. มีความรู้และเข้าใจประโยชน์และข้อควรระวังใน
                                              การใช้อินเทอร์เน็ต
8. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนําเสนองานใน 24. การนําเสนอข้อมูลในรู ปแบบสื่ อเทคโนโลยี
    รู ปแบบที่เหมาะสม                         สารสนเทศ
9. ใช้คอมพิวเตอร์ ช่วยสร้างชิ้นงานหรื อ   25. นําคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้ในการสร้าง
   โครงงานจากจินตนาการหรื องานที่ทา     ํ     ชิ้นงานหรื อโครงงาน
   ในชีวตประจําวันอย่างมีจิตสํานึกและมี 26. มีจิตสํานึกและมีความรับผิดชอบในการใช้
         ิ
   ความรับผิดชอบ                              คอมพิวเตอร์
29

        2.6 วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2
                 2.6.1 คาอธิบายรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2
                           จากการวิเคราะห์ขอบข่ายสาระเทคโนโลยีสารสนเทศ 12 ปี และมาตรฐาน
การเรี ยนรู ้ช่วงชั้นที่ 3 ซึ่ งได้ดาเนินการวิเคราะห์เป็ นขั้นตอนโดยเริ่ มจากการจัดทําสาระการเรี ยนรู ้
                                    ํ
ช่วงชั้นที่ 3 สาระการเรี ยนรู ้รายปี หรื อรายภาค และจัดทําผลการเรี ยนรู ้ที่คาดหวังรายปี หรื อรายภาค
ซึ่งรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 2 นี้ใช้สอนนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 มีเวลาเรี ยนทั้งสิ้ น 40
คาบ คาบละ 50 นาที โดยมีรายละเอียดของคําอธิบายรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 2 ดังนี้
(โครงสร้างหลักสู ตรกลุ่มการงานอาชีพและเทคโนโลยี. 2546 : 138)
                        มุ่งเน้นให้ผเู ้ รี ยนเข้าใจ และเห็นคุณค่าการสื่ อสารข้อมูล ประเภทและอุปกรณ์
ของเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ หลักการเบื้องต้นและการใช้อินเทอร์ เน็ต การติดต่อสื่ อสารผ่าน
คอมพิวเตอร์ หรื อระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ การค้นหาข้อมูลผ่านคอมพิวเตอร์ หรื อระบบเครื อข่าย
คอมพิวเตอร์ หรื อคอมพิวเตอร์ระบบมัลติมีเดีย การใช้โปรแกรมนําเสนอในรู ปแบบที่เหมาะสม
เพื่อให้เกิดทักษะในการสื่ อสารและสื บค้นข้อมูลอย่างมีจิตสํานึก และใช้พลังงานอย่างคุมค่า     ้
                2.6.2 วัตถุประสงค์ ของรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2
                       ในส่ วนของวัตถุประสงค์ของรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้นมัธยมศึกษา
ปี ที่ 2 มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ (โครงสร้างหลักสู ตรกลุ่มการงานอาชีพและเทคโนโลยี. 2546)
                        เพื่อให้เข้าใจหลักการทํางาน บทบาทและประโยชน์ของระบบคอมพิวเตอร์
หลักการเบื้องต้นของการสื่ อสารข้อมูลและระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ มีความรู ้พ้ืนฐานทางด้าน
เทคโนโลยีสารสนเทศ ประมวลผลข้อมูลให้เป็ นสารสนเทศ หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วย
กระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หลักการทําโครงงานที่มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ค้นหาข้อมูลและติดต่อสื่ อสารผ่านคอมพิวเตอร์ หรื อเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศนําเสนองานในรู ปแบบที่เหมาะสม ใช้คอมพิวเตอร์ ช่วยสร้างงานหรื อโครงงานจาก
จินตนาการหรื อที่ทาในชี วตประจําวันอย่างมีจิตสํานึกและมีความรับผิดชอบ
                     ํ       ิ
30

                            การวิเคราะห์ คาอธิบายรายวิชา
 กิจกรรม               เนือหาสาระ
                          ้                                 ผลการเรียนรู้ ทคาดหวัง
                                                                           ี่
1. เข้าใจ                                     ด้ านความรู้ (พุทธพิสัย)
            1. องค์ประกอบของการผลิต           1. มีความรู้องค์ประกอบของการผลิต
               สารสนเทศ                           สารสนเทศ
            2. การจัดเตรี ยมข้อมูล            2. มีความรู้และเข้าใจการจัดเตรี ยมข้อมูล
            3. การประมวลผลข้อมูลเพื่อให้เป็ น 3. มีความรู้การประมวลผลข้อมูลให้เป็ น
               สารสนเทศ                            สารสนเทศ
            4. การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ       4. มีความรู ้และเข้าใจการจัดเก็บข้อมูล
                               ั
            5. คอมพิวเตอร์ กบบทบาทด้าน            สารสนเทศ
               สารสนเทศ                       5. มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
            6. องค์ประกอบของระบบ                  กับบทบาทของสารสนเทศ
               คอมพิวเตอร์                    6. มีความรู้และเข้าใจองค์ประกอบของ
            7. การทํางานของระบบ                   คอมพิวเตอร์
               คอมพิวเตอร์                    7. มีความรู้ความเข้าใจการทํางานของระบบ
            8. โปรแกรมระบบปฏิบติการ    ั           คอมพิวเตอร์
            9. โปรแกรมสําเร็ จรู ป             8. มีความรู้ความเข้าใจโปรแกรม
            10. ความหมายของการสื่ อสารและ         ระบบปฏิบติการ
                                                              ั
                การสื่ อสารข้อมูล              9. รู้ลกษณะของโปรแกรมสําเร็ จรู ปแต่ละชนิด
                                                       ั
            11. เทคนิคและช่องทางการถ่ายทอด 10. มีความรู้เข้าใจความหมายของการสื่ อสาร
                ข้อมูล                             และการสื่ อสารข้อมูล
            12. ลักษณะและวิธีการสื่ อสาร      11. มีความรู้และเข้าใจเทคนิ คและช่องทาง
            13. ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์          การถ่ายทอดข้อมูล
            14. ความรู ้เบื้องต้นเกี่ยวกับ    12. มีความรู้และเข้าใจลักษณะและวิธีการ
                อินเทอร์ เน็ต                      สื่ อสาร
            15. หลักการจัดการข้อมูล           13. มีความรู ้และเข้าใจ ระบบเครื อข่าย
                                              14. มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับระบบ
                                                   อินเทอร์ เน็ตเบื้องต้น
                                              15. มีความรู้และเข้าใจหลักการจัดการข้อมูล
31

 กิจกรรม                 เนือหาสาระ
                            ้                               ผลการเรียนรู้ ทคาดหวัง
                                                                           ี่
2. ปฏิบติ
       ั                                      ด้ านทักษะ (ทักษะพิสัย)
            16. การสื บค้นข้อมูลสารสนเทศ      16. สามารถสื บค้นข้อมูลสารสนเทศ
                หลักในการแก้ไขปั ญหา          17. สามารถนําคอมพิวเตอร์ มาช่วยการ
            17. แนวทางในการใช้เทคโนโลยี            ทํางานในชีวตประจําวัน
                                                               ิ
                สารสนเทศในการทํางาน           18. ทําโครงงานต่างๆ โดยใช้เทคโนโลยี
            18. การใช้งานอินเทอร์เน็ตเพื่อการ      สารสนเทศมาช่วยในการสร้างงาน
                สื่ อสารและสื บค้นสารสนเทศ    19. สามารถใช้งานอินเทอร์เน็ตเพื่อการ
            19. หลักและขั้นตอนในการใช้             สื่ อสารและสื บค้นสารสนเทศ
                เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อแก้ไข 20. นําคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้ในการ
                ปัญหา                              สร้างชิ้นงานหรื อโครงงาน

                                             ด้ านเจตคติ (จิตพิสัย)
            20. ประโยชน์และข้อควรระวัง       21. เห็นประโยชน์และข้อควรระวังในการใช้
                เกี่ยวกับการใช้อินเทอร์ เน็ต      อินเทอร์ เน็ต
            21. บทบาทและความสําคัญของการ 22. เห็นความสําคัญและประโยชน์ของการ
                จัดการข้อมูล                      จัดการฐานข้อมูล
            22. จริ ยธรรมในการใช้ขอมูล
                                    ้        23. มีจิตสํานึกของจริ ยธรรมในการใช้ขอมูล
                                                                                 ้
                สารสนเทศ                          สารสนเทศ
            23. ประโยชน์ของระบบเครื อข่าย    24. เห็นประโยชน์ของระบบเครื อข่าย
            24. แนวทางในการใช้เทคโนโลยี      25. มีจิตสํานึกและมีความรับผิดชอบในการใช้
                สารสนเทศในการทํางาน               คอมพิวเตอร์



          ผูรายงานได้วิเคราะห์มาตรฐานการเรี ยนรู้ สาระการเรี ยนรู้ และผลการเรี ยนรู้ที่คาดหวัง
            ้
                    ั
เรื่ องคอมพิวเตอร์ กบเทคโนโลยีสารสนเทศ สําหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 เพื่อจัดทําหน่วย
การเรี ยนรู้ดงนี้
              ั
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่

More Related Content

What's hot

โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศ 2555
โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศ 2555โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศ 2555
โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศ 2555Koksi Vocation
 
โครงการงานบ้านและงานประดิษฐ์ 2555
โครงการงานบ้านและงานประดิษฐ์ 2555 โครงการงานบ้านและงานประดิษฐ์ 2555
โครงการงานบ้านและงานประดิษฐ์ 2555 Koksi Vocation
 
แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานบ้าน งานประดิษฐ์ ช่วงชั้นที่ 3-4
แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานบ้าน งานประดิษฐ์ ช่วงชั้นที่ 3-4แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานบ้าน งานประดิษฐ์ ช่วงชั้นที่ 3-4
แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานบ้าน งานประดิษฐ์ ช่วงชั้นที่ 3-4Koksi Vocation
 
การจัดกิจ..
การจัดกิจ..การจัดกิจ..
การจัดกิจ..patcharee0501
 
คุณลักษณะของครูที่ดี ตอนที่ 2
คุณลักษณะของครูที่ดี ตอนที่ 2คุณลักษณะของครูที่ดี ตอนที่ 2
คุณลักษณะของครูที่ดี ตอนที่ 2khanidthakpt
 
3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น 3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น sasiton sangangam
 
ข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วยภาค ข วิชาฟิสิกส์ ชุดที่6
ข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วยภาค ข วิชาฟิสิกส์ ชุดที่6ข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วยภาค ข วิชาฟิสิกส์ ชุดที่6
ข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วยภาค ข วิชาฟิสิกส์ ชุดที่6Anukun Khaiochaaum
 

What's hot (12)

วิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 รหัสวิชา ง 21101
วิชา  การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 รหัสวิชา  ง 21101วิชา  การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 รหัสวิชา  ง 21101
วิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 รหัสวิชา ง 21101
 
โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศ 2555
โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศ 2555โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศ 2555
โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศ 2555
 
โครงการงานบ้านและงานประดิษฐ์ 2555
โครงการงานบ้านและงานประดิษฐ์ 2555 โครงการงานบ้านและงานประดิษฐ์ 2555
โครงการงานบ้านและงานประดิษฐ์ 2555
 
แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานบ้าน งานประดิษฐ์ ช่วงชั้นที่ 3-4
แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานบ้าน งานประดิษฐ์ ช่วงชั้นที่ 3-4แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานบ้าน งานประดิษฐ์ ช่วงชั้นที่ 3-4
แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานบ้าน งานประดิษฐ์ ช่วงชั้นที่ 3-4
 
การจัดกิจ..
การจัดกิจ..การจัดกิจ..
การจัดกิจ..
 
คุณลักษณะของครูที่ดี ตอนที่ 2
คุณลักษณะของครูที่ดี ตอนที่ 2คุณลักษณะของครูที่ดี ตอนที่ 2
คุณลักษณะของครูที่ดี ตอนที่ 2
 
บทที่ 2++77
บทที่  2++77บทที่  2++77
บทที่ 2++77
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น 3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น
 
ข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วยภาค ข วิชาฟิสิกส์ ชุดที่6
ข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วยภาค ข วิชาฟิสิกส์ ชุดที่6ข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วยภาค ข วิชาฟิสิกส์ ชุดที่6
ข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วยภาค ข วิชาฟิสิกส์ ชุดที่6
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 

Viewers also liked

รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้Graphic organizer
รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้Graphic organizer รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้Graphic organizer
รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้Graphic organizer Tasanee Nunark
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม
คู่มือการใช้นวัตกรรมคู่มือการใช้นวัตกรรม
คู่มือการใช้นวัตกรรมJirathorn Buenglee
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนwannaphakdee
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีParichart Ampon
 
นวัตกรรม เรื่อง Occupations slideshare
นวัตกรรม เรื่อง Occupations slideshareนวัตกรรม เรื่อง Occupations slideshare
นวัตกรรม เรื่อง Occupations slidesharenunawanna
 
ตัวอย่างนวัตกรรม
ตัวอย่างนวัตกรรมตัวอย่างนวัตกรรม
ตัวอย่างนวัตกรรมsomdetpittayakom school
 

Viewers also liked (6)

รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้Graphic organizer
รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้Graphic organizer รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้Graphic organizer
รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้Graphic organizer
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม
คู่มือการใช้นวัตกรรมคู่มือการใช้นวัตกรรม
คู่มือการใช้นวัตกรรม
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอน
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
 
นวัตกรรม เรื่อง Occupations slideshare
นวัตกรรม เรื่อง Occupations slideshareนวัตกรรม เรื่อง Occupations slideshare
นวัตกรรม เรื่อง Occupations slideshare
 
ตัวอย่างนวัตกรรม
ตัวอย่างนวัตกรรมตัวอย่างนวัตกรรม
ตัวอย่างนวัตกรรม
 

Similar to วิจัยบทที่

Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
วิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตรวิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตรnakkee
 
หลักสูตรท้องถิ่น
หลักสูตรท้องถิ่นหลักสูตรท้องถิ่น
หลักสูตรท้องถิ่นhoneylamon
 
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์อำนาจ ศรีทิม
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7benty2443
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7nattawad147
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524gam030
 

Similar to วิจัยบทที่ (20)

Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
วิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตรวิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตร
 
หลักสูตรท้องถิ่น
หลักสูตรท้องถิ่นหลักสูตรท้องถิ่น
หลักสูตรท้องถิ่น
 
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
B2
B2B2
B2
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 

วิจัยบทที่

  • 1. 10 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยที่เกียวข้ อง ั ่ การสร้างและพัฒนาการเรี ยนการสอนโดยใช้บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรื่ อง ั คอมพิวเตอร์ กบเทคโนโลยีสารสนเทศ สําหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ผูรายงานได้ศึกษา ้ เอกสารและงานวิจยที่เกี่ยวข้องนําเสนอตามลําดับดังนี้ ั 1. หลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544 กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชี พ และเทคโนโลยี 2. หลักสู ตรสถานศึกษา รายวิชา ง32111 เทคโนโลยีสารสนเทศ 8 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 3. เทคโนโลยีสารสนเทศ 4. การสอนแบบคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน 5. บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน 6. งานวิจยที่เกี่ยวข้อง ั 1. หลักสู ตรการศึกษาขั้นพืนฐาน พุทธศักราช 2544 กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงาน ้ อาชีพและเทคโนโลยี ่ หลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 มีจุดมุงหมายเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็ น มนุษย์ที่สมบูรณ์ เป็ นคนดี มีปัญญา มีความสุ ข และมีความเป็ นไทย มีศกยภาพในการศึกษาต่อ ั และประกอบอาชีพ โดยมีหลักการพื้นฐาน คือ จะต้องเป็ นการศึกษาเพื่อปวงชนที่ประชาชนทุกคน จะได้รับการศึกษาต่ออย่างเสมอภาคและเท่าเทียมกัน โดยสังคมมีส่วนร่ วมในการจัดการศึกษา และ ส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนได้พฒนาและเรี ยนรู ้ดวยตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต โดยถือว่าผูเ้ รี ยนสําคัญ ั ้ ที่สุด สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ ํ เพื่อให้การศึกษาเป็ นไปตามหลักสู ตร จุดหมาย และมาตรฐานการเรี ยนรู้ที่กาหนดไว้ จึงได้ มีการกําหนดโครงสร้างของหลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐานไว้เป็ น 2 ส่ วน คือ ระดับช่วงชั้น และ สาระการเรี ยนรู้ โดยช่วงชั้นแบ่งออกเป็ น 4 ช่วงชั้น คือ ช่วงชั้นที่ 1 คือ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1-3 ช่วงชั้นที่ 2 คือ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4-6 ช่วงชั้นที่ 3 คือ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1- 3 และช่วงชั้นที่ 4 คือ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4- 6 ส่ วนสาระการเรี ยนรู ้น้ นได้แบ่งออกเป็ น 8 กลุ่ม คือ ภาษาไทย ั คณิ ตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคม ศาสนาและวัฒนธรรม สุ ขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงาน
  • 2. 11 อาชีพและเทคโนโลยี และภาษาต่างประเทศ โดยแต่ละกลุ่มสาระนั้นยังได้กาหนดมาตรฐาน ํ การเรี ยนรู ้ไว้ เพื่อเป็ นข้อกําหนดคุณภาพผูเ้ รี ยนด้านความรู ้ ทักษะ กระบวนการ คุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยมของแต่ละกลุ่ม 1.1 จุดหมายของหลักสู ตร หลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 จึงกําหนดจุดหมายซึ่ งถือเป็ น มาตรฐานการเรี ยนรู ้ให้ผเู ้ รี ยนเกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ดงต่อไปนี้ ั 1. เห็นคุณค่าของตนเอง มีวนยในตนเอง ปฏิบติตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา ิ ั ั หรื อศาสนาที่ตนนับถือ มีคุณธรรม จริ ยธรรมและค่านิยมอันพึงประสงค์ 2. มีความคิดสร้างสรรค์ ใฝ่ รู ้ ใฝ่ เรี ยน รักการอ่าน รักการเขียน และรักการค้นคว้า 3. มีความรู ้อนเป็ นสากล รู ้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงและความเจริ ญก้าวหน้าทาง ั วิทยาการ มีทกษะและศักยภาพในการจัดการ การสื่ อสารและการใช้เทคโนโลยี ปรับวิธีการคิด ั วิธีการทํางานได้เหมาะสมกับสถานการณ์ 4. มีทกษะและกระบวนการ โดยเฉพาะทางคณิ ตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ทักษะการคิด ั การสร้างปัญญา และทักษะในการดําเนินชีวิต 5. รักการออกกําลังกาย ดูแลตนเองให้มีสุขภาพและบุคลิกภาพที่ดี ่ 6. มีประสิ ทธิ ภาพในการผลิตและการบริ โภค มีคานิยมเป็ นผูผลิตมากกว่าเป็ น ้ ผูบริ โภค ้ 7. เข้าใจในประวัติศาสตร์ ของชาติไทย ภูมิใจในความเป็ นไทย เป็ นพลเมืองดี ยึดมัน ่ ในวิถีชีวตและการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ นประมุข ิ ์ 8. มีจิตสํานึกในการอนุรักษ์ภาษาไทย ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี กีฬา ภูมิปัญญา ไทย ทรัพยากรธรรมชาติและพัฒนาสิ่ งแวดล้อม 9. รักประเทศชาติและท้องถิ่น มุ่งทําประโยชน์และสร้างสิ่ งที่ดีงามให้สังคม 1.2 ความสาคัญ ธรรมชาติ และลักษณะเฉพาะ กลุ่มสาระการเรี ยนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีเป็ นสาระการเรี ยนรู ้ที่มุ่งพัฒนา ผูเ้ รี ยนให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับงาน อาชีพ และเทคโนโลยี มีทกษะการทํางาน ทักษะ ั การจัดการ สามารถนําเทคโนโลยีสารสนเทศและเทคโนโลยีต่างๆ มาใช้ในการทํางานอย่างถูกต้อง เหมาะสมคุมค่าและมีคุณธรรม มีความคิดสร้างสรรค์ในการสร้างและพัฒนาผลิตภัณฑ์หรื อวิธีการ ้ ใหม่ สามารถทํางานเป็ นหมู่คณะ มีนิสัยรักการทํางาน เห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีตองาน ตลอดจน ่
  • 3. 12 มีคุณธรรม จริ ยธรรมและค่านิยมที่เป็ นพื้นฐาน ได้แก่ ความขยัน ซื่ อสัตย์ ประหยัดและอดทน อันจะนําไปสู่ การให้ผเู ้ รี ยนสามารถช่วยเหลือตนเองและพึ่งตนเองได้ตามพระราชดําริ แบบ ิ ่ เศรษฐกิจพอเพียง สามารถดํารงชีวตอยูในสังคมได้อย่างมีความสุ ข ร่ วมมือและแข่งขันในระดับ สากลในบริ บทของสังคมไทย (กรมวิชาการ. 2547 : 1) 1.3 วิสัยทัศน์ การเรี ยนรู้ ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชี พและเทคโนโลยี วิสัยทัศน์ของกลุ่มสาระการเรี ยนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เป็ นสาระการเรี ยนรู้ ที่เน้นกระบวนการทํางานและการจัดการอย่างเป็ นระบบ พัฒนาความคิดอย่างสร้างสรรค์ มีทกษะ ั การออกแบบงานและการทํางานอย่างมีกลยุทธ์ โดยใช้ทกษะกระบวนการทางเทคโนโลยี และ ั เทคโนโลยีสารสนเทศ ตลอดจนนําเทคโนโลยีมาใช้และประยุกต์ใช้ในการทํางาน รวมทั้งการสร้าง และพัฒนาผลิตภัณฑ์หรื อวิธีการใหม่ เน้นการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่ งแวดล้อมและพลังงานอย่าง ประหยัด คุมค่า เพื่อให้บรรลุวสัยทัศน์ดงกล่าว กลุ่มสาระการเรี ยนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ้ ิ ั จึงกําหนดการเรี ยนรู้ที่ยดงานกระบวนการจัดการและการแก้ปัญหาเป็ นสําคัญ บนพื้นฐานของ ึ การใช้หลักการและทฤษฎีเป็ นหลักในการทํางานและการแก้ปัญหา งานที่นามาฝึ กฝนเพื่อให้บรรลุ ํ วิสัยทัศน์ของกลุ่มนั้น เป็ นงานเพื่อการดํารงชี วตในครอบครัวและสังคม และงานเพื่อการประกอบ ิ อาชีพ ซึ่ งงานทั้ง 2 ประเภทนี้ เมื่อผูเ้ รี ยนได้รับการฝึ กฝนและปฏิบติตามกระบวนการเรี ยนรู้ของ ั กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยีแล้ว ผูเ้ รี ยนจะได้รับการปลูกฝังและพัฒนาให้มี คุณภาพและคุณธรรม การเรี ยนรู ้จากการทํางานและการแก้ปัญหาของกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงาน อาชีพและเทคโนโลยี จึงเป็ นการเรี ยนรู ้ที่เกิดจากการบูรณาการความรู้ ทักษะและความดีที่หลอม รวมกันจนก่อเกิดเป็ นคุณลักษณะของผูเ้ รี ยนทั้งด้านคุณภาพและคุณธรรมตามมาตรฐานการเรี ยนรู ้ ที่กาหนด (กรมวิชาการ. 2547 : 1-2) ํ เพื่อให้บรรลุวสัยทัศน์ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยีจึงกําหนด ิ วิสัยทัศน์การเรี ยนรู้ โดยยึดการทํางานที่เน้นทักษะในการปฏิบติงาน ให้ผเู้ รี ยนคิดเป็ น ทําเป็ น ั แก้ปัญหาเป็ นสําคัญ บนพื้นฐานของการใช้หลักการทฤษฎีเป็ นหลักและยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง 1.4 คุณภาพของผู้เรี ยน กลุ่มสาระการเรี ยนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีมุ่งพัฒนาผูเ้ รี ยนแบบองค์รวมเพื่อให้ เป็ นคนดี มีความรู้ความสามารถ ดําเนิ นชีวตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีคุณลักษณะ ที่พึง ิ ประสงค์ ดังนี้
  • 4. 13 1. มีความรู ้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดํารงชี วตและครอบครัว การอาชีพ การออกแบบ ิ และเทคโนโลยี เทคโนโลยีสารสนเทศ และเทคโนโลยีเพื่อการทํางานและอาชีพ 2. มีทกษะในการทํางาน การประกอบอาชีพ การจัดการ การแสวงหาความรู้ เลือกใช้ ั เทคโนโลยีและเทคโนโลยีสารสนเทศในการทํางาน สามารถทํางานอย่างมีกลยุทธ์ สร้างและพัฒนา ผลิตภัณฑ์หรื อวิธีการใหม่ 3. มีความรับผิดชอบ ซื่ อสัตย์ ขยัน อดทน รักการทํางาน ประหยัด อดออม ตรงต่อ เวลา เอื้อเฟื้ อ เสี ยสละและมีวนยในการทํางาน ิ ั 4. เห็นคุณค่าความสําคัญของงานและอาชีพสุ จริ ต 5. ตระหนักถึงความสําคัญของสารสนเทศ การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่ งแวดล้อมและพลังงาน 6. ดํารงชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พอประมาณ เหตุผล มีภูมิคุมกัน ้ ในตัวที่ดี ความรู ้ คุณธรรม (รอบรู ้ รอบคอบ ระมัดระวัง) (ซื่อสัตย์ สติปัญญา ขยันอดทน แบ่งปัน) นําไปสู่ ชีวต/เศรษฐกิจ/สังคม/สิ่ งแวดล้อม ิ สมดุล/มันคง/ยังยืน ่ ่
  • 5. 14 1.5 ความสามารถเมื่อผู้เรี ยนจบช่ วงชั้ นที่ 3 กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยีน้ ีเมื่อผูเ้ รี ยนจบช่วงชั้นที่ 3 ผูเ้ รี ยนจะต้องมี ความสามารถดังต่อไปนี้ (กรมวิชาการ. 2544 : 4-5) ช่ วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1-3 มีทกษะการทํางานอาชีพสุ จริ ต มีทกษะการจัดการ ทํางานอย่างเป็ นระบบ และมี ั ั กลยุทธ์ ทํางานร่ วมกับผูอ่ืนได้ เห็นคุณค่าของงานอาชีพสุ จริ ต เห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ ้ เลือกใช้เทคโนโลยีและเทคโนโลยีสารสนเทศได้เหมาะสมกับงานและถูกต้อง มีคุณธรรม สามารถ คิด ออกแบบ สร้างและพัฒนาผลิตภัณฑ์หรื อวิธีการใหม่ในการทํางาน ทํางานด้วยความรับผิดชอบ ขยัน ซื่อสัตย์ ประหยัด อดออม ใช้พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมได้อย่างคุมค่าและ ้ ถูกวิธี 1.6 สาระการเรี ยนรู้ ของกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี สาระที่เป็ นความรู ้ของกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยีประกอบด้วย (กรมวิชาการ. 2547 : 3-5) สาระที่ 1 การดํารงชีวตและครอบครัว ิ สาระที่ 2 การอาชีพ สาระที่ 3 การออกแบบและเทคโนโลยี สาระที่ 4 เทคโนโลยีสารสนเทศ สาระที่ 5 เทคโนโลยีเพื่อการทํางานและอาชีพ สาระที่ 4 เทคโนโลยีสารสนเทศ เป็ นสาระที่เกี่ยวกับกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ การติดต่อสื่ อสาร การค้นหา ความรู้ การสื บค้น การใช้ขอมูลและสารสนเทศ การแก้ปัญหาหรื อสร้างงาน คุณค่าและผลกระทบ ้ ของเทคโนโลยีสารสนเทศ สาระที่ 5 เทคโนโลยีเพื่อการทํางานและอาชีพ เป็ นสาระที่เกี่ยวกับการนําเทคโนโลยีและเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการทํางาน ที่เกี่ยวกับการดํารงชีวิตและครอบครัว และการอาชีพ 1.7 มาตรฐานการเรียนรู้ ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชี พและเทคโนโลยี สาระที่เป็ นความรู ้ของกลุ่มการงานอาชีพและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี สารสนเทศประกอบด้วย (กรมวิชาการ. 2544 : 6-15)
  • 6. 15 สาระที่ 4 : เทคโนโลยีสารสนเทศ มาตรฐาน ง 4.1 : เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศใน การสื บค้นข้อมูล การเรี ยนรู ้ การสื่ อสาร การแก้ปัญหา การทํางานและอาชีพอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ประสิ ทธิผลและมีคุณธรรม สําหรับมาตรฐานการเรี ยนรู ้ช่วงชั้นที่ 3 คือ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1- ปี ที่ 3 ใน สาระเทคโนโลยีสารสนเทศ มีรายละเอียดดังนี้ เข้าใจหลักการทํางานบทบาทและประโยชน์ของระบบคอมพิวเตอร์ เข้าใจหลักการ เบื้องต้นของการสื่ อสารข้อมูลและระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ มีความรู ้พ้ืนฐานทางด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ ประมวลผลข้อมูลให้เป็ นสารสนเทศ เข้าใจหลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วย กระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ เข้าใจหลักการทําโครงงานที่มีการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ ค้นหาข้อมูล ความรู ้ และติดต่อสื่ อสารผ่านคอมพิวเตอร์ หรื อเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศนําเสนองานในรู ปแบบที่เหมาะสม ใช้คอมพิวเตอร์ ช่วยสร้างชิ้นงานหรื อ โครงงานจากจินตนาการ หรื องานที่ทาในชีวิตประจําวันอย่างมีจิตสํานึกและมีความรับผิดชอบ ํ สาระที่ 5 : เทคโนโลยีเพือการทางานและอาชีพ ่ มาตรฐาน ง 5.1 : ใช้เทคโนโลยีในการทํางาน การผลิต การออกแบบ การแก้ปัญหา การสร้างงาน การสร้างอาชีพสุ จริ ตอย่างมีความเข้าใจ มีการวางแผนเชิงกลยุทธ์และมีความคิด สร้างสรรค์ การศึกษาเอกสารเกี่ยวกับหลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 กลุ่มสาระ การเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยีน้ ี ทําให้ได้หลักการเกี่ยวกับมาตรฐานการเรี ยนรู ้ต่างๆ การจัดเวลาเรี ยนและมาตรฐานการเรี ยนรู ้ของแต่ละช่วงชั้น โดยเฉพาะอย่างยิงมาตรฐานการเรี ยนรู ้ ่ ของช่วงชั้นที่ 3 สําหรับสาระเทคโนโลยีสารสนเทศและมาตรฐานประจําสาระเทคโนโลยี สารสนเทศ เพื่อนําผลการศึกษาเอกสารนี้ไปเป็ นแนวทางการสร้างหลักสู ตรสถานศึกษา
  • 7. 16 2. หลักสู ตรสถานศึกษา รายวิชา ง32111 เทคโนโลยีสารสนเทศ 8 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 การจัดทําหลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ของกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี เป็ นการจัดการศึกษาเพื่อให้ผเู้ รี ยนมีความรู้ ทักษะ กระบวนการ คุณธรรม จริ ยธรรมและค่านิ ยมที่จะพัฒนาคุณภาพของผูเ้ รี ยนให้เป็ นคนดี มีปัญญา มีคุณภาพที่ดี มี ความสามารถในด้านศักยภาพของผูเ้ รี ยนให้สูงขึ้น สามารถดํารงชีวตอย่างมีความสุ ขได้บนพื้นฐาน ิ ของความเป็ นไทยและความเป็ นสากล สอดคล้องกับความสามารถ ทักษะ ความรู ้ของผูเ้ รี ยนเป็ น สําคัญและความเหมาะสมกับสภาพท้องถิ่น ชุมชน ซึ่ งมีรายละเอียด ดังนี้ (กลุ่มการงานอาชีพและ เทคโนโลยี. 2546 : 1) 2.1 การจัดทาหลักสู ตรกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ การงานอาชี พและเทคโนโลยี การจัดหลักสู ตรกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยีในส่ วนที่เป็ นสาระ การเรี ยนรู ้พ้ืนฐานสําหรับแต่ละช่วงชั้นมีดงนี้ คือ (กรมวิชาการ. 2545 : 41-44) ั 1. ในช่วงชั้นของแต่ละช่วงชั้น ต้องจัดให้ครบทั้ง 5 สาระ ยกเว้นช่วงชั้นที่ 1 ไม่ตอง ้ จัดสาระที่ 2 การอาชีพ 2. สาระที่ 4 เทคโนโลยีสารสนเทศ ทุกช่วงชั้นต้องจัดให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้เกี่ยวกับ ข้อมูลสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่ อสารข้อมูลและเครื อข่าย หลักการแก้ปัญหาหรื อ สร้างงาน หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ การจัดการเรี ยนรู ้เน้นการนําเอากระบวนการ เทคโนโลยีสารสนเทศ อันได้แก่ การรวบรวมข้อมูล การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล การจัดเก็บข้อมูล การจัดการ และประมวลผลข้อมูลเพื่อให้ได้สารสนเทศสําหรับนํามาใช้ใน การตัดสิ นใจ ตลอดจนเก็บรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์สานักงาน มีการนําเอาความรู้และ ํ ทักษะเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศไปบูรณาการกับทั้ง 5 งาน ของสาระที่ 1 3. สาระที่ 5 เทคโนโลยีเพื่อการทํางานและอาชีพ ทุกช่วงชั้นต้องจัดให้ผเู ้ รี ยนได้ เรี ยนรู้ เน้นการนําเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการทํางานที่เกี่ยวกับการดํารงชีวิตและ ครอบครัว และการอาชีพ การจัดการเรี ยนรู ้สามารถบูรณาการไปกับการปฏิบติงานทั้ง 5 งาน ของ ั สาระที่ 1 รวมทั้งสาระที่ 2 สาระที่ 3 และสาระที่ 4 2.2 คุณภาพของผู้เรี ยนสาระเทคโนโลยีสารสนเทศ สาระเทคโนโลยีสารสนเทศ มุ่งพัฒนาผูเ้ รี ยนแบบองค์รวมเพื่อให้เป็ นคนดี มีความรู ้ ความสามารถ โดยมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ดงนี้ (กรมวิชาการ. 2547 : 161-162) ั
  • 8. 17 มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ มีทกษะในการ ั ทํางานโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่ อสาร การค้นหาความรู้ การสื บค้น การใช้ขอมูล ้ และสารสนเทศ การแก้ปัญหาหรื อสร้างงาน ตระหนักถึงคุณค่า ความสําคัญ และผลกระทบของ เทคโนโลยี มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์ ขยัน อดทน รักการทํางาน ประหยัด อดออม ตรงต่อเวลา เอื้อเฟื้ อ เสี ยสละ และมีวนยในการทํางาน การอนุ รักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่ งแวดล้อม และ ิ ั พลังงาน เมื่อจบช่ วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1- 3 ผู้เรียนต้ องมีความสามารถดังต่ อไปนี้ มีความรู ้พ้นฐานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เข้าใจหลักการเบื้องต้นของการ ื สื่ อสารข้อมูลและระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ สามารถประมวลผลข้อมูลให้เป็ นสารสนเทศ เข้าใจ หลักการ วิธีการแก้ปัญหา และหลักการทําโครงงานด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศค้นหาข้อมูล ความรู ้ ติดต่อสื่ อสาร นําเสนองานสร้างชิ้นงานหรื อโครงงาน จากจินตนาการ หรื องานที่ทาในชีวตประจําวันอย่างมีจิตสํานึกและมีความรับผิดชอบ ํ ิ
  • 9. 18 ผังมโนทัศน์ สาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ช่ วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 - 3 (กรมวิชาการ : 2546) ประเด็นสําคัญ 1. ช่วงชั้นที่ 3 ต้องจัดให้เรี ยนรู ้ครบทั้ง 5 สาระ 2. สาระที่ 1 การดํารงชีวตและครอบครัว ช่วงชั้นนี้ ตองจัด ิ ้ ให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้ครบทั้ง 5 งาน สาระที่ 3 การออกแบบ สาระที่ 4 เทคโนโลยี และเทคโนโลยี สารสนเทศ การงานอาชีพ และเทคโนโลยี สาระที่ 2 การอาชีพ สาระที่ 5 เทคโนโลยี เพื่อการทํางานและอาชีพ สาระที่ 1 การดํารงชีวตและครอบครัว ิ งานบ้าน งานเกษตร งานช่าง งานประดิษฐ์ งานธุรกิจ งานบ้าน งานผ้า งานอาหาร พืช สัตว์
  • 10. 19 2.3 มาตรฐานการเรียนรู้ ช่วงชั้ น สาระที่ 4 เทคโนโลยีสารสนเทศ มาตรฐาน ง 4.1 เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศใน การสื บค้นข้อมูล การเรี ยนรู้ การสื่ อสาร การแก้ปัญหา การทํางานและอาชีพอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ประสิ ทธิผลและมีคุณธรรม มาตรฐานการเรียนรู้ ช่วงชั้ น ม. 1 – ม. 3 ม. 4 – ม. 6 1. เข้าใจหลักการทํางาน บทบาท และ 1. เข้าใจหลักการและวิธีการของเทคโนโลยี ประโยชน์ของระบบคอมพิวเตอร์ สารสนเทศ 2. เข้าใจหลักการเบื้องต้นของการสื่ อสารข้อมูล 2. เข้าใจองค์ประกอบและหลักการทํางานของ และระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ 3. มีความรู ้พ้นฐานทางด้านเทคโนโลยี ื 3. เข้าใจระบบคอมพิวเตอร์ ระบบสื่ อสารข้อมูล สารสนเทศ และระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ 4. ประมวลผลข้อมูลให้เป็ นสารสนเทศ 4. เข้าใจข้อกําหนดของคอมพิวเตอร์ และ อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง 5. เข้าใจหลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วย 5. จัดเก็บและบํารุ งรักษาสารสนเทศให้ถูกต้อง กระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ และเป็ นปั จจุบนอยูเ่ สมอ ั 6. เข้าใจหลักการทําโครงงานที่มีการใช้ 3. 6. เข้าใจหลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วย เทคโนโลยีสารสนเทศ กระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง มีประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผล 7. ค้นหาข้อมูล ความรู้ และติดต่อสื่ อสารผ่าน 7. เข้าใจหลักการพัฒนาโครงงานที่มีการใช้ คอมพิวเตอร์ หรื อเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ 8. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนําเสนองานใน 8. ใช้ฮาร์ ดแวร์ และซอฟต์แวร์ ให้เหมาะสมกับ รู ปแบบที่เหมาะสม งาน 9. ใช้คอมพิวเตอร์ ช่วยสร้างชิ้นงานหรื อ 9. ติดต่อสื่ อสาร ค้นหาข้อมูล และหาความรู้ โครงงานจากจินตนาการหรื องานที่ทาใน ํ ผ่านเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ อย่างมี ชีวตประจําวันอย่างมีจิตสํานึกและมีความ ิ ประสิ ทธิภาพ รับผิดชอบ
  • 11. 20 มาตรฐานการเรียนรู้ ช่วงชั้ น ม. 1 – ม. 3 ม. 4 – ม. 6 10. ใช้คอมพิวเตอร์ ช่วยในการประมวลผล ข้อมูลให้เป็ นสารสนเทศเพื่อประกอบการ ตัดสิ นใจ 11. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนําเสนองานใน รู ปแบบที่เหมาะสมตรงตามวัตถุประสงค์ ของงาน 12. ใช้คอมพิวเตอร์ สร้างงานอย่างมีจิตสํานึก และมีความรับผิดชอบ สาระที่ 5 เทคโนโลยีเพือการทางานและอาชีพ ่ มาตรฐาน ง 5.1 ใช้เทคโนโลยีในการทํางาน การผลิต การออกแบบ การแก้ปัญหา การสร้างงาน การสร้างอาชีพสุ จริ ต อย่างมีความเข้าใจ มีการวางแผนเชิงกลยุทธ์ และมีความคิด สร้างสรรค์ มาตรฐานการเรียนรู้ ช่วงชั้ น ม. 1 – ม. 3 ม. 4 – ม. 6 1. วางแผน เลือก และใช้เทคโนโลยีอย่าง 1. การวางแผน เลือกและนําเทคโนโลยีไปใช้ สร้างสรรค์ และเหมาะสมสําหรับงาน ในการผลิต การออกแบบ และการบริ การ การสร้างงานอาชีพที่สุจริ ต ดังนั้นแนวทางการจัดทําสาระของหลักสู ตรกลุ่มสาระการเรี ยนรู้การงานอาชีพและ เทคโนโลยีมีข้ นตอนการดําเนินการดังนี้ (กรมวิชาการ. 2545 : 51-53) ั 1. กําหนดสาระการเรี ยนรู ้ช่วงชั้น เป็ นการวิเคราะห์รายละเอียดจากขอบข่ายสาระ 12 ปี ของ 5 สาระ เป็ นสาระการเรี ยนรู ้ช่วงชั้น 4 ช่วงชั้น ทั้งนี้ให้สอดคล้องกับสภาพปั ญหาและ ความต้องการของผูเ้ รี ยนท้องถิ่นและชุมชน 2. กําหนดสาระการเรี ยนรู ้รายปี /รายภาค เป็ นการวิเคราะห์จากสาระการเรี ยนรู ้ช่วง ชั้น โดยนํามาจัดทําเป็ นสาระการเรี ยนรู ้รายปี หรื อรายภาค ให้สอดคล้องกับสภาพปั ญหาและ ความต้องการของผูเ้ รี ยนท้องถิ่นและชุมชน
  • 12. 21 3. กําหนดผลการเรี ยนรู ้ที่คาดหวังรายปี หรื อรายภาค เป็ นการวิเคราะห์จากมาตรฐาน การเรี ยนรู ้ช่วงชั้นที่กาหนดไว้ในแต่ละช่วงชั้นมาจัดเป็ นผลการเรี ยนรู ้ท่ีคาดหวังรายปี หรื อรายภาค ํ ที่มีการระบุถึงความรู้ความสามารถของผูเ้ รี ยน ซึ่ งจะเกิดขึ้นหลังจากการเรี ยนรู ้ในแต่ละปี หรื อภาค และความรู ้ความสามารถที่วเิ คราะห์และกําหนดไว้ในแต่ละปี นี้ เมื่อครบ 3 ปี แล้วต้องมีคุณภาพ ํ ตามมาตรฐานช่วงชั้นที่กาหนดไว้ในแต่ละมาตรฐาน 4. จัดทําคําอธิบายรายวิชา เป็ นการนําเอาผลการเรี ยนรู้ที่คาดหวังรายปี หรื อรายภาค สาระการเรี ยนรู ้รายปี หรื อรายภาค และเวลาเรี ยนสําหรับแต่ละปี หรื อแต่ละภาคมาเรี ยบเรี ยงเขียน เป็ นคําอธิบายรายวิชา 5. จัดทําหน่วยการเรี ยนรู ้ เป็ นการนําเอาสาระการเรี ยนรู้รายปี หรื อรายภาคจาก คําอธิ บายรายวิชามากําหนดเป็ นหน่วยการเรี ยนรู ้หน่วยย่อยๆ เพื่อให้เกิดความสะดวกในการจัด การเรี ยนรู ้ หน่วยการเรี ยนรู ้แต่ละหน่วยนั้น อาจเป็ นการบูรณาการภายในกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ต้ งแต่ ั สาระที่ 1-5 หรื ออาจบูรณาการกับกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้อื่น ๆ 6. จัดทําแผนการจัดการเรี ยนรู้ เป็ นการนําหน่วยการเรี ยนรู ้หน่วยย่อยมาจัดทํา รายละเอียดเป็ นแผนการจัดการเรี ยนรู ้เพื่อเตรี ยมการก่อนที่จะดําเนินการสอนต่อไป 2.4 โครงสร้ างหลักสู ตรเทคโนโลยี ช่ วงชั้นที่ 3 โรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรี นาหนัก/ จานวน ้ รหัสวิชา ชื่อวิชา สาระ ช่ วงชั้นที่ 3 หน่ วยกิต ชั่วโมง/ปี ง31111 เทคโนโลยีสารสนเทศ 7 พื้นฐาน ม.1 1.0 40 ง32111 เทคโนโลยีสารสนเทศ 8 พื้นฐาน ม.2 1.0 40 ง33111 เทคโนโลยีสารสนเทศ 9 พื้นฐาน ม.3 1.0 40 ง30271 ตารางการทํางาน เพิมเติม ่ ม.ต้น 2.0 80 ง30272 งานกราฟ การนําเสนอข้อมูล เพิ่มเติม ม.ต้น 2.0 80 ง30273 การจัดข้อมูลเบื้องต้น เพิ่มเติม ม.ต้น 2.0 80
  • 13. 22 2.5 การจัดทารายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 การจัดทํารายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 นี้ ทางคณะกรรมการ กลุ่มการงานอาชีพและเทคโนโลยีได้ร่วมกันจัดทําขึ้น โดยได้ทาการศึกษาและวิเคราะห์ขอบข่าย ํ สาระเทคโนโลยีสารสนเทศ 12 ปี และมาตรฐานการเรี ยนรู ้ช่วงชั้นที่ 3 ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 2.5.1. การจัดทาสาระการเรี ยนรู้ ช่วงชั้ น การจัดทําสาระการเรี ยนรู ้ช่วงชั้นที่ 3 ได้ทาการวิเคราะห์ขอบข่ายสาระ ํ เทคโนโลยีสารสนเทศ 12 ปี มีรายละเอียดของขอบข่ายสาระเทคโนโลยีสารสนเทศดังนี้ (กรมวิชาการ. 2547: 162-163) 1. ข้อมูลและสารสนเทศ  แหล่งข้อมูล  ความหมายและประโยชน์ของข้อมูล  การรวบรวมข้อมูล  ประเภทของข้อมูล  การจัดเก็บในรู ปแบบที่เหมาะสม  การประมวลผลข้อมูลให้เป็ นสารสนเทศ  การเก็บบํารุ งรักษาข้อมูล  ซอฟต์แวร์ ช่วยประมวลผลข้อมูล 2. เทคโนโลยีสารสนเทศ  องค์ประกอบของการผลิตสารสนเทศ  บทบาทและประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศ  ส่ วนประกอบและอุปกรณ์ของเครื่ องคอมพิวเตอร์  หลักการทํางานของเครื่ องคอมพิวเตอร์  ซอฟต์แวร์  คอมพิวเตอร์ระบบมัลติมีเดีย  จริ ยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 3. การสื่ อสารข้อมูลและเครื อข่าย  การสื่ อสารข้อมูล  ส่ วนประกอบของเครื อข่ายคอมพิวเตอร์
  • 14. 23  เครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต  การค้นหาและสื บค้นข้อมูล  การติดต่อสื่ อสารเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ 4. หลักการแก้ปัญหาหรื อสร้างงาน  หลักการคิดคํานวณพื้นฐานในการประมวลผลข้อมูล  หลักการเบื้องต้นในการแก้ปัญหา  ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมและภาษาโปรแกรม  การใช้งานซอฟต์แวร์สาเร็ จ ํ  ตรรกะ ระบบเลขฐานสอง และวงจรตรรกะ 5. การสร้างงาน  การนําเสนอข้อมูล  การวางแผนงาน  การสร้างงานตามวัตถุประสงค์ของงาน  การจัดทําคู่มือ  การบํารุ งรักษาโปรแกรมและข้อมูล 6. หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์  กลไกการทํางาน  รู ปแบบการทํางาน  ภาษาคอมพิวเตอร์ระดับตํ่า 7. การจัดการข้อมูล  การจัดการข้อมูลเบื้องต้น  โครงสร้างข้อมูล  การจัดการฐานข้อมูล สาหรับสาระการเรี ยนรู้ ช่วงชั้ นที่ 3 มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ สาระที่ 4 : เทคโนโลยีสารสนเทศ มาตรฐาน ง 4.1 : เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยี สารสนเทศในการสื บค้นข้อมูลการเรี ยนรู้ การสื่ อสาร การแก้ปัญหา การทํางานและอาชีพอย่างมี ประสิ ทธิภาพ ประสิ ทธิผล และมีคุณธรรม (กลุ่มการงานอาชีพและเทคโนโลยี. 2546 : 119-120)
  • 15. 24 ตารางสาระและมาตรฐานการเรี ยนรู้ ช่วงชั้ น มาตรฐานการเรียนรู้ ช่วงชั้ น ม.1 – ม.3 สาระการเรี ยนรู้ ช่วงชั้ น ม. 1 – ม. 3 1. เข้าใจหลักการทํางาน บทบาท และ 1. หลักการทํางาน บทบาทและประโยชน์ของ ประโยชน์ของระบบคอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์ 2. เข้าใจหลักการเบื้องต้นของการสื่ อสาร 2. หลักการเบื้องต้นของการสื่ อสารข้อมูล ข้อมูลและระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ 3. หลักการเบื้องต้นของระบบเครื อข่าย คอมพิวเตอร์ 4. การติดต่อสื่ อสารผ่านเครื อข่าย 3. มีความรู ้พ้นฐานทางด้านเทคโนโลยี ื 5. ความรู ้พ้ืนฐานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ สารสนเทศ - ความหมาย ความสําคัญ บทบาท และ ประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อ การดํารงชีวตประจําวัน ิ - ข้อมูลและสารสนเทศ 4. ประมวลผลข้อมูลให้เป็ นสารสนเทศ 6. ความหมายและวิธีการประมวลผลข้อมูล 5. เข้าใจหลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วย 7. หลักการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทาง กระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ 8. วิธีการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทาง เทคโนโลยีสารสนเทศ 9. การใช้คอมพิวเตอร์ ช่วยสร้างชิ้นงานหรื อ โครงงาน 10. การนําคอมพิวเตอร์ มาช่วยการทํางานใน ชีวตประจําวัน ิ 6. เข้าใจหลักการทําโครงงานที่มีการใช้ 11. หลักการทําโครงงานที่มีการใช้เทคโนโลยี เทคโนโลยีสารสนเทศ สารสนเทศ 7. ค้นหาข้อมูล ความรู้ และติดต่อสื่ อสาร 12. การค้นหาข้อมูล ความรู้และการติดต่อสื่ อสาร ผ่านคอมพิวเตอร์ หรื อเครื อข่าย ผ่านคอมพิวเตอร์ หรื อเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์
  • 16. 25 มาตรฐานการเรียนรู้ ช่วงชั้ น ม.1 – ม.3 สาระการเรี ยนรู้ ช่วงชั้ น ม. 1 – ม. 3 8. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนําเสนองานใน 13. การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ นําเสนองานใน รู ปแบบที่เหมาะสม รู ปแบบที่เหมาะสม - การใช้โปรแกรมช่วยสร้างงานกราฟิ ก - การใช้โปรแกรมประมวลผลคําช่วยสร้าง งานพิมพ์ - การใช้โปรแกรมช่วยสร้างงานนําเสนอ ข้อมูล 9. ใช้คอมพิวเตอร์ ช่วยสร้างชิ้นงานหรื อ 14. การใช้คอมพิวเตอร์ ช่วยสร้างงานหรื อ โครงงานจากจินตนาการหรื องานที่ทาใน ํ โครงงาน ชีวตประจําวันอย่างมีจิตสํานึกและมีความ ิ 15. มีจิตสํานึกและมีความรับผิดชอบในการใช้ รับผิดชอบ คอมพิวเตอร์ 2.5.2 การจัดทาสาระการเรียนรู้ รายปี /รายภาค ในส่ วนของการจัดทําสาระการเรี ยนรู ้รายภาคของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษา ปี ที่ 2 นี้ ได้ดาเนินการวิเคราะห์จากสาระการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยนช่วงชั้นที่ 3 ซึ่ งรายละเอียดของ ํ สาระการเรี ยนรู ้รายภาคของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 มีดงนี้ คือ (กลุ่มการงานอาชี พและ ั เทคโนโลยี. 2546 : 121-122) สาระที่ 4 : เทคโนโลยีสารสนเทศ มาตรฐาน ง 4.1 : เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยี สารสนเทศในการสื บค้นข้อมูล การเรี ยนรู ้ การสื่ อสาร การแก้ปัญหา การทํางานและอาชีพอย่างมี ประสิ ทธิภาพ ประสิ ทธิผล และมีคุณธรรม 1. องค์ประกอบของการผลิตสารสนเทศ 2. การจัดเตรี ยมข้อมูล 3. การประมวลผลข้อมูลเพื่อให้เป็ นสารสนเทศ 4. การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ 5. การสื บค้นข้อมูลสารสนเทศ 6. จริ ยธรรมในการใช้ขอมูลสารสนเทศ ้ ั 7. คอมพิวเตอร์ กบบทบาทด้านสารสนเทศ
  • 17. 26 8. องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 9. การทํางานของระบบคอมพิวเตอร์ 10. โปรแกรมระบบปฏิบติการ ั 11. โปรแกรมสําเร็ จรู ป 12. ความหมายของการสื่ อสารและการสื่ อสารข้อมูล 13. เทคนิคและช่องทางการถ่ายทอดข้อมูล 14. ลักษณะและวิธีการสื่ อสาร 15. ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ 16. ชนิด ลักษณะ และประโยชน์ของระบบเครื อข่าย 17. บทบาทและความสําคัญของการจัดการข้อมูล 18. ประเภทของข้อมูล 19. หลักการจัดการข้อมูล 20. การพัฒนาแฟ้ มข้อมูล 21. ฐานข้อมูล 22. โปรแกรมสําเร็ จรู ปในการจัดการฐานข้อมูล 23. ความรู ้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์ เน็ต 24. การใช้งานอินเทอร์ เน็ตเพื่อการสื่ อสารและสื บค้นสารสนเทศ 25. ประโยชน์และข้อควรระวังเกี่ยวกับการใช้อินเทอร์ เน็ต 26. การจัดทําเว็บเพจเบื้องต้น 27. แนวทางในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการทํางาน 28. หลักในการแก้ไขปั ญหา 29. หลักและขั้นตอนในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อแก้ไขปั ญหา 2.5.3 การจัดทาผลการเรียนรู้ ทคาดหวังรายปี /รายภาค ี่ ในส่ วนของการจัดทําผลการเรี ยนรู้ที่คาดหวังรายปี ของนักเรี ยนชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ 2 นี้ ได้ดาเนินการวิเคราะห์จากมาตรฐานการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยนช่วงชั้นที่ 3 ซึ่ ง ํ รายละเอียดของผลการเรี ยนรู้ที่คาดหวังรายปี ของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 มีดงนี้คือ ั
  • 18. 27 ตารางวิเคราะห์ ความสั มพันธ์ ระหว่ างมาตรฐานการเรียนรู้ และผลการเรี ยนรู้ ทคาดหวังรายปี ี่ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 มาตรฐานการเรียนรู้ ช่วงชั้ น ม.1 – ม.3 ผลการเรียนรู้ ทคาดหวังรายปี ชั้ น ม. 2 ี่ 1. เข้าใจหลักการทํางาน บทบาท และ 1. มีความรู ้และเข้าใจเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ กบั ประโยชน์ของระบบคอมพิวเตอร์ บทบาทของสารสนเทศ องค์ประกอบและการ ทํางานของระบบคอมพิวเตอร์ 2. มีความรู้และเข้าใจโปรแกรมระบบปฏิบติการ ั โปรแกรมสําเร็ จรู ป 2. เข้าใจหลักการเบื้องต้นของการสื่ อสาร 3. มีความรู้และเข้าใจหลักการเบื้องต้นของการ ข้อมูลและระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ สื่ อสารความหมายของการสื่ อสารและวิธีการ สื่ อสาร 4. มีความรู ้และเข้าใจเทคนิคและช่องทางการ ถ่ายทอดข้อมูล 5. มีความรู้และเข้าใจลักษณะและวิธีการสื่ อสาร ระบบเครื อข่าย ชนิด ลักษณะและประโยชน์ ของระบบเครื อข่าย 6. เห็นประโยชน์ของระบบเครื อข่าย 3. มีความรู ้พ้นฐานทางด้านเทคโนโลยี ื 7. มีความรู้พ้ืนฐานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ สารสนเทศ 8. มีความรู้และเข้าใจองค์ประกอบของการผลิต สารสนเทศ 9. มีจิตสํานึกของจริ ยธรรมในการใช้ขอมูล ้ สารสนเทศ 4. ประมวลผลข้อมูลให้เป็ นสารสนเทศ 10. มีความรู้และเข้าใจการจัดเตรี ยมข้อมูล การประมวลผลข้อมูลให้เป็ นสารสนเทศ 11. มีความรู ้และเข้าใจการจัดเก็บและการสื บค้น ข้อมูลสารสนเทศ 12. มีความรู้และเข้าใจบทบาทความสําคัญ หลักการของการจัดการข้อมูล
  • 19. 28 มาตรฐานการเรียนรู้ ช่วงชั้ น ม.1 – ม.3 ผลการเรียนรู้ ทคาดหวังรายปี ชั้ น ม. 2 ี่ 13. มีความรู้และเข้าใจประเภทข้อมูล 14. มีความรู้และเข้าใจวิธีการพัฒนาแฟ้ มข้อมูลและ ฐานข้อมูล 15. มีความรู้เรื่ องชนิดของโปรแกรมสําเร็ จรู ปที่ใช้ ในการจัดการฐานข้อมูล 5. เข้าใจหลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วย 16. มีความรู้และเข้าใจแนวทางการใช้เทคโนโลยี กระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ สารสนเทศในการทํางาน 17. มีความรู ้และเข้าใจหลักในการแก้ปัญหา 18. มีความรู ้และเข้าใจหลักและขั้นตอนในการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อแก้ปัญหา 19. สามารถนําคอมพิวเตอร์ มาช่วยการทํางานใน ชีวตประจําวัน ิ 6. เข้าใจหลักการทําโครงงานที่มีการใช้ 20. ทําโครงงานต่างๆ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ มาช่วยในการสร้างงาน 7. ค้นหาข้อมูล ความรู้ และติดต่อสื่ อสาร 21. มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับระบบอินเทอร์เน็ต ผ่านคอมพิวเตอร์ หรื อเครื อข่าย 22. สามารถใช้งานอินเทอร์เน็ตเพื่อการสื่ อสารและ คอมพิวเตอร์ สื บค้นสารสนเทศ 23. มีความรู้และเข้าใจประโยชน์และข้อควรระวังใน การใช้อินเทอร์เน็ต 8. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนําเสนองานใน 24. การนําเสนอข้อมูลในรู ปแบบสื่ อเทคโนโลยี รู ปแบบที่เหมาะสม สารสนเทศ 9. ใช้คอมพิวเตอร์ ช่วยสร้างชิ้นงานหรื อ 25. นําคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้ในการสร้าง โครงงานจากจินตนาการหรื องานที่ทา ํ ชิ้นงานหรื อโครงงาน ในชีวตประจําวันอย่างมีจิตสํานึกและมี 26. มีจิตสํานึกและมีความรับผิดชอบในการใช้ ิ ความรับผิดชอบ คอมพิวเตอร์
  • 20. 29 2.6 วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 2.6.1 คาอธิบายรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 จากการวิเคราะห์ขอบข่ายสาระเทคโนโลยีสารสนเทศ 12 ปี และมาตรฐาน การเรี ยนรู ้ช่วงชั้นที่ 3 ซึ่ งได้ดาเนินการวิเคราะห์เป็ นขั้นตอนโดยเริ่ มจากการจัดทําสาระการเรี ยนรู ้ ํ ช่วงชั้นที่ 3 สาระการเรี ยนรู ้รายปี หรื อรายภาค และจัดทําผลการเรี ยนรู ้ที่คาดหวังรายปี หรื อรายภาค ซึ่งรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 2 นี้ใช้สอนนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 มีเวลาเรี ยนทั้งสิ้ น 40 คาบ คาบละ 50 นาที โดยมีรายละเอียดของคําอธิบายรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 2 ดังนี้ (โครงสร้างหลักสู ตรกลุ่มการงานอาชีพและเทคโนโลยี. 2546 : 138) มุ่งเน้นให้ผเู ้ รี ยนเข้าใจ และเห็นคุณค่าการสื่ อสารข้อมูล ประเภทและอุปกรณ์ ของเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ หลักการเบื้องต้นและการใช้อินเทอร์ เน็ต การติดต่อสื่ อสารผ่าน คอมพิวเตอร์ หรื อระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ การค้นหาข้อมูลผ่านคอมพิวเตอร์ หรื อระบบเครื อข่าย คอมพิวเตอร์ หรื อคอมพิวเตอร์ระบบมัลติมีเดีย การใช้โปรแกรมนําเสนอในรู ปแบบที่เหมาะสม เพื่อให้เกิดทักษะในการสื่ อสารและสื บค้นข้อมูลอย่างมีจิตสํานึก และใช้พลังงานอย่างคุมค่า ้ 2.6.2 วัตถุประสงค์ ของรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ในส่ วนของวัตถุประสงค์ของรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้นมัธยมศึกษา ปี ที่ 2 มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ (โครงสร้างหลักสู ตรกลุ่มการงานอาชีพและเทคโนโลยี. 2546) เพื่อให้เข้าใจหลักการทํางาน บทบาทและประโยชน์ของระบบคอมพิวเตอร์ หลักการเบื้องต้นของการสื่ อสารข้อมูลและระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ มีความรู ้พ้ืนฐานทางด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ ประมวลผลข้อมูลให้เป็ นสารสนเทศ หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วย กระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หลักการทําโครงงานที่มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ค้นหาข้อมูลและติดต่อสื่ อสารผ่านคอมพิวเตอร์ หรื อเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศนําเสนองานในรู ปแบบที่เหมาะสม ใช้คอมพิวเตอร์ ช่วยสร้างงานหรื อโครงงานจาก จินตนาการหรื อที่ทาในชี วตประจําวันอย่างมีจิตสํานึกและมีความรับผิดชอบ ํ ิ
  • 21. 30 การวิเคราะห์ คาอธิบายรายวิชา กิจกรรม เนือหาสาระ ้ ผลการเรียนรู้ ทคาดหวัง ี่ 1. เข้าใจ ด้ านความรู้ (พุทธพิสัย) 1. องค์ประกอบของการผลิต 1. มีความรู้องค์ประกอบของการผลิต สารสนเทศ สารสนเทศ 2. การจัดเตรี ยมข้อมูล 2. มีความรู้และเข้าใจการจัดเตรี ยมข้อมูล 3. การประมวลผลข้อมูลเพื่อให้เป็ น 3. มีความรู้การประมวลผลข้อมูลให้เป็ น สารสนเทศ สารสนเทศ 4. การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ 4. มีความรู ้และเข้าใจการจัดเก็บข้อมูล ั 5. คอมพิวเตอร์ กบบทบาทด้าน สารสนเทศ สารสนเทศ 5. มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 6. องค์ประกอบของระบบ กับบทบาทของสารสนเทศ คอมพิวเตอร์ 6. มีความรู้และเข้าใจองค์ประกอบของ 7. การทํางานของระบบ คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ 7. มีความรู้ความเข้าใจการทํางานของระบบ 8. โปรแกรมระบบปฏิบติการ ั คอมพิวเตอร์ 9. โปรแกรมสําเร็ จรู ป 8. มีความรู้ความเข้าใจโปรแกรม 10. ความหมายของการสื่ อสารและ ระบบปฏิบติการ ั การสื่ อสารข้อมูล 9. รู้ลกษณะของโปรแกรมสําเร็ จรู ปแต่ละชนิด ั 11. เทคนิคและช่องทางการถ่ายทอด 10. มีความรู้เข้าใจความหมายของการสื่ อสาร ข้อมูล และการสื่ อสารข้อมูล 12. ลักษณะและวิธีการสื่ อสาร 11. มีความรู้และเข้าใจเทคนิ คและช่องทาง 13. ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ การถ่ายทอดข้อมูล 14. ความรู ้เบื้องต้นเกี่ยวกับ 12. มีความรู้และเข้าใจลักษณะและวิธีการ อินเทอร์ เน็ต สื่ อสาร 15. หลักการจัดการข้อมูล 13. มีความรู ้และเข้าใจ ระบบเครื อข่าย 14. มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับระบบ อินเทอร์ เน็ตเบื้องต้น 15. มีความรู้และเข้าใจหลักการจัดการข้อมูล
  • 22. 31 กิจกรรม เนือหาสาระ ้ ผลการเรียนรู้ ทคาดหวัง ี่ 2. ปฏิบติ ั ด้ านทักษะ (ทักษะพิสัย) 16. การสื บค้นข้อมูลสารสนเทศ 16. สามารถสื บค้นข้อมูลสารสนเทศ หลักในการแก้ไขปั ญหา 17. สามารถนําคอมพิวเตอร์ มาช่วยการ 17. แนวทางในการใช้เทคโนโลยี ทํางานในชีวตประจําวัน ิ สารสนเทศในการทํางาน 18. ทําโครงงานต่างๆ โดยใช้เทคโนโลยี 18. การใช้งานอินเทอร์เน็ตเพื่อการ สารสนเทศมาช่วยในการสร้างงาน สื่ อสารและสื บค้นสารสนเทศ 19. สามารถใช้งานอินเทอร์เน็ตเพื่อการ 19. หลักและขั้นตอนในการใช้ สื่ อสารและสื บค้นสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อแก้ไข 20. นําคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้ในการ ปัญหา สร้างชิ้นงานหรื อโครงงาน ด้ านเจตคติ (จิตพิสัย) 20. ประโยชน์และข้อควรระวัง 21. เห็นประโยชน์และข้อควรระวังในการใช้ เกี่ยวกับการใช้อินเทอร์ เน็ต อินเทอร์ เน็ต 21. บทบาทและความสําคัญของการ 22. เห็นความสําคัญและประโยชน์ของการ จัดการข้อมูล จัดการฐานข้อมูล 22. จริ ยธรรมในการใช้ขอมูล ้ 23. มีจิตสํานึกของจริ ยธรรมในการใช้ขอมูล ้ สารสนเทศ สารสนเทศ 23. ประโยชน์ของระบบเครื อข่าย 24. เห็นประโยชน์ของระบบเครื อข่าย 24. แนวทางในการใช้เทคโนโลยี 25. มีจิตสํานึกและมีความรับผิดชอบในการใช้ สารสนเทศในการทํางาน คอมพิวเตอร์ ผูรายงานได้วิเคราะห์มาตรฐานการเรี ยนรู้ สาระการเรี ยนรู้ และผลการเรี ยนรู้ที่คาดหวัง ้ ั เรื่ องคอมพิวเตอร์ กบเทคโนโลยีสารสนเทศ สําหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 เพื่อจัดทําหน่วย การเรี ยนรู้ดงนี้ ั