SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน โรคแพนิค ( Panic Disordor )
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ นางสาว รวิวรรณ พรหมเดช เลขที่ 12 ชั้น ม.6 ห้อง 8
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
นางสาว รวิวรรณ พรหมเดช เลขที่ 12
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
โรคแพนิค
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Panic disorder
ประเภทโครงงาน : โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ( Educational Media )
ชื่อผู้ทาโครงงาน : นางสาว รวิวรรณ พรหมเดช
ชื่อที่ปรึกษา : ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน : ยังไม่ได้กาหนด
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
โรคแพนิคหรือ Panic disorder ถือว่าเป็นโรคทางจิตเวชประเภทหนึ่งที่คนทั่วไปไม่ค่อยรู้จักและบางครั้ง
ผู้ป่วยหรือคนใกล้ชิดก็ไม่อาจทราบได้ว่าอาการที่ผู้ป่วยกระทาออกมานั้นเป็นอาการของโรคแพนิค
ผู้ป่วยโรคแพนิคจะตื่นตระหนกต่อบางสิ่งโดยไม่มีเหตุผล ซึ่งอาการที่เกิดขึ้นนั้นต่างจากความรู้สึกหวาดกลัว
หรือความวิตกกังวลทั่วไป ทาให้ไม่สามารถควบคุมตัวเองหรือดาเนิน ชีวิตประจาวันได้ตามปกติ อาการตื่นกลัวอย่าง
รุนแรงนี้สามารถเกิดขึ้นได้ทุกเมื่อแม้ว่าจะไม่ได้เผชิญหน้าหรือตกอยู่ในสถานการณ์อันตรายหรือแม้กระทั่งในขณะที่
กาลังนอนหลับ คนที่เป็นโรคแพนิคจึงมักเป็นกังวลอยู่ตลอดเวลาเพราะไม่รู้ว่าอาการเหล่านี้จะเกิดขึ้นอีกเมื่อไหร่
ดังนั้นทางผู้จัดมีความสนใจในโรคแพนิค จึงได้มีการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับโรคแพนิค ทั้งความหมายของโรค
สาเหตุของโรค อาการของโรค การป้องกันและการรักษาและอื่นๆ มาจัดทาเป็นโครงงาน ซึ่งทางผู้จัดทาหวังเป็นอย่าง
ยิ่งว่าโครงงานนี้จะมีประโยชน์แก่ผู้ที่ต้องการศึกษาและสนใจเพื่อนาไปประยุกต์ใช้ต่อไป
วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาเกี่ยวกับโรคแพนิค
2. เพื่อให้ผู้อื่นรู้จักกับโรคและอาการแพนิคมากยิ่งขึ้น
3. เพื่อที่จะสามารถเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับโรคแพนิคให้กับผู้อื่นได้
3
ขอบเขตโครงงาน
ศึกษาสาเหตุ อาการ และผลกระทบด้านต่างๆ ของโรคแพนิคของผู้คนปัจจุบันโดยผ่านการสืบค้นข้อมูลผ่าน
ทางอินเทอร์เน็ต
หลักการและทฤษฎี
โรคแพนิค (Panic Disoder) คือ ภาวะตื่นตระหนกต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยไม่มีเหตุผลหรือหาสาเหตุไม่ได้ ซึ่ง
โรคนี้แตกต่างจากอาการหวาดกลัวหรือกังวลทั่วไป เนื่องจากผู้ป่วยจะเกิดอาการแพนิค (Panic Attacks) หรือ
หวาดกลัวอย่างรุนแรงทั้งที่ตัวเองไม่ได้เผชิญหน้าหรือตกอยู่ในสถานการณ์อันตราย อาการแพนิคเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา
อาการของโรคแพนิค
 หายใจไม่อิ่ม หายใจตื้น
 ใจสั่น ใจหายวาบ เจ็บหน้าอก แน่นอก
 ตัวสั่น มือสั่น เหงื่อแตก หนาวๆร้อนๆ
 จุกแน่นในลาคอ คลื่นท้องไส้ปั่นป่วน
 วิงเวียน โคลงเคลง ชาตามร่างกาย คล้ายจะเป็นลม
 รู้สึกกลัวจนเหมือนควบคุมตนเองไม่ได้
สาเหตุของโรคแพนิค
สาเหตุของโรคแพนิคยากจะระบุได้อย่างชัดเจนเช่นเดียวกับปัญหาสุขภาพจิตอื่น ๆ อย่างไรก็ตาม ปัจจัยที่ทาให้เกิด
โรคแพนิคอาจเกิดจากปัจจัยทางกายภาพและปัจจัยทางสุขภาพจิต ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้
 ปัจจัยทางกายภาพ ผู้ป่วยโรคแพนิคอาจได้รับผลกระทบ ซึ่งประกอบด้วยการถ่ายทอดทางพันธุกรรม
ความผิดปกติของสมอง และการได้รับสารเคมีต่าง ๆ ดังนี้
o การถ่ายทอดทางพันธุกรรม ผู้ที่บุคคลในครอบครัวมีประวัติป่วยเป็นโรคแพนิคหรือปัญหา
สุขภาพจิตอื่น ๆ โดยบุคคลนั้นมีความสัมพันธ์ทางสายเลือดที่ใกล้ชิดกันมาก ก็เสี่ยงป่วยเป็น
โรคแพนิคได้ โดยผู้ป่วยอาจได้รับการถ่ายทอดทางพันธุกรรมจากพ่อหรือแม่ หรือได้รับจากทั้ง
พ่อและแม่
o ความผิดปกติของสมอง โดยทั่วไปแล้ว สมองจะมีสารเคมีที่เรียกว่าสารสื่อประสาท หากไม่สมดุล
อาจทาให้เกิดอาการแพนิคได้ ทั้งนี้ โรคแพนิคอาจเกิดจากการทางานของสมองส่วนที่ทาหน้าที่
ควบคุมการตอบสนองแบบสู้หรือหนีของร่างกาย (Fight or Flight) เนื่องจากหัวใจจะเต้นเร็วขึ้นเมื่อ
เผชิญหน้ากับเหตุการณ์อันตราย
4
o การได้รับสารเคมีต่าง ๆ ผู้ที่ใช้สารเสพติด ดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์หรือเครื่องดื่มที่ผสมคาเฟอีน
รวมทั้งผู้ที่สูบบุหรี่ อาจป่วยเป็นโรคแพนิคได้ ทั้งนี้ นักวิจัยบางรายยังสันนิษฐานว่าโรคแพนิคอาจ
เกี่ยวข้องกับความไวของระดับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ กล่าวคือ เมื่อสูดอากาศที่มีก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์เข้าไปมาก ก็จะกระตุ้นให้เกิดอาการแพนิคได้ อย่างไรก็ตาม การหายใจให้ถูกวิธี
จะช่วยบรรเทาอาการแพนิคให้หายหรือทุเลาลงได้
 ปัจจัยทางสุขภาพจิต เหตุการณ์ร้ายแรงที่เกิดขึ้นในชีวิตส่งผลให้เกิดโรคแพนิคได้ โดยเฉพาะการสูญเสียหรือ
พลัดพรากจากบุคคลอันเป็นที่รัก ซึ่งเหตุการณ์เหล่านี้เกี่ยวเนื่องกับอาการแพนิค ผู้ป่วยจะรู้สึกหวาดกลัวหรือ
ตื่นตระหนกหลังจากเหตุการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้น หรืออาจเกิดอาการดังกล่าวต่อไปเรื่อย ๆ ยาวนานเป็นปี จน
นาไปสู่การป่วยเป็นโรคแพนิค นอกจากนี้ ผู้ที่เกิดอาการแพนิคมีแนวโน้มที่จะคิดว่าอาการป่วยเล็ก ๆ น้อย ๆ
บางอย่างที่เกิดขึ้นนั้นเกี่ยวเนื่องกับสถานการณ์อันตรายต่าง ๆ เช่น ผู้ที่เกิดอาการใจสั่นจากการดื่มกาแฟ จะ
คิดว่าอาการใจสั่นนั้นเกิดจากอาการหวาดกลัว
โรคแพนิคอาจส่งผลต่อการใช้ชีวิตประจาวันของผู้ป่วยเป็นอย่างมาก หากไม่ได้รับการรักษาอย่างถูกต้อง และอาจ
ทาให้มีพฤติกรรมหลีกเลี่ยงบางสิ่งอย่างรุนแรง เพราะกลัวว่าจะเกิดอาการตกใจกลัวอย่างรุนแรงอีกครั้ง
ปัจจุบันโรคแพนิคไม่สามารถรักษาให้หายได้ทั้งหมด โดยสาเหตุหนึ่งก็เพราะอาการของโรคนั้นหลากหลายกันไป
ในแต่ละคน การรักษาที่ได้ผลในคนหนึ่งอาจไม่ได้ผลในอีกคนก็เป็นได้
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1. คิดหัวข้อโครงงาน
2. นาเสนอหัวข้อให้ครูที่ปรึกษาทราบ
3. ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
4. จัดทาโครงร่างงาน
5. ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
6. นาเสนอโครงงาน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1. อินเทอร์เน็ต
2. คอมพิวเตอร์
3. โทรศัพท์
งบประมาณ
-
5
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน รวิวรรณ
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล รวิวรรณ
3 จัดทาโครงร่างงาน รวิวรรณ
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน รวิวรรณ
5 ปรับปรุงทดสอบ รวิวรรณ
6 การทาเอกสารรายงาน รวิวรรณ
7 ประเมินผลงาน รวิวรรณ
8 นาเสนอโครงงาน รวิวรรณ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. สามารถนาความรู้ที่ได้ค้นคว้าไปเผยแพร่แก่ผู้อื่นหรือผู้ที่สนใจได้
2. ทาให้ผู้คนหันมาตระหนักลัรู้จักเกี่ยวกับโรคแพนิคมากขึ้น
สถานที่ดาเนินการ
ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร
6
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
 กองบรรณาธิการโรคพยาบาลวิชัยยุทธ. (2562). โรคแพนิค เป็นได้ ไม่รู้ตัว. สืบค้นเมื่อ 15 พฤศจิกายน
2562. จาก https://www.vichaiyut.com/health/diseases-treatment/other-
diseases/%e0%b9%82%e0%b8%a3%e0%b8%84%e0%b9%81%e0%b8%9e%e0%b8%99%e0
%b8%b4%e0%b8%84%e0%b9%80%e0%b8%9b%e0%b9%87%e0%b8%99%e0%b9%84%e0
%b8%94%e0%b9%89%e0%b9%84%e0%b8%a1%e0%b9%88%e0%b8%a3%e0%b8%b9%e0
%b9%89%e0%b8%95/
 HonestDocs. (2562). โรคแพนิค (Panic Disorder). สืบค้นเมื่อ 15 พฤศจิกายน 2562. จาก
https://www.honestdocs.co/what-is-panic-disorder

More Related Content

What's hot

Project มหัศจรรย์โลมา
Project มหัศจรรย์โลมาProject มหัศจรรย์โลมา
Project มหัศจรรย์โลมาmind jirapan
 
งานเดี่ยว
งานเดี่ยวงานเดี่ยว
งานเดี่ยว09nattakarn
 
2562 final-project-8
2562 final-project-82562 final-project-8
2562 final-project-8Mai Lovelove
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Krittapornn Chanasaen
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมeyecosmomo
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียนJa Palm
 
มหัศจรรย์อาเซียน
มหัศจรรย์อาเซียนมหัศจรรย์อาเซียน
มหัศจรรย์อาเซียนJa Palm
 
2562-final-project_17
2562-final-project_172562-final-project_17
2562-final-project_17ssusera79710
 
2562 final-project -13-610
2562 final-project -13-6102562 final-project -13-610
2562 final-project -13-610guntjetnipat
 
2560 project -1-1
2560 project -1-12560 project -1-1
2560 project -1-1rungthiwa_
 

What's hot (20)

Project มหัศจรรย์โลมา
Project มหัศจรรย์โลมาProject มหัศจรรย์โลมา
Project มหัศจรรย์โลมา
 
งานเดี่ยว
งานเดี่ยวงานเดี่ยว
งานเดี่ยว
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2562 final-project-8
2562 final-project-82562 final-project-8
2562 final-project-8
 
608 23 projet
608 23 projet608 23 projet
608 23 projet
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม
 
แบบร่างโครงงานคอม
แบบร่างโครงงานคอมแบบร่างโครงงานคอม
แบบร่างโครงงานคอม
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียน
 
มหัศจรรย์อาเซียน
มหัศจรรย์อาเซียนมหัศจรรย์อาเซียน
มหัศจรรย์อาเซียน
 
2562-final-project_17
2562-final-project_172562-final-project_17
2562-final-project_17
 
607_07
607_07607_07
607_07
 
Lin
LinLin
Lin
 
Project com 47
Project com 47Project com 47
Project com 47
 
Project1 604
Project1 604Project1 604
Project1 604
 
2562 final-project -13-610
2562 final-project -13-6102562 final-project -13-610
2562 final-project -13-610
 
มม
มมมม
มม
 
Com2561 32
Com2561 32Com2561 32
Com2561 32
 
2560 project -1-1
2560 project -1-12560 project -1-1
2560 project -1-1
 

Similar to 2562 final-project -1

2562 final-project -1
2562 final-project -12562 final-project -1
2562 final-project -1mint302544
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project ibukionigami
 
2562 final-project 612-33
2562 final-project 612-332562 final-project 612-33
2562 final-project 612-33fauunutcha
 
โครงร่างมาย
โครงร่างมายโครงร่างมาย
โครงร่างมายeyecosmomo
 
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์KrataeBenjarat
 
2562 final-project -06-610
2562 final-project -06-6102562 final-project -06-610
2562 final-project -06-610patittaoumm
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22ssuser8b25961
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project Dduang07
 
2562 final-project 605-37
2562 final-project 605-372562 final-project 605-37
2562 final-project 605-37naiizu
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project ssuser06c312
 
2562 final-project (1) (1)
2562 final-project  (1) (1)2562 final-project  (1) (1)
2562 final-project (1) (1)Thawanongpao
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project ssuser5110ef
 

Similar to 2562 final-project -1 (20)

2562 final-project -1
2562 final-project -12562 final-project -1
2562 final-project -1
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project 612-33
2562 final-project 612-332562 final-project 612-33
2562 final-project 612-33
 
2562 final-project 612-42
2562 final-project 612-422562 final-project 612-42
2562 final-project 612-42
 
โครงร่างมาย
โครงร่างมายโครงร่างมาย
โครงร่างมาย
 
At1
At1At1
At1
 
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-fair
2562 final-fair2562 final-fair
2562 final-fair
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
2562 final-project -06-610
2562 final-project -06-6102562 final-project -06-610
2562 final-project -06-610
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
at1
at1at1
at1
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2562 final-project 605-37
2562 final-project 605-372562 final-project 605-37
2562 final-project 605-37
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project (1) (1)
2562 final-project  (1) (1)2562 final-project  (1) (1)
2562 final-project (1) (1)
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
1
11
1
 
09_2560 project
09_2560 project09_2560 project
09_2560 project
 
work1pjcom
work1pjcomwork1pjcom
work1pjcom
 

2562 final-project -1

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน โรคแพนิค ( Panic Disordor ) ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ นางสาว รวิวรรณ พรหมเดช เลขที่ 12 ชั้น ม.6 ห้อง 8 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม นางสาว รวิวรรณ พรหมเดช เลขที่ 12 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) โรคแพนิค ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Panic disorder ประเภทโครงงาน : โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ( Educational Media ) ชื่อผู้ทาโครงงาน : นางสาว รวิวรรณ พรหมเดช ชื่อที่ปรึกษา : ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน : ยังไม่ได้กาหนด ที่มาและความสาคัญของโครงงาน โรคแพนิคหรือ Panic disorder ถือว่าเป็นโรคทางจิตเวชประเภทหนึ่งที่คนทั่วไปไม่ค่อยรู้จักและบางครั้ง ผู้ป่วยหรือคนใกล้ชิดก็ไม่อาจทราบได้ว่าอาการที่ผู้ป่วยกระทาออกมานั้นเป็นอาการของโรคแพนิค ผู้ป่วยโรคแพนิคจะตื่นตระหนกต่อบางสิ่งโดยไม่มีเหตุผล ซึ่งอาการที่เกิดขึ้นนั้นต่างจากความรู้สึกหวาดกลัว หรือความวิตกกังวลทั่วไป ทาให้ไม่สามารถควบคุมตัวเองหรือดาเนิน ชีวิตประจาวันได้ตามปกติ อาการตื่นกลัวอย่าง รุนแรงนี้สามารถเกิดขึ้นได้ทุกเมื่อแม้ว่าจะไม่ได้เผชิญหน้าหรือตกอยู่ในสถานการณ์อันตรายหรือแม้กระทั่งในขณะที่ กาลังนอนหลับ คนที่เป็นโรคแพนิคจึงมักเป็นกังวลอยู่ตลอดเวลาเพราะไม่รู้ว่าอาการเหล่านี้จะเกิดขึ้นอีกเมื่อไหร่ ดังนั้นทางผู้จัดมีความสนใจในโรคแพนิค จึงได้มีการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับโรคแพนิค ทั้งความหมายของโรค สาเหตุของโรค อาการของโรค การป้องกันและการรักษาและอื่นๆ มาจัดทาเป็นโครงงาน ซึ่งทางผู้จัดทาหวังเป็นอย่าง ยิ่งว่าโครงงานนี้จะมีประโยชน์แก่ผู้ที่ต้องการศึกษาและสนใจเพื่อนาไปประยุกต์ใช้ต่อไป วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาเกี่ยวกับโรคแพนิค 2. เพื่อให้ผู้อื่นรู้จักกับโรคและอาการแพนิคมากยิ่งขึ้น 3. เพื่อที่จะสามารถเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับโรคแพนิคให้กับผู้อื่นได้
  • 3. 3 ขอบเขตโครงงาน ศึกษาสาเหตุ อาการ และผลกระทบด้านต่างๆ ของโรคแพนิคของผู้คนปัจจุบันโดยผ่านการสืบค้นข้อมูลผ่าน ทางอินเทอร์เน็ต หลักการและทฤษฎี โรคแพนิค (Panic Disoder) คือ ภาวะตื่นตระหนกต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยไม่มีเหตุผลหรือหาสาเหตุไม่ได้ ซึ่ง โรคนี้แตกต่างจากอาการหวาดกลัวหรือกังวลทั่วไป เนื่องจากผู้ป่วยจะเกิดอาการแพนิค (Panic Attacks) หรือ หวาดกลัวอย่างรุนแรงทั้งที่ตัวเองไม่ได้เผชิญหน้าหรือตกอยู่ในสถานการณ์อันตราย อาการแพนิคเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา อาการของโรคแพนิค  หายใจไม่อิ่ม หายใจตื้น  ใจสั่น ใจหายวาบ เจ็บหน้าอก แน่นอก  ตัวสั่น มือสั่น เหงื่อแตก หนาวๆร้อนๆ  จุกแน่นในลาคอ คลื่นท้องไส้ปั่นป่วน  วิงเวียน โคลงเคลง ชาตามร่างกาย คล้ายจะเป็นลม  รู้สึกกลัวจนเหมือนควบคุมตนเองไม่ได้ สาเหตุของโรคแพนิค สาเหตุของโรคแพนิคยากจะระบุได้อย่างชัดเจนเช่นเดียวกับปัญหาสุขภาพจิตอื่น ๆ อย่างไรก็ตาม ปัจจัยที่ทาให้เกิด โรคแพนิคอาจเกิดจากปัจจัยทางกายภาพและปัจจัยทางสุขภาพจิต ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้  ปัจจัยทางกายภาพ ผู้ป่วยโรคแพนิคอาจได้รับผลกระทบ ซึ่งประกอบด้วยการถ่ายทอดทางพันธุกรรม ความผิดปกติของสมอง และการได้รับสารเคมีต่าง ๆ ดังนี้ o การถ่ายทอดทางพันธุกรรม ผู้ที่บุคคลในครอบครัวมีประวัติป่วยเป็นโรคแพนิคหรือปัญหา สุขภาพจิตอื่น ๆ โดยบุคคลนั้นมีความสัมพันธ์ทางสายเลือดที่ใกล้ชิดกันมาก ก็เสี่ยงป่วยเป็น โรคแพนิคได้ โดยผู้ป่วยอาจได้รับการถ่ายทอดทางพันธุกรรมจากพ่อหรือแม่ หรือได้รับจากทั้ง พ่อและแม่ o ความผิดปกติของสมอง โดยทั่วไปแล้ว สมองจะมีสารเคมีที่เรียกว่าสารสื่อประสาท หากไม่สมดุล อาจทาให้เกิดอาการแพนิคได้ ทั้งนี้ โรคแพนิคอาจเกิดจากการทางานของสมองส่วนที่ทาหน้าที่ ควบคุมการตอบสนองแบบสู้หรือหนีของร่างกาย (Fight or Flight) เนื่องจากหัวใจจะเต้นเร็วขึ้นเมื่อ เผชิญหน้ากับเหตุการณ์อันตราย
  • 4. 4 o การได้รับสารเคมีต่าง ๆ ผู้ที่ใช้สารเสพติด ดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์หรือเครื่องดื่มที่ผสมคาเฟอีน รวมทั้งผู้ที่สูบบุหรี่ อาจป่วยเป็นโรคแพนิคได้ ทั้งนี้ นักวิจัยบางรายยังสันนิษฐานว่าโรคแพนิคอาจ เกี่ยวข้องกับความไวของระดับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ กล่าวคือ เมื่อสูดอากาศที่มีก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์เข้าไปมาก ก็จะกระตุ้นให้เกิดอาการแพนิคได้ อย่างไรก็ตาม การหายใจให้ถูกวิธี จะช่วยบรรเทาอาการแพนิคให้หายหรือทุเลาลงได้  ปัจจัยทางสุขภาพจิต เหตุการณ์ร้ายแรงที่เกิดขึ้นในชีวิตส่งผลให้เกิดโรคแพนิคได้ โดยเฉพาะการสูญเสียหรือ พลัดพรากจากบุคคลอันเป็นที่รัก ซึ่งเหตุการณ์เหล่านี้เกี่ยวเนื่องกับอาการแพนิค ผู้ป่วยจะรู้สึกหวาดกลัวหรือ ตื่นตระหนกหลังจากเหตุการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้น หรืออาจเกิดอาการดังกล่าวต่อไปเรื่อย ๆ ยาวนานเป็นปี จน นาไปสู่การป่วยเป็นโรคแพนิค นอกจากนี้ ผู้ที่เกิดอาการแพนิคมีแนวโน้มที่จะคิดว่าอาการป่วยเล็ก ๆ น้อย ๆ บางอย่างที่เกิดขึ้นนั้นเกี่ยวเนื่องกับสถานการณ์อันตรายต่าง ๆ เช่น ผู้ที่เกิดอาการใจสั่นจากการดื่มกาแฟ จะ คิดว่าอาการใจสั่นนั้นเกิดจากอาการหวาดกลัว โรคแพนิคอาจส่งผลต่อการใช้ชีวิตประจาวันของผู้ป่วยเป็นอย่างมาก หากไม่ได้รับการรักษาอย่างถูกต้อง และอาจ ทาให้มีพฤติกรรมหลีกเลี่ยงบางสิ่งอย่างรุนแรง เพราะกลัวว่าจะเกิดอาการตกใจกลัวอย่างรุนแรงอีกครั้ง ปัจจุบันโรคแพนิคไม่สามารถรักษาให้หายได้ทั้งหมด โดยสาเหตุหนึ่งก็เพราะอาการของโรคนั้นหลากหลายกันไป ในแต่ละคน การรักษาที่ได้ผลในคนหนึ่งอาจไม่ได้ผลในอีกคนก็เป็นได้ วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1. คิดหัวข้อโครงงาน 2. นาเสนอหัวข้อให้ครูที่ปรึกษาทราบ 3. ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 4. จัดทาโครงร่างงาน 5. ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 6. นาเสนอโครงงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1. อินเทอร์เน็ต 2. คอมพิวเตอร์ 3. โทรศัพท์ งบประมาณ -
  • 5. 5 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน รวิวรรณ 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล รวิวรรณ 3 จัดทาโครงร่างงาน รวิวรรณ 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน รวิวรรณ 5 ปรับปรุงทดสอบ รวิวรรณ 6 การทาเอกสารรายงาน รวิวรรณ 7 ประเมินผลงาน รวิวรรณ 8 นาเสนอโครงงาน รวิวรรณ ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. สามารถนาความรู้ที่ได้ค้นคว้าไปเผยแพร่แก่ผู้อื่นหรือผู้ที่สนใจได้ 2. ทาให้ผู้คนหันมาตระหนักลัรู้จักเกี่ยวกับโรคแพนิคมากขึ้น สถานที่ดาเนินการ ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง กลุ่มสาระเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร
  • 6. 6 แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)  กองบรรณาธิการโรคพยาบาลวิชัยยุทธ. (2562). โรคแพนิค เป็นได้ ไม่รู้ตัว. สืบค้นเมื่อ 15 พฤศจิกายน 2562. จาก https://www.vichaiyut.com/health/diseases-treatment/other- diseases/%e0%b9%82%e0%b8%a3%e0%b8%84%e0%b9%81%e0%b8%9e%e0%b8%99%e0 %b8%b4%e0%b8%84%e0%b9%80%e0%b8%9b%e0%b9%87%e0%b8%99%e0%b9%84%e0 %b8%94%e0%b9%89%e0%b9%84%e0%b8%a1%e0%b9%88%e0%b8%a3%e0%b8%b9%e0 %b9%89%e0%b8%95/  HonestDocs. (2562). โรคแพนิค (Panic Disorder). สืบค้นเมื่อ 15 พฤศจิกายน 2562. จาก https://www.honestdocs.co/what-is-panic-disorder