SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน
โรคนอนไม่หลับ
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาว สิรินทร์พร จาปานิล เลขที่ 37 ชั้น ม.6 ห้อง15
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
นางสาว สิรินทร์พร จาปานิล เลขที่ 37
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) :โรคนอนไม่หลับ
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) :Insomnia
ประเภทโครงงาน : โครงงานเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน : นางสาว สิรินทร์พร จาปานิล
ชื่อที่ปรึกษา : ครู เขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน : ภาคเรียนที่1-2 ปีการศึกษา2560
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ต้องการให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกัน ให้รู้ว่าการนอนไม่หลับนั้นไม่ใช่โรค แต่เป็นปัญหาการนอนที่ไม่เพียงพอ
ทาให้เมื่อตื่นขึ้นมาแล้วรู้สึกไม่สดชื่น อาจส่งผลกระทบต่อหน้าที่ การทางาน และความสัมพันธ์ต่อผู้อื่นได้ ซึ่งหลายๆ
คนก็อาจมีความรู้สึกเมื่อนอนไม่หลับได้หลายรูปแบบ เช่น นอนหลับยากต้องใช้เวลานานถึงจะหลับ , นอนหลับไม่สนิท
นอนหลับๆตื่นๆ , นอนเร็วกว่าปกติ , ตื่นนอนแล้วไม่สดชื่นเหมือนไม่ได้หลับ เมื่อเกิดอาการนี้มากๆเข้า หลายคนก็
หมกมุ่นอยู่กับอาการของตนจนไม่เป็นอันทาอะไร
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับ โรคนอนไม่หลับ
2. หาแนวทางแก้ไขปัญหา
3. ทาความเข้าใจเกี่ยวกับโรคนอนไม่หลับ
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
ต้องการให้รู้สาเหตุของโรคนอนไม่หลับ เข้าใจเกี่ยวกับการทางานของโรค ผู้ป่วยสามารถแก้ปัญหาของโรคได้
อย่างถูกต้อง
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
โรคนอนไม่หลับ(Insomnia) เป็นอาการอย่างหนึ่งที่พบได้ในโรคทางกายหลายชนิด โรคทางจิตเวชหลายโรค
หรืออาจมีสาเหตุจากยาบางชนิด จากสารบางอย่างที่ออกฤทธิ์กระตุ้นสมอง เช่น สารคาเฟอีนที่มีอยู่ในชา กาแฟ
น้าอัดลม เช่น โคล่า เครื่องดื่มชูกาลังหลายยี่ห้อ นอกจากนี้การดื่มสุราอย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน ก็จะทาให้เกิด
อาการนอนไม่หลับได้ หรือมีสาเหตุมาจากความเครียด ความตื่นเต้นเรื่องใดเรื่องหนึ่งอยู่ก็เป็นได้ หากปล่อยไว้อาการนี้
จะกลายไปเป็นอาการเรื้อรังได้โดยมีอาการติดต่อกันเป็นเดือน เป็นปี โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่มีสาเหตุมาจากความเครียด
ความกังวล หรือความซึมเศร้า และจะพบมาในคนสูงอายุ
3
ปัญหาการนอนไม่หลับนั้นแบ่งออกได้เป็นหลายแบบขึ้นอยู่กับระยะเวลา ดังนี้
1.การนอนไม่หลับแบบชั่วคราว
2.การนอนไม่หลับแบบเป็นๆ หายๆ
3.การนอนไม่หลับแบบเรื้อรัง
การนอนไม่หลับส่งผลกระทบอย่างไร
1.คุณภาพชีวิตที่ดีลดลง
2.อัตราของการขาดงานเพิ่มขึ้น
3.ประสิทธิภาพในการทางานลดลง
4.ความสามารถในการดาเนินชีวิตลดลง
5.อาจเกิดประสบอุบัติเหตุได้ง่าย ซึ่งมีรายงานว่า หากขับรถ โอกาสที่จะเกิดอุบัติเหตุจะเพิ่มสูงขึ้นถึง 2.5 เท่า
6.มีการใช้บริการทางแพทย์สูงขึ้น อันเนื่องมาจากปัญหาด้านสุขภาพ เช่น ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย เฉื่อยชา รู้สึกไม่สด
ชื่น หงุดหงิด ขาดสมาธิ เป็นต้น
7.การนอนไม่หลับ ในผู้ที่เคยป่วยเป็นโรคทางจิตเวช มีรายงานพบว่าอาจเสี่ยงต่อการเป็นซ้าอีก รวมถึงเสี่ยงต่อการฆ่า
ตัวตายเพิ่มสูงขึ้นในผู้ป่วยที่เป็นโรคซึมเศร้าด้วย
สาเหตุของการนอนไม่หลับ
1.สาเหตุของการนอนไม่หลับที่เกี่ยวข้องกับเรื่องของจิตใจ (Psychologic Causes of Insomnia) จากการเก็บ
ข้อมูลพบว่าผู้ป่วยที่มีอาการนอนไม่หลับส่วนใหญ่มักเกิดจากอาการที่ส่งผลกระทบต่อเรื่องของจิตใจ อาทิ โรคเครียด
โรคซึมเศร้า โดยผู้ป่วยกลุ่มนี้ถึงร้อยละ 70 จะมีอาการนอนไม่กลับเป็นอาการหลักๆ
2.สาเหตุของการนอนไม่หลับที่มีปัจจัยที่เข้าไปกระตุ้นให้เกิดการนอนไม่หลับ (Precipitating Factors of
Transient Insomnia) ซึ่งมักจะเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นชั่วคราว อาทิ
1.Adjustment Sleep Disorder เป็นภาวะนอนไม่หลับที่เกิดจากสิ่งกระตุ้นที่เพิ่งเกิด เช่น ผลจาก
ความเครียด
การเจ็บป่วย , การผ่าตัด , การสูญเสียของรัก , เรื่องงาน ซึ่งเมื่อใดที่สิ่งกระตุ้นเหล่านี้หาย อาการนอนไม่หลับจะกลับสู่
สภาวะปกติ
2.Jet Lag มักเกิดขึ้นกับผู้ป่วยที่เดินทางบินข้ามเขตเวลา ทาให้ร่างกายต้องเปลี่ยนเวลานอนจนปรับตัวไม่ทัน
เป็นเหตุให้นอนหลับยาก
3.Working Conditions เป็นผลมาจากการที่ต้องเข้างานเป็นกะ ทาให้นาฬิกาชีวิตเสียไป จนทาให้ต้องนอน
ไม่เป็นเวลา
4.Medications อาการนอนไม่หลับที่เกิดจากการใช้ยา หรือเครื่องดื่ม เช่น ยาลดน้ามูก , กาแฟ
3.สาเหตุของการนอนไม่หลับที่เกิดจากโรค (Medical and Physical Conditions) ซึ่งบางโรคก็เป็นเหตุที่ทาให้
เกิดอาการนอนไม่หลับ อาทิ
1.โรคบางโรคเมื่อขณะเกิดจะทาให้ผู้ป่วยมีอาการนอนไม่หลับ เช่น โรคหอบหืด , โรคหัวใจวาย , โรค
ภูมิแพ้ , โรคสมองเสื่อม , โรคพาร์คินสัน , โรคคอพอกเป็นพิษ
2.ผลพวงจากการเปลี่ยนแปลงทางฮอร์โมน Progesteron เมื่อฮอร์โมนตัวนี้สูงขึ้นก็จะทาให้ง่วงนอนในช่วง
ไข่ตก แต่ในช่วงที่ประจาเดือนใกล้มาจะมีฮอร์โมนน้อย อาจทาให้มีอาการนอนไม่หลับ อีกทั้งเมื่อคุณสาวๆ กาลัง
ตั้งครรภ์ในระยะแรกๆ และระยะใกล้คลอดก็จะมีอาการนอนไม่หลับเช่นกัน เนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน
รวมถึงช่วงแรกของผู้หญิงเมื่อเข้าสู่วัยทอง ก็จะมีอาการนอนไม่หลับเช่นกัน
4
3.การเปลี่ยนเวลานอน Delayed Sleep-Phase Syndrome ก็เป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ทาให้เกิดอาการนอน
ไม่หลับ อาทิ เมื่อถึงเวลานอนแต่ไม่ได้นอน ทาให้ร่างกายไม่สามารถปรับตัวได้ทัน
4.สาเหตุของการนอนไม่หลับที่เป็นปัจจัยเสริม (PerpetuatingFactors) มีหลายภาวะที่เสริมส่งให้การนอนไม่หลับ
เกิดได้ง่ายมากขึ้น
1.Psychophysiological Insomnia เกิดจากการนอนก่อนเวลาทาให้นอนไม่หลับ เรียกว่า Advanced
sleep phase Syndrome ทาให้คนๆ นั้นพยายามที่จะต้องนอนให้หลับ กระสับกระส่าย พลิกตัวไปมา ไม่ผ่อนคลาย
จนเกิดการสะสมแล้วกลายเป็นความเครียด โดยผู้ป่วยในกลุ่มนี้จะมีลักษณะชีพจรเต้นเร็ว ตื่นง่าย อุณหภูมิร่างกายจะ
สูงกว่าปกติ
2.นอนไม่หลับจากสารบางชนิด อาทิ สุรา กาแฟ ซึ่งการดื่มกาแฟ หรือสุราในช่วงกลางวันถึงกลางคืนอาจจะ
ทาให้นอนไม่หลับ ถ้าไม่นับรวมว่าการดื่มสุราแค่เพียงจิบ หรือเพียงเล็กน้อยก่อนนอนจะช่วยลดความเครียด ทาให้
นอนได้หลับดีขึ้นได้ แต่ถ้าหากดื่มมากเกินไปก็จะทาให้หลับได้ไม่นาน ตื่นง่าย เมื่อถึงช่วงอดสุราก็จะมีปัญหาหลับยาก
รวมถึงผู้ที่สูบบุหรี่จะนอนหลับประมาณ 3 - 4 ชั่วโมงแล้วตื่น อันเนื่องมาจากมีระดับ Nicotin ที่ลดลง
3.ระดับ Melatonin ลดลง ส่วนใหญ่ Melatonin จะมีมากในเด็กและลดลงในวัยผู้ใหญ่หลังช่วงอายุ 60 ปี
มีส่วนให้เกิดอาการนอนหลับยาก
4.ปัจจัยจากแสงก็มีส่วนให้เกิดอาการนอนหลับยาก จากความรู้เบื้องต้นว่าแสงจะกระตุ้นให้ร่างกายเราตื่น
ถึงแม้ว่าจะหรี่แสงลงแล้วก็ตาม
5.การนอนไม่หลับในวัยเด็ก พ่อแม่ให้เวลานอนลูกไม่สม่าเสมอจะทาให้เด็กนอนไม่หลับในตอนโต
6.การออกกาลังกายในช่วงก่อนนอนและการทางานที่ทาให้เกิดความเครียดในช่วงก่อนนอน
7.การนอนและการตื่นที่ไม่เป็นเวลา
8.สิ่งแวดล้อมภายในห้องนอนไม่เหมาะสม เช่น มีอุณหภูมิที่ร้อน หรือหนาวจนเกินไป เสียงดังเกินไป
รวมถึงลักษณะการนอนของคนใกล้ชิด อย่าง นอนดิ้น หรือนอนกรน เป็นต้น

More Related Content

What's hot

โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกม
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกมโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกม
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกมRatchasin Poomchor
 
2562 final-project-8
2562 final-project-82562 final-project-8
2562 final-project-8Mai Lovelove
 
2560 project -1-1
2560 project -1-12560 project -1-1
2560 project -1-1rungthiwa_
 
2562 final-project -13-610
2562 final-project -13-6102562 final-project -13-610
2562 final-project -13-610guntjetnipat
 
2562-final-project_17
2562-final-project_172562-final-project_17
2562-final-project_17ssusera79710
 
23 jutamart โครงรางงานคอม
23 jutamart โครงรางงานคอม23 jutamart โครงรางงานคอม
23 jutamart โครงรางงานคอมjutamart muemsittiprae
 
การขับขี่อย่างปลอดภัย1
การขับขี่อย่างปลอดภัย1การขับขี่อย่างปลอดภัย1
การขับขี่อย่างปลอดภัย1Nuttida Meepo
 
2560 project ออกกำลังกาย2
2560 project ออกกำลังกาย22560 project ออกกำลังกาย2
2560 project ออกกำลังกาย2bank2808
 
Project มหัศจรรย์โลมา
Project มหัศจรรย์โลมาProject มหัศจรรย์โลมา
Project มหัศจรรย์โลมาmind jirapan
 
มหัศจรรย์อาเซียน
มหัศจรรย์อาเซียนมหัศจรรย์อาเซียน
มหัศจรรย์อาเซียนJa Palm
 
นางสาวปภาพักต์ ทะสี
นางสาวปภาพักต์ ทะสีนางสาวปภาพักต์ ทะสี
นางสาวปภาพักต์ ทะสีPrapapakThasee
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียนJa Palm
 

What's hot (20)

2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกม
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกมโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกม
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกม
 
Project1 604
Project1 604Project1 604
Project1 604
 
2562 final-project-8
2562 final-project-82562 final-project-8
2562 final-project-8
 
2560 project -1-1
2560 project -1-12560 project -1-1
2560 project -1-1
 
at1
at1at1
at1
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
2562 final-project -13-610
2562 final-project -13-6102562 final-project -13-610
2562 final-project -13-610
 
Psychosis
PsychosisPsychosis
Psychosis
 
รางจืด
รางจืด รางจืด
รางจืด
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2562-final-project_17
2562-final-project_172562-final-project_17
2562-final-project_17
 
23 jutamart โครงรางงานคอม
23 jutamart โครงรางงานคอม23 jutamart โครงรางงานคอม
23 jutamart โครงรางงานคอม
 
การขับขี่อย่างปลอดภัย1
การขับขี่อย่างปลอดภัย1การขับขี่อย่างปลอดภัย1
การขับขี่อย่างปลอดภัย1
 
2560 project ออกกำลังกาย2
2560 project ออกกำลังกาย22560 project ออกกำลังกาย2
2560 project ออกกำลังกาย2
 
Project มหัศจรรย์โลมา
Project มหัศจรรย์โลมาProject มหัศจรรย์โลมา
Project มหัศจรรย์โลมา
 
มหัศจรรย์อาเซียน
มหัศจรรย์อาเซียนมหัศจรรย์อาเซียน
มหัศจรรย์อาเซียน
 
นางสาวปภาพักต์ ทะสี
นางสาวปภาพักต์ ทะสีนางสาวปภาพักต์ ทะสี
นางสาวปภาพักต์ ทะสี
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียน
 

Similar to โครงร่างมาย

Similar to โครงร่างมาย (20)

โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้า
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
at1
at1at1
at1
 
2562 final-project 605-37
2562 final-project 605-372562 final-project 605-37
2562 final-project 605-37
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
2560 project -
2560 project -2560 project -
2560 project -
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2561 project-pichaya
2561 project-pichaya 2561 project-pichaya
2561 project-pichaya
 
อิ๋ม
อิ๋มอิ๋ม
อิ๋ม
 
2560 project 34
2560 project 342560 project 34
2560 project 34
 
At1
At1At1
At1
 
Yoga
YogaYoga
Yoga
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project 37
2562 final-project 372562 final-project 37
2562 final-project 37
 
2562 final-project 37
2562 final-project 372562 final-project 37
2562 final-project 37
 
2560 project งานชาเขียว
2560 project งานชาเขียว2560 project งานชาเขียว
2560 project งานชาเขียว
 
ร่าง project_com
ร่าง project_comร่าง project_com
ร่าง project_com
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 

More from eyecosmomo

โครงงานคอมพิวเตอร์ของกอาย
โครงงานคอมพิวเตอร์ของกอายโครงงานคอมพิวเตอร์ของกอาย
โครงงานคอมพิวเตอร์ของกอายeyecosmomo
 
โครงร่างบีม
โครงร่างบีมโครงร่างบีม
โครงร่างบีมeyecosmomo
 
โครงร่างมาย
โครงร่างมายโครงร่างมาย
โครงร่างมายeyecosmomo
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมeyecosmomo
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6eyecosmomo
 

More from eyecosmomo (7)

โครงงานคอมพิวเตอร์ของกอาย
โครงงานคอมพิวเตอร์ของกอายโครงงานคอมพิวเตอร์ของกอาย
โครงงานคอมพิวเตอร์ของกอาย
 
มม
มมมม
มม
 
โครงร่างบีม
โครงร่างบีมโครงร่างบีม
โครงร่างบีม
 
โครงร่างมาย
โครงร่างมายโครงร่างมาย
โครงร่างมาย
 
Titirat 43
Titirat  43Titirat  43
Titirat 43
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6
 

โครงร่างมาย

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน โรคนอนไม่หลับ ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว สิรินทร์พร จาปานิล เลขที่ 37 ชั้น ม.6 ห้อง15 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม นางสาว สิรินทร์พร จาปานิล เลขที่ 37 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) :โรคนอนไม่หลับ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) :Insomnia ประเภทโครงงาน : โครงงานเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน : นางสาว สิรินทร์พร จาปานิล ชื่อที่ปรึกษา : ครู เขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน : ภาคเรียนที่1-2 ปีการศึกษา2560 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ต้องการให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกัน ให้รู้ว่าการนอนไม่หลับนั้นไม่ใช่โรค แต่เป็นปัญหาการนอนที่ไม่เพียงพอ ทาให้เมื่อตื่นขึ้นมาแล้วรู้สึกไม่สดชื่น อาจส่งผลกระทบต่อหน้าที่ การทางาน และความสัมพันธ์ต่อผู้อื่นได้ ซึ่งหลายๆ คนก็อาจมีความรู้สึกเมื่อนอนไม่หลับได้หลายรูปแบบ เช่น นอนหลับยากต้องใช้เวลานานถึงจะหลับ , นอนหลับไม่สนิท นอนหลับๆตื่นๆ , นอนเร็วกว่าปกติ , ตื่นนอนแล้วไม่สดชื่นเหมือนไม่ได้หลับ เมื่อเกิดอาการนี้มากๆเข้า หลายคนก็ หมกมุ่นอยู่กับอาการของตนจนไม่เป็นอันทาอะไร วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับ โรคนอนไม่หลับ 2. หาแนวทางแก้ไขปัญหา 3. ทาความเข้าใจเกี่ยวกับโรคนอนไม่หลับ ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) ต้องการให้รู้สาเหตุของโรคนอนไม่หลับ เข้าใจเกี่ยวกับการทางานของโรค ผู้ป่วยสามารถแก้ปัญหาของโรคได้ อย่างถูกต้อง หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) โรคนอนไม่หลับ(Insomnia) เป็นอาการอย่างหนึ่งที่พบได้ในโรคทางกายหลายชนิด โรคทางจิตเวชหลายโรค หรืออาจมีสาเหตุจากยาบางชนิด จากสารบางอย่างที่ออกฤทธิ์กระตุ้นสมอง เช่น สารคาเฟอีนที่มีอยู่ในชา กาแฟ น้าอัดลม เช่น โคล่า เครื่องดื่มชูกาลังหลายยี่ห้อ นอกจากนี้การดื่มสุราอย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน ก็จะทาให้เกิด อาการนอนไม่หลับได้ หรือมีสาเหตุมาจากความเครียด ความตื่นเต้นเรื่องใดเรื่องหนึ่งอยู่ก็เป็นได้ หากปล่อยไว้อาการนี้ จะกลายไปเป็นอาการเรื้อรังได้โดยมีอาการติดต่อกันเป็นเดือน เป็นปี โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่มีสาเหตุมาจากความเครียด ความกังวล หรือความซึมเศร้า และจะพบมาในคนสูงอายุ
  • 3. 3 ปัญหาการนอนไม่หลับนั้นแบ่งออกได้เป็นหลายแบบขึ้นอยู่กับระยะเวลา ดังนี้ 1.การนอนไม่หลับแบบชั่วคราว 2.การนอนไม่หลับแบบเป็นๆ หายๆ 3.การนอนไม่หลับแบบเรื้อรัง การนอนไม่หลับส่งผลกระทบอย่างไร 1.คุณภาพชีวิตที่ดีลดลง 2.อัตราของการขาดงานเพิ่มขึ้น 3.ประสิทธิภาพในการทางานลดลง 4.ความสามารถในการดาเนินชีวิตลดลง 5.อาจเกิดประสบอุบัติเหตุได้ง่าย ซึ่งมีรายงานว่า หากขับรถ โอกาสที่จะเกิดอุบัติเหตุจะเพิ่มสูงขึ้นถึง 2.5 เท่า 6.มีการใช้บริการทางแพทย์สูงขึ้น อันเนื่องมาจากปัญหาด้านสุขภาพ เช่น ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย เฉื่อยชา รู้สึกไม่สด ชื่น หงุดหงิด ขาดสมาธิ เป็นต้น 7.การนอนไม่หลับ ในผู้ที่เคยป่วยเป็นโรคทางจิตเวช มีรายงานพบว่าอาจเสี่ยงต่อการเป็นซ้าอีก รวมถึงเสี่ยงต่อการฆ่า ตัวตายเพิ่มสูงขึ้นในผู้ป่วยที่เป็นโรคซึมเศร้าด้วย สาเหตุของการนอนไม่หลับ 1.สาเหตุของการนอนไม่หลับที่เกี่ยวข้องกับเรื่องของจิตใจ (Psychologic Causes of Insomnia) จากการเก็บ ข้อมูลพบว่าผู้ป่วยที่มีอาการนอนไม่หลับส่วนใหญ่มักเกิดจากอาการที่ส่งผลกระทบต่อเรื่องของจิตใจ อาทิ โรคเครียด โรคซึมเศร้า โดยผู้ป่วยกลุ่มนี้ถึงร้อยละ 70 จะมีอาการนอนไม่กลับเป็นอาการหลักๆ 2.สาเหตุของการนอนไม่หลับที่มีปัจจัยที่เข้าไปกระตุ้นให้เกิดการนอนไม่หลับ (Precipitating Factors of Transient Insomnia) ซึ่งมักจะเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นชั่วคราว อาทิ 1.Adjustment Sleep Disorder เป็นภาวะนอนไม่หลับที่เกิดจากสิ่งกระตุ้นที่เพิ่งเกิด เช่น ผลจาก ความเครียด การเจ็บป่วย , การผ่าตัด , การสูญเสียของรัก , เรื่องงาน ซึ่งเมื่อใดที่สิ่งกระตุ้นเหล่านี้หาย อาการนอนไม่หลับจะกลับสู่ สภาวะปกติ 2.Jet Lag มักเกิดขึ้นกับผู้ป่วยที่เดินทางบินข้ามเขตเวลา ทาให้ร่างกายต้องเปลี่ยนเวลานอนจนปรับตัวไม่ทัน เป็นเหตุให้นอนหลับยาก 3.Working Conditions เป็นผลมาจากการที่ต้องเข้างานเป็นกะ ทาให้นาฬิกาชีวิตเสียไป จนทาให้ต้องนอน ไม่เป็นเวลา 4.Medications อาการนอนไม่หลับที่เกิดจากการใช้ยา หรือเครื่องดื่ม เช่น ยาลดน้ามูก , กาแฟ 3.สาเหตุของการนอนไม่หลับที่เกิดจากโรค (Medical and Physical Conditions) ซึ่งบางโรคก็เป็นเหตุที่ทาให้ เกิดอาการนอนไม่หลับ อาทิ 1.โรคบางโรคเมื่อขณะเกิดจะทาให้ผู้ป่วยมีอาการนอนไม่หลับ เช่น โรคหอบหืด , โรคหัวใจวาย , โรค ภูมิแพ้ , โรคสมองเสื่อม , โรคพาร์คินสัน , โรคคอพอกเป็นพิษ 2.ผลพวงจากการเปลี่ยนแปลงทางฮอร์โมน Progesteron เมื่อฮอร์โมนตัวนี้สูงขึ้นก็จะทาให้ง่วงนอนในช่วง ไข่ตก แต่ในช่วงที่ประจาเดือนใกล้มาจะมีฮอร์โมนน้อย อาจทาให้มีอาการนอนไม่หลับ อีกทั้งเมื่อคุณสาวๆ กาลัง ตั้งครรภ์ในระยะแรกๆ และระยะใกล้คลอดก็จะมีอาการนอนไม่หลับเช่นกัน เนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน รวมถึงช่วงแรกของผู้หญิงเมื่อเข้าสู่วัยทอง ก็จะมีอาการนอนไม่หลับเช่นกัน
  • 4. 4 3.การเปลี่ยนเวลานอน Delayed Sleep-Phase Syndrome ก็เป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ทาให้เกิดอาการนอน ไม่หลับ อาทิ เมื่อถึงเวลานอนแต่ไม่ได้นอน ทาให้ร่างกายไม่สามารถปรับตัวได้ทัน 4.สาเหตุของการนอนไม่หลับที่เป็นปัจจัยเสริม (PerpetuatingFactors) มีหลายภาวะที่เสริมส่งให้การนอนไม่หลับ เกิดได้ง่ายมากขึ้น 1.Psychophysiological Insomnia เกิดจากการนอนก่อนเวลาทาให้นอนไม่หลับ เรียกว่า Advanced sleep phase Syndrome ทาให้คนๆ นั้นพยายามที่จะต้องนอนให้หลับ กระสับกระส่าย พลิกตัวไปมา ไม่ผ่อนคลาย จนเกิดการสะสมแล้วกลายเป็นความเครียด โดยผู้ป่วยในกลุ่มนี้จะมีลักษณะชีพจรเต้นเร็ว ตื่นง่าย อุณหภูมิร่างกายจะ สูงกว่าปกติ 2.นอนไม่หลับจากสารบางชนิด อาทิ สุรา กาแฟ ซึ่งการดื่มกาแฟ หรือสุราในช่วงกลางวันถึงกลางคืนอาจจะ ทาให้นอนไม่หลับ ถ้าไม่นับรวมว่าการดื่มสุราแค่เพียงจิบ หรือเพียงเล็กน้อยก่อนนอนจะช่วยลดความเครียด ทาให้ นอนได้หลับดีขึ้นได้ แต่ถ้าหากดื่มมากเกินไปก็จะทาให้หลับได้ไม่นาน ตื่นง่าย เมื่อถึงช่วงอดสุราก็จะมีปัญหาหลับยาก รวมถึงผู้ที่สูบบุหรี่จะนอนหลับประมาณ 3 - 4 ชั่วโมงแล้วตื่น อันเนื่องมาจากมีระดับ Nicotin ที่ลดลง 3.ระดับ Melatonin ลดลง ส่วนใหญ่ Melatonin จะมีมากในเด็กและลดลงในวัยผู้ใหญ่หลังช่วงอายุ 60 ปี มีส่วนให้เกิดอาการนอนหลับยาก 4.ปัจจัยจากแสงก็มีส่วนให้เกิดอาการนอนหลับยาก จากความรู้เบื้องต้นว่าแสงจะกระตุ้นให้ร่างกายเราตื่น ถึงแม้ว่าจะหรี่แสงลงแล้วก็ตาม 5.การนอนไม่หลับในวัยเด็ก พ่อแม่ให้เวลานอนลูกไม่สม่าเสมอจะทาให้เด็กนอนไม่หลับในตอนโต 6.การออกกาลังกายในช่วงก่อนนอนและการทางานที่ทาให้เกิดความเครียดในช่วงก่อนนอน 7.การนอนและการตื่นที่ไม่เป็นเวลา 8.สิ่งแวดล้อมภายในห้องนอนไม่เหมาะสม เช่น มีอุณหภูมิที่ร้อน หรือหนาวจนเกินไป เสียงดังเกินไป รวมถึงลักษณะการนอนของคนใกล้ชิด อย่าง นอนดิ้น หรือนอนกรน เป็นต้น