SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน อาการของโรคซึมเศร้า
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาว กฤตพร ชนะแสน เลขที่ 6 ชั้น ม.6 ห้อง7
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1. นางสาว กฤตพร ชนะแสน ชั้น ม.6/7 เลขที่ 6
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) : อาการของโรคซึมเศร้า
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) : Symptom of major depressive disorder.
ประเภทโครงงาน : โครงงานการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน : นางสาว กฤตพร ชนะแสน ชั้น ม.6/7 เลขที่ 6
ชื่อที่ปรึกษา : ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน : ภาคเรียนที่1-2 ปีการศึกษา 2560
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
เนื่องจากในยุคปัจจุบันนี้คนไทยบางกลุ่มต่างก็ต่างเผชิญกับโรคทางจิตเวชที่เกิดจากความผิดปกติของสารเคมี
ในสมองชื่อ เซโรโทนิน (Serotonin) มีปริมาณลดลง ทาให้ผู้ป่วยมีอาการป่วยทั้งร่างกาย จิตใจ และความคิด รู้สึก
ท้อแท้ หงอยเหงา เบื่อหน่าย ไม่สนุกสนานกับชีวิต นอนไม่หลับ สะดุ้งตื่นกลางดึก ฝันร้ายบ่อยครั้ง ส่งผลกระทบให้
ความสามารถในการทางานลดลง ซึ่งในผู้ป่วยบางรายอาจยังไม่รู้ตัวว่าตนเองกาลังเป็นโรคซึมเศร้าอยู่ จึงเป็นที่มาของ
โครงงานที่จะอธิบายอาการของโรคซึมเศร้าให้ผู้คนทั่วไปได้รู้มากยิ่งขึ้น
วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาอาการของโรคซึมเศร้า
2. เพื่อให้ทุกคนเข้าใจในตนเองมากยิ่งขึ้น
ขอบเขตโครงงาน
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย และ บุคคลที่มีความสนใจที่จะศึกษาอาการของโรค
ซึมเศร้า
หลักการและทฤษฎี
โรคซึมเศร้าเป็นโรคทางจิตเวชที่พบบ่อยมาก ผู้ป่วยจะสูญเสียโอกาสทั้งในด้านอาชีพการทางานและ
การศึกษาในขณะที่ป่วยอีกทั้งยังเป็นความเจ็บป่วยที่มีความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายสูงถึง 15-18% ซึ่งไม่เพียงแต่ผู้ป่วย
โรคซึมเศร้าเท่านั้นที่รู้สึกทุกข์ทรมาน คนในครอบครัวก็ต้องพลอยได้รับความทุกข์นั้นไปด้วย โรคซึมเศร้าเป็นความ
เจ็บป่วยที่เกี่ยวข้องกับอารมณ์ ความคิด และทุกๆส่วนของร่างกาย โดยมีผลต่อการนอนหลับ การรับประทานอาหาร
ตลอดจนความรู้สึกนึกคิดที่มีต่อตนเองและสิ่งต่างๆ รอบตัว ถ้าไม่ได้รับการรักษาอาการของโรคอาจคงอยู่ได้นานเป็น
สัปดาห์ เป็นเดือนหรือหลายปี การรักษาที่ถูกต้องและเหมาะสมจะสามารถช่วยเหลือและขจัดอาการโรคได้รวมทั้ง
ป้องกันภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ ที่จะเกิดขึ้นได้ และที่รุนแรงที่สุดคือการฆ่าตัวตาย
3
โรคซึมเศร้าคือโรคทางจิตเวชที่เกิดจากความผิดปกติของสารเคมีในสมองชื่อ เซโรโทนิน (Serotonin) มี
ปริมาณลดลง ทาให้ผู้ป่วยมีอาการป่วยทั้งร่างกาย จิตใจ และความคิด รู้สึกท้อแท้ หงอยเหงา เบื่อหน่าย ไม่สนุกสนาน
กับชีวิต นอนไม่หลับ สะดุ้งตื่นกลางดึก ฝันร้ายบ่อยครั้ง ส่งผลกระทบให้ความสามารถในการทางานลดลง
ทั้งนี้สาเหตุที่กระตุ้นให้เกิดอาการซึมเศร้ามาจากหลายปัจจัย ทั้งจากด้านกรรมพันธุ์ พัฒนาการของจิตใจ
และสิ่งแวดล้อมที่เผชิญ เช่น ประสบกับความเครียดหนัก ๆ เจอมรสุมชีวิต เจ็บป่วยเรื้อรังจนหมดกาลังใจ พบกับ
ความสูญเสียในชีวิต เช่น การพลัดพรากจากพ่อแม่ในวัยเด็ก สูญเสียคนรัก ครอบครัว ตกงาน ปัญหาเรื่องการเงิน ต้อง
ย้ายบ้านกะทันหัน ความสัมพันธ์กับคนใกล้ชิดไม่ราบรื่น และหากเจอกับเหตุการณ์หรือความรู้สึกเหล่านั้นบ่อย ๆ ก็
อาจกระตุ้นให้โรคซึมเศร้าเกิดขึ้นได้ รวมถึงปัจจัยทางชีวภาพ เช่น การเปลี่ยนแปลงของระดับสารเคมีในสมองบางตัว
ก็อาจส่งผลให้เกิดโรคซึมเศร้าได้เช่นกัน
นอกจากนี้ ปัจจัยทางพันธุกรรมก็เป็นส่วนหนึ่งที่ทาให้เกิดโรคซึมเศร้า เพราะโรคนี้สามารถถ่ายทอดทาง
พันธุกรรมได้ แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าหากมีญาติเป็น แล้วเราจะเป็นไปด้วย เพราะต้องขึ้นอยู่กับว่ามีปัจจัยดังที่กล่าว
มาข้างต้นมากระตุ้นด้วยหรือไม่ อย่างไรก็ดี ผู้หญิงมักประสบกับภาวะนี้มากกว่าผู้ชายถึง 70% และมักเริ่มต้นเมื่อราว
อายุ 32 ปี
อาการแสดงของโรคซึมเศร้าในแต่ละคนอาจไม่เหมือนกัน แต่ส่วนใหญ่แล้วจะเป็นไปในลักษณะนี้
+ มีอารมณ์ซึมเศร้า (ในเด็กและวัยรุ่นอาจเป็นอารมณ์หงุดหงิดก็ได้)
+ ความสนใจหรือความเพลินใจในกิจกรรมต่าง ๆ แทบทั้งหมดลดลงอย่างมาก
+ น้าหนักลดลงหรือเพิ่มขึ้นมาก (น้าหนักเปลี่ยนแปลงมากกว่าร้อยละ 5 ต่อเดือน) หรือมีการเบื่ออาหารหรือ
เจริญอาหารมาก
+ นอนไม่หลับ หรือหลับมากไป
+ กระวนกระวาย อยู่ไม่สุข หรือเชื่องช้าลง
+ อ่อนเพลีย ไร้เรี่ยวแรง
+ รู้สึกตนเองไร้ค่า
+ สมาธิลดลง ใจลอย หรือลังเลใจไปหมด
+ คิดเรื่องการตาย คิดอยากตาย
* ต้องมีอาการในข้อ 1 หรือ 2 อย่างน้อย 1 ข้อ
* ต้องมีอาการเป็นอยู่นาน 2 สัปดาห์ขึ้นไป และต้องมีอาการเหล่านี้อยู่เกือบตลอดเวลา แทบทุกวัน ไม่ใช่เป็น
ๆ หาย ๆ เป็นเพียงแค่วันสองวันหายไปแล้วกลับมาเป็นใหม่
ทั้งนี้ ในผู้ป่วยที่เป็นหนักต้องระวังให้มาก เพราะมีโอกาสคิดสั้นฆ่าตัวตายสูงมาก หากมีเรื่องมากระทบจิตใจ
เพียงนิดเดียว โดยจากสถิติพบว่า ผู้ที่ฆ่าตัวตายมากกว่าร้อยละ 60 ป่วยเป็นโรคซึมเศร้าด้วย
อย่างไรก็ตาม อาการเหล่านี้จะเกิดขึ้นหลังป่วยมาได้นานเท่าไรไม่สามารถบอกได้ เพราะในบางคนป่วยมาแล้ว
1-2 ปีถึงออกอาการ แต่บางคนป่วยแค่ 6 เดือนก็รู้ตัวแล้ว จึงสามารถรักษาให้หายได้
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
4
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
งบประมาณ
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
__________________________________________________________________
___________________________________________________________________
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
5
สถานที่ดาเนินการ
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________

More Related Content

What's hot

การขับขี่อย่างปลอดภัย1
การขับขี่อย่างปลอดภัย1การขับขี่อย่างปลอดภัย1
การขับขี่อย่างปลอดภัย1Nuttida Meepo
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกม
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกมโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกม
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกมRatchasin Poomchor
 
23 jutamart โครงรางงานคอม
23 jutamart โครงรางงานคอม23 jutamart โครงรางงานคอม
23 jutamart โครงรางงานคอมjutamart muemsittiprae
 
แบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานแบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานsirinya55555
 
แบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานแบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานsirinya55555
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project Phansachon
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ice mewika
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project THXB
 
ข้อคิดดีๆในการทำงาน
ข้อคิดดีๆในการทำงานข้อคิดดีๆในการทำงาน
ข้อคิดดีๆในการทำงานMari Sa
 
คอม
คอมคอม
คอมtennes
 
2562 final-project -1
2562 final-project -12562 final-project -1
2562 final-project -1mint302544
 
งานชิ้นที่5
งานชิ้นที่5งานชิ้นที่5
งานชิ้นที่5hazama02
 

What's hot (20)

การขับขี่อย่างปลอดภัย1
การขับขี่อย่างปลอดภัย1การขับขี่อย่างปลอดภัย1
การขับขี่อย่างปลอดภัย1
 
2559_project_(1)
2559_project_(1)2559_project_(1)
2559_project_(1)
 
Good life if no fat
Good life if no fatGood life if no fat
Good life if no fat
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกม
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกมโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกม
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกม
 
at1
at1at1
at1
 
Supanida0212
Supanida0212Supanida0212
Supanida0212
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
23 jutamart โครงรางงานคอม
23 jutamart โครงรางงานคอม23 jutamart โครงรางงานคอม
23 jutamart โครงรางงานคอม
 
แบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานแบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงาน
 
แบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานแบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงาน
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
ข้อคิดดีๆในการทำงาน
ข้อคิดดีๆในการทำงานข้อคิดดีๆในการทำงาน
ข้อคิดดีๆในการทำงาน
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
2562 final-project -1
2562 final-project -12562 final-project -1
2562 final-project -1
 
งานชิ้นที่5
งานชิ้นที่5งานชิ้นที่5
งานชิ้นที่5
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 

Similar to ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์

โครงร่างมาย
โครงร่างมายโครงร่างมาย
โครงร่างมายeyecosmomo
 
2560 project งานชาเขียว
2560 project งานชาเขียว2560 project งานชาเขียว
2560 project งานชาเขียวNu Beer Yrc
 
2561 project-pichaya
2561 project-pichaya 2561 project-pichaya
2561 project-pichaya apisarajk
 
แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์benjawan punyawarin
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง0910797083
 
โครงร่างรายงาน(กู้คืนอัตโนมัติ)
โครงร่างรายงาน(กู้คืนอัตโนมัติ)โครงร่างรายงาน(กู้คืนอัตโนมัติ)
โครงร่างรายงาน(กู้คืนอัตโนมัติ)arisa promlar
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมmind jirapan
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง0910797083
 
โรคไมเกรน
โรคไมเกรนโรคไมเกรน
โรคไมเกรนotakublack1
 
2562 final-project -06-610
2562 final-project -06-6102562 final-project -06-610
2562 final-project -06-610patittaoumm
 
2560 project (1)
2560 project  (1)2560 project  (1)
2560 project (1)PorPoii
 

Similar to ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (20)

2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
โครงร่างมาย
โครงร่างมายโครงร่างมาย
โครงร่างมาย
 
2560 project งานชาเขียว
2560 project งานชาเขียว2560 project งานชาเขียว
2560 project งานชาเขียว
 
2561 project-pichaya
2561 project-pichaya 2561 project-pichaya
2561 project-pichaya
 
แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
 
AT1
AT1AT1
AT1
 
1
11
1
 
09_2560 project
09_2560 project09_2560 project
09_2560 project
 
May
MayMay
May
 
25599 project
25599 project 25599 project
25599 project
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
 
Yoga
YogaYoga
Yoga
 
โครงร่างรายงาน(กู้คืนอัตโนมัติ)
โครงร่างรายงาน(กู้คืนอัตโนมัติ)โครงร่างรายงาน(กู้คืนอัตโนมัติ)
โครงร่างรายงาน(กู้คืนอัตโนมัติ)
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
2560 project .doc2
2560 project .doc22560 project .doc2
2560 project .doc2
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
 
โรคไมเกรน
โรคไมเกรนโรคไมเกรน
โรคไมเกรน
 
2562 final-project -06-610
2562 final-project -06-6102562 final-project -06-610
2562 final-project -06-610
 
2560 project (1)
2560 project  (1)2560 project  (1)
2560 project (1)
 

More from Krittapornn Chanasaen

ขั้นตอนของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ 1
ขั้นตอนของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ 1ขั้นตอนของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ 1
ขั้นตอนของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ 1Krittapornn Chanasaen
 
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์Krittapornn Chanasaen
 
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเองใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเองKrittapornn Chanasaen
 
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเองใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเองKrittapornn Chanasaen
 
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเองใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเองKrittapornn Chanasaen
 
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเองใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเองKrittapornn Chanasaen
 
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเองใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเองKrittapornn Chanasaen
 

More from Krittapornn Chanasaen (9)

ขั้นตอนของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ 1
ขั้นตอนของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ 1ขั้นตอนของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ 1
ขั้นตอนของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ 1
 
คอมคู่ 2
คอมคู่ 2คอมคู่ 2
คอมคู่ 2
 
คอม คู่
คอม คู่คอม คู่
คอม คู่
 
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเองใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
 
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเองใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
 
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเองใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
 
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเองใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
 
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเองใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
 

ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน อาการของโรคซึมเศร้า ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว กฤตพร ชนะแสน เลขที่ 6 ชั้น ม.6 ห้อง7 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1. นางสาว กฤตพร ชนะแสน ชั้น ม.6/7 เลขที่ 6 ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) : อาการของโรคซึมเศร้า ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) : Symptom of major depressive disorder. ประเภทโครงงาน : โครงงานการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน : นางสาว กฤตพร ชนะแสน ชั้น ม.6/7 เลขที่ 6 ชื่อที่ปรึกษา : ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน : ภาคเรียนที่1-2 ปีการศึกษา 2560 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) เนื่องจากในยุคปัจจุบันนี้คนไทยบางกลุ่มต่างก็ต่างเผชิญกับโรคทางจิตเวชที่เกิดจากความผิดปกติของสารเคมี ในสมองชื่อ เซโรโทนิน (Serotonin) มีปริมาณลดลง ทาให้ผู้ป่วยมีอาการป่วยทั้งร่างกาย จิตใจ และความคิด รู้สึก ท้อแท้ หงอยเหงา เบื่อหน่าย ไม่สนุกสนานกับชีวิต นอนไม่หลับ สะดุ้งตื่นกลางดึก ฝันร้ายบ่อยครั้ง ส่งผลกระทบให้ ความสามารถในการทางานลดลง ซึ่งในผู้ป่วยบางรายอาจยังไม่รู้ตัวว่าตนเองกาลังเป็นโรคซึมเศร้าอยู่ จึงเป็นที่มาของ โครงงานที่จะอธิบายอาการของโรคซึมเศร้าให้ผู้คนทั่วไปได้รู้มากยิ่งขึ้น วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาอาการของโรคซึมเศร้า 2. เพื่อให้ทุกคนเข้าใจในตนเองมากยิ่งขึ้น ขอบเขตโครงงาน นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย และ บุคคลที่มีความสนใจที่จะศึกษาอาการของโรค ซึมเศร้า หลักการและทฤษฎี โรคซึมเศร้าเป็นโรคทางจิตเวชที่พบบ่อยมาก ผู้ป่วยจะสูญเสียโอกาสทั้งในด้านอาชีพการทางานและ การศึกษาในขณะที่ป่วยอีกทั้งยังเป็นความเจ็บป่วยที่มีความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายสูงถึง 15-18% ซึ่งไม่เพียงแต่ผู้ป่วย โรคซึมเศร้าเท่านั้นที่รู้สึกทุกข์ทรมาน คนในครอบครัวก็ต้องพลอยได้รับความทุกข์นั้นไปด้วย โรคซึมเศร้าเป็นความ เจ็บป่วยที่เกี่ยวข้องกับอารมณ์ ความคิด และทุกๆส่วนของร่างกาย โดยมีผลต่อการนอนหลับ การรับประทานอาหาร ตลอดจนความรู้สึกนึกคิดที่มีต่อตนเองและสิ่งต่างๆ รอบตัว ถ้าไม่ได้รับการรักษาอาการของโรคอาจคงอยู่ได้นานเป็น สัปดาห์ เป็นเดือนหรือหลายปี การรักษาที่ถูกต้องและเหมาะสมจะสามารถช่วยเหลือและขจัดอาการโรคได้รวมทั้ง ป้องกันภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ ที่จะเกิดขึ้นได้ และที่รุนแรงที่สุดคือการฆ่าตัวตาย
  • 3. 3 โรคซึมเศร้าคือโรคทางจิตเวชที่เกิดจากความผิดปกติของสารเคมีในสมองชื่อ เซโรโทนิน (Serotonin) มี ปริมาณลดลง ทาให้ผู้ป่วยมีอาการป่วยทั้งร่างกาย จิตใจ และความคิด รู้สึกท้อแท้ หงอยเหงา เบื่อหน่าย ไม่สนุกสนาน กับชีวิต นอนไม่หลับ สะดุ้งตื่นกลางดึก ฝันร้ายบ่อยครั้ง ส่งผลกระทบให้ความสามารถในการทางานลดลง ทั้งนี้สาเหตุที่กระตุ้นให้เกิดอาการซึมเศร้ามาจากหลายปัจจัย ทั้งจากด้านกรรมพันธุ์ พัฒนาการของจิตใจ และสิ่งแวดล้อมที่เผชิญ เช่น ประสบกับความเครียดหนัก ๆ เจอมรสุมชีวิต เจ็บป่วยเรื้อรังจนหมดกาลังใจ พบกับ ความสูญเสียในชีวิต เช่น การพลัดพรากจากพ่อแม่ในวัยเด็ก สูญเสียคนรัก ครอบครัว ตกงาน ปัญหาเรื่องการเงิน ต้อง ย้ายบ้านกะทันหัน ความสัมพันธ์กับคนใกล้ชิดไม่ราบรื่น และหากเจอกับเหตุการณ์หรือความรู้สึกเหล่านั้นบ่อย ๆ ก็ อาจกระตุ้นให้โรคซึมเศร้าเกิดขึ้นได้ รวมถึงปัจจัยทางชีวภาพ เช่น การเปลี่ยนแปลงของระดับสารเคมีในสมองบางตัว ก็อาจส่งผลให้เกิดโรคซึมเศร้าได้เช่นกัน นอกจากนี้ ปัจจัยทางพันธุกรรมก็เป็นส่วนหนึ่งที่ทาให้เกิดโรคซึมเศร้า เพราะโรคนี้สามารถถ่ายทอดทาง พันธุกรรมได้ แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าหากมีญาติเป็น แล้วเราจะเป็นไปด้วย เพราะต้องขึ้นอยู่กับว่ามีปัจจัยดังที่กล่าว มาข้างต้นมากระตุ้นด้วยหรือไม่ อย่างไรก็ดี ผู้หญิงมักประสบกับภาวะนี้มากกว่าผู้ชายถึง 70% และมักเริ่มต้นเมื่อราว อายุ 32 ปี อาการแสดงของโรคซึมเศร้าในแต่ละคนอาจไม่เหมือนกัน แต่ส่วนใหญ่แล้วจะเป็นไปในลักษณะนี้ + มีอารมณ์ซึมเศร้า (ในเด็กและวัยรุ่นอาจเป็นอารมณ์หงุดหงิดก็ได้) + ความสนใจหรือความเพลินใจในกิจกรรมต่าง ๆ แทบทั้งหมดลดลงอย่างมาก + น้าหนักลดลงหรือเพิ่มขึ้นมาก (น้าหนักเปลี่ยนแปลงมากกว่าร้อยละ 5 ต่อเดือน) หรือมีการเบื่ออาหารหรือ เจริญอาหารมาก + นอนไม่หลับ หรือหลับมากไป + กระวนกระวาย อยู่ไม่สุข หรือเชื่องช้าลง + อ่อนเพลีย ไร้เรี่ยวแรง + รู้สึกตนเองไร้ค่า + สมาธิลดลง ใจลอย หรือลังเลใจไปหมด + คิดเรื่องการตาย คิดอยากตาย * ต้องมีอาการในข้อ 1 หรือ 2 อย่างน้อย 1 ข้อ * ต้องมีอาการเป็นอยู่นาน 2 สัปดาห์ขึ้นไป และต้องมีอาการเหล่านี้อยู่เกือบตลอดเวลา แทบทุกวัน ไม่ใช่เป็น ๆ หาย ๆ เป็นเพียงแค่วันสองวันหายไปแล้วกลับมาเป็นใหม่ ทั้งนี้ ในผู้ป่วยที่เป็นหนักต้องระวังให้มาก เพราะมีโอกาสคิดสั้นฆ่าตัวตายสูงมาก หากมีเรื่องมากระทบจิตใจ เพียงนิดเดียว โดยจากสถิติพบว่า ผู้ที่ฆ่าตัวตายมากกว่าร้อยละ 60 ป่วยเป็นโรคซึมเศร้าด้วย อย่างไรก็ตาม อาการเหล่านี้จะเกิดขึ้นหลังป่วยมาได้นานเท่าไรไม่สามารถบอกได้ เพราะในบางคนป่วยมาแล้ว 1-2 ปีถึงออกอาการ แต่บางคนป่วยแค่ 6 เดือนก็รู้ตัวแล้ว จึงสามารถรักษาให้หายได้ วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน
  • 4. 4 ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ งบประมาณ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ __________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________
  • 5. 5 สถานที่ดาเนินการ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________