SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน โรคจิต (Psychosis)
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ นาย ชญานนท์ สิงหธนากร เลขที่ 8 ชั้น ม.6 ห้อง 12
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม (ถ้ามี) -
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1 นาย ชญานนท์ สิงธนากร เลขที่ 8
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
โรคจิต
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Psychosis
ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media)
ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย ชญานนท์ สิงหธนากร
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่อที่ปรึกษาร่วม -
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่1/2562
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
บ้านเรายังมีความเข้าใจผิดเกี่ยวกับเรื่องโรคจิตอยู่ไม่น้อย ตัวอย่างเช่น ในภาพยนต์โทรทัศน์ตัวแสดงที่รับบท
เป็นโรคจิต ก็แสดงโดยมีลักษณะงุนงง สับสน เดี๋ยวก็จาญาติได้เดี๋ยวก็จาไม่ได้ หรือบางครั้งก็ทาท่าทางเซ่อๆ ซ่าๆ หรือ
ญาติของผู้ที่เป็นโรคจิตบางครั้งก็มาปรึกษาว่าไม่คิดว่าเขาจะเป็นโรคจิตน่าจะแค่มีปัญหาแล้วคิดมากเท่านั้น เพราะยัง
พูดจากันรู้เรื่องดี ใช้ให้ทาอะไรก็ทาได้ เพียงแต่ดูเงียบลงเท่านั้น ตามจริงแล้วโรคจิตมีด้วยกันหลายชนิดแต่ละชนิดก็มี
ลักษณะอาการแตกต่างกันออกไปบ้าง อย่างไรก็ตามจะต้องมีบางอาการดังต่อไปนี้จึงจะถือว่าเป็นโรคจิต โรคจิตที่
เกิดจากความเจ็บป่วยทางร่างกายเป็นอาการโรคจิตที่เกิดจากความเจ็บป่วยทางร่างกาย อย่างไรก็ตาม ไม่ใช่ว่าโรคทาง
ร่างกายจะทาให้เกิดโรคจิตได้ทุกโรค เช่น เราคงไม่คิดว่าโรคลาไส้อักเสบจะเป็นสาเหตุของโรคจิต แต่ถ้าเกิดอุบัติเหตุ
หมดสติไปเป็นวันพอรู้ตัวขึ้นมาก็วุ่นวาย หวาดกลัว อย่างนี้ก็น่าจะเกี่ยวข้องกัน ด้วยเหตุผลดังกล่าว โรคจิตจึงเป็นโรค
ที่ควรศึกษาเพิ่มเติม
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.ให้ข้อมูลแก่บุคคลที่ยังไม่ทราบถึงโรคนี้
2.ให้ข้อมูลวิธีการแก้ไขหรือแก้ปัญหา
3.ให้ข้อมูลถึงผลเสียที่อาจจะตามมาเกี่ยวกับโรคนี้
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
1.กลุ่มคนที่เสี่ยงจะมีอาการตามโรคดังกล่าว
2.บุคคลทั่วไปที่อยากศึกษา
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
โรคจิต (Psychosis) คือ โรคทางจิตเวชชนิดหนึ่ง ซึ่งอาจแบ่งออกเป็นหลายชนิดแยกย่อยไปตามลักษณะ
อาการที่เด่น โดยส่วนใหญ่ผู้ที่เป็นโรคจิตจะไม่ทราบว่าตนเองผิดปกติไป และจะเชื่อว่าสิ่งที่เกิดขึ้นกับตัวเองเป็นเช่นนั้น
จริงๆ ไม่เคยคิดสงสัยว่าไม่น่าจะเป็นไปได้ หรือสิ่งที่เกิดขึ้นนั้นไม่สมเหตุสมผล
อาการของโรคจิต
อาการหลักๆ ของโรคจิต แบ่งได้เป็น 3 ลักษณะ คือ
1. อาการหลงผิด (Delusion) เป็นความผิดปกติทางความคิด ทาให้ผู้ป่วยมีความเชื่อและความคิดในเรื่องต่างๆ ที่ไม่
เป็นไปตามหลักความจริง และมักเกิดจากความเชื่อที่ฝังใจ หรือเป็นความคิดที่ยากจะให้เหตุผลได้อย่างชัดเจน อาการ
หลงผิดที่เกิดขึ้นสังเกตได้ดังนี้
คิดว่าตัวเองใหญ่โต ร่ารวย เป็นคนใหญ่คนโต (Grandeur delusion)
คิดว่ามีคนอื่นปองร้าย (Persecution delusion)
คิดว่าคนอื่นหลงรักหรือคลั่งไคล้ตน (Self-accusatory delusion)
คิดว่าตนเองเจ็บป่วย (Hypochondriacal delusion หรือ Somatic delusion)
คิดว่าอวัยวะใดอวัยวะหนึ่งของร่างกายขาดหายไป (Nihilistic delusion)
2. อาการประสาทหลอน (Hallucination) เป็นความผิดปกติทางการรับรู้ด้วยประสาทสัมผัสทั้ง 5 โดยที่ไม่มีสิ่งเร้ามา
กระตุ้นจากภายนอก เช่น การเห็น การได้ยิน การได้กลิ่น และการรับรส โดยที่ไม่มีสิ่งเร้าจริงๆ เกิดขึ้น แต่ผู้ป่วยกลับ
รับรู้ได้ เช่น
ประสาทหลอนทางการเห็น (Visual hallucination) ผู้ป่วยมองเห็นภาพต่างๆ ที่ไม่มีอยู่จริง เช่น เห็นคนกาลังมาจะ
ทาร้ายตน
ประสาทหลอนทางการได้ยิน (Auditory hallucination) เช่น ผู้ป่วยได้ยินเสียงคนพูด หัวเราะ หรือด่าตน โดยที่ไม่มี
สถานการณ์เหล่านี้เกิดขึ้น
ประสาทหลอนทางการรับกลิ่น (Olfactory hallucination) เช่น ผู้ป่วยได้กลิ่นแปลกๆ โดยที่ผู้อื่นไม่ได้กลิ่นนั้นๆ
ประสาทหลอนทางการรับรส (Gustatory hallucination) ผู้ป่วยรู้สึกเหมือนได้รับรสแปลกๆ เกิดขึ้น เช่น มีรสหวาน
หรือรสขมที่ลิ้น
ประสาทหลอนทางการสัมผัส (Tactile hallucination) ผู้ป่วยรู้สึกเหมือนมีอะไรบางอย่างมาไต่ตอมตามผิวหนัง รู้สึก
คันผิวหนัง โดยที่ไม่มีสิ่งเร้าจริง
3. พฤติกรรมผิดไปจากเดิมอย่างมาก เช่น เก็บตัว ก้าวร้าว ไม่สนใจทากิจกรรมหรือกิจวัตรประจาวัน ไม่หลับไม่นอน
หมกมุ่นสนใจกับเรื่องทางไสยศาสตร์ หรือสิ่งที่เป็นนามธรรม เป็นต้น
สาเหตุของโรคจิต
ทางการแพทย์ยังไม่มีการระบุสาเหตุที่แน่ชัด แต่มีความเชื่อเกี่ยวกับปัจจัยสาคัญที่อาจส่งผลกระทบให้ผู้ป่วยเผชิญกับ
ภาวะโรคจิต ได้แก่
1. ปัจจัยภายใน
ความผิดปกติทางสมอง และระดับสารเคมีในสมอง โดยเฉพาะสารสื่อประสาทโดปามีน (Dopamine) ที่ทาหน้าที่
ควบคุมกระบวนการคิดและการรับรู้ที่นาไปสู่การเกิดพฤติกรรมต่างๆ หากการทางานของสมองและสารสื่อประสาท
ได้รับความกระทบกระเทือน อาจส่งผลให้เกิดอาการโรคจิตได้
ความผิดปกติทางจิต ทางบุคลิกภาพ และการปรับตัว
ความเจ็บป่วยทางร่างกายบางอย่างที่อาจส่งผลให้เกิดอาการโรคจิตได้ เช่น พักผ่อนไม่เพียงพอ ภาวะน้าตาลในเลือด
ต่า โรคไข้จับสั่นหรือมาลาเรีย โรคอัลไซเมอร์ โรคพาร์กินสัน โรคพุ่มพวง หรือโรคแพ้ภูมิตัวเอง โรคปลอกประสาท
อักเสบ (Multiple Sclerosis) โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ซิฟิลิส การติดเชื้อเอชไอวีและการมีเนื้องอกในสมอง เป็นต้น
การถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์ ผู้ที่มีบุคคลในครอบครัว เช่น พ่อ แม่ พี่ น้อง เป็นโรคจิต หรือโรคทางวิตเวชอื่นๆ อาจเพิ่ม
ความเสี่ยงต่อการเป็นโรคนี้ได้
2. ปัจจัยภายนอก การใช้ยาหรือการได้รับสารเคมีใดๆ เข้าสู่ร่างกายในทางที่ผิด หรือในปริมาณที่เกินพอดี อาจส่งผล
กระทบทาให้เกิดอาการโรคจิตได้ เช่น การดื่มแอลกอฮอล์ การเสพยาเสพติดอย่างโคเคน ยาบ้า (Amphetamine) ยา
ไอซ์ (Methamphetamine) ยาอี (MDMA: Ecstasy) ยาเค (Ketamine) หรือกัญชา เป็นต้น
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
ปรึกษาเลือกหัวข้อ
นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน
ศึกษารวบรวมข้อมูล
จัดทารายงาน
นาเสนอครู
ปรับปรุง
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
อินเตอร์เน็ต
เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง
คอมพิวเตอร์
หนังสือที่เกี่ยวข้อง
งบประมาณ
100
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1.ให้ข้อมูลแก่บุคคลที่ยังไม่ทราบถึงโรคนี้
2.ให้ข้อมูลวิธีการแก้ไขหรือแก้ปัญหา
3.ให้ข้อมูลถึงผลเสียที่อาจจะตามมาเกี่ยวกับโรคนี้
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
วิทยาศาสตร์
สุขศึกษา
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
https://www.youtube.com/watch?time_continue=2&v=BFgZSmXqf4Q&feature=emb_title
https://www.pobpad.com/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%88%E0%B8%B4
%E0%B8%95

More Related Content

What's hot

What's hot (20)

โครงงานกล้วยไม้ไทย
โครงงานกล้วยไม้ไทยโครงงานกล้วยไม้ไทย
โครงงานกล้วยไม้ไทย
 
2561 project (1)
2561 project  (1)2561 project  (1)
2561 project (1)
 
2562 final-project-18
2562 final-project-182562 final-project-18
2562 final-project-18
 
แบบร่างโครงงานคอม
แบบร่างโครงงานคอมแบบร่างโครงงานคอม
แบบร่างโครงงานคอม
 
Work
WorkWork
Work
 
Jj
JjJj
Jj
 
615 35 wpdf
615 35 wpdf615 35 wpdf
615 35 wpdf
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project ออกกำลังกาย2
2560 project ออกกำลังกาย22560 project ออกกำลังกาย2
2560 project ออกกำลังกาย2
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Chel
ChelChel
Chel
 
Project1607
Project1607Project1607
Project1607
 
สารคดี
สารคดีสารคดี
สารคดี
 
2562 final-project -1
2562 final-project -12562 final-project -1
2562 final-project -1
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
การขับขี่อย่างปลอดภัย1
การขับขี่อย่างปลอดภัย1การขับขี่อย่างปลอดภัย1
การขับขี่อย่างปลอดภัย1
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
 
2562-final-project_17
2562-final-project_172562-final-project_17
2562-final-project_17
 
Project com 47
Project com 47Project com 47
Project com 47
 
2562 final-project 48
2562 final-project 482562 final-project 48
2562 final-project 48
 

Similar to 2562 final-project-8 (20)

2562 final-project-8
2562 final-project-82562 final-project-8
2562 final-project-8
 
AT1AT1
AT1AT1AT1AT1
AT1AT1
 
At1
At1At1
At1
 
Sitanon com
Sitanon comSitanon com
Sitanon com
 
2562 final-project 08
2562 final-project 082562 final-project 08
2562 final-project 08
 
Project1
Project1Project1
Project1
 
Sitanon chaisaen 607 31
Sitanon chaisaen 607 31Sitanon chaisaen 607 31
Sitanon chaisaen 607 31
 
2561 project 605new
2561 project  605new2561 project  605new
2561 project 605new
 
EXERCISE 1 ( PROJECT )
EXERCISE 1 ( PROJECT )EXERCISE 1 ( PROJECT )
EXERCISE 1 ( PROJECT )
 
Phosis
PhosisPhosis
Phosis
 
AT22
AT22AT22
AT22
 
604 36 เคป่ะ
604 36 เคป่ะ 604 36 เคป่ะ
604 36 เคป่ะ
 
48586project
48586project48586project
48586project
 
2561 project-pichaya
2561 project-pichaya 2561 project-pichaya
2561 project-pichaya
 
2560 project 1
2560 project 12560 project 1
2560 project 1
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
002
002002
002
 
2562 final-project (1)
2562 final-project  (1)2562 final-project  (1)
2562 final-project (1)
 
2560 project ใบงานที่5
2560 project ใบงานที่52560 project ใบงานที่5
2560 project ใบงานที่5
 

More from Mai Lovelove

More from Mai Lovelove (20)

2562 final-project 23-40
2562 final-project 23-402562 final-project 23-40
2562 final-project 23-40
 
2562 final-project -1-23
2562 final-project -1-232562 final-project -1-23
2562 final-project -1-23
 
Pastel watercolor-painted-power point-template
Pastel watercolor-painted-power point-templatePastel watercolor-painted-power point-template
Pastel watercolor-painted-power point-template
 
Presentation 3-612-19-28
Presentation 3-612-19-28Presentation 3-612-19-28
Presentation 3-612-19-28
 
Finalproject 21 25
Finalproject 21 25Finalproject 21 25
Finalproject 21 25
 
computer
computercomputer
computer
 
Psychosis
PsychosisPsychosis
Psychosis
 
Computer3.1
Computer3.1Computer3.1
Computer3.1
 
Work 3
Work 3Work 3
Work 3
 
Work2
Work2Work2
Work2
 
Nightice612
Nightice612Nightice612
Nightice612
 
Work2 ice
Work2 iceWork2 ice
Work2 ice
 
Night2
Night2Night2
Night2
 
Nightohm612
Nightohm612Nightohm612
Nightohm612
 
Finalproject m.612 no-2125
Finalproject m.612 no-2125Finalproject m.612 no-2125
Finalproject m.612 no-2125
 
Night612
Night612Night612
Night612
 
2562 final-project 612-33
2562 final-project 612-332562 final-project 612-33
2562 final-project 612-33
 
2562 final-project 255555
2562 final-project 2555552562 final-project 255555
2562 final-project 255555
 
2562 final-project 25 (1)
2562 final-project 25 (1)2562 final-project 25 (1)
2562 final-project 25 (1)
 
2562 final-project 25
2562 final-project 252562 final-project 25
2562 final-project 25
 

2562 final-project-8

  • 1. แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน โรคจิต (Psychosis) ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ นาย ชญานนท์ สิงหธนากร เลขที่ 8 ชั้น ม.6 ห้อง 12 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม (ถ้ามี) - ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
  • 2. สมาชิกในกลุ่ม 1 นาย ชญานนท์ สิงธนากร เลขที่ 8 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) โรคจิต ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Psychosis ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media) ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย ชญานนท์ สิงหธนากร ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม - ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่1/2562 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) บ้านเรายังมีความเข้าใจผิดเกี่ยวกับเรื่องโรคจิตอยู่ไม่น้อย ตัวอย่างเช่น ในภาพยนต์โทรทัศน์ตัวแสดงที่รับบท เป็นโรคจิต ก็แสดงโดยมีลักษณะงุนงง สับสน เดี๋ยวก็จาญาติได้เดี๋ยวก็จาไม่ได้ หรือบางครั้งก็ทาท่าทางเซ่อๆ ซ่าๆ หรือ ญาติของผู้ที่เป็นโรคจิตบางครั้งก็มาปรึกษาว่าไม่คิดว่าเขาจะเป็นโรคจิตน่าจะแค่มีปัญหาแล้วคิดมากเท่านั้น เพราะยัง พูดจากันรู้เรื่องดี ใช้ให้ทาอะไรก็ทาได้ เพียงแต่ดูเงียบลงเท่านั้น ตามจริงแล้วโรคจิตมีด้วยกันหลายชนิดแต่ละชนิดก็มี ลักษณะอาการแตกต่างกันออกไปบ้าง อย่างไรก็ตามจะต้องมีบางอาการดังต่อไปนี้จึงจะถือว่าเป็นโรคจิต โรคจิตที่ เกิดจากความเจ็บป่วยทางร่างกายเป็นอาการโรคจิตที่เกิดจากความเจ็บป่วยทางร่างกาย อย่างไรก็ตาม ไม่ใช่ว่าโรคทาง ร่างกายจะทาให้เกิดโรคจิตได้ทุกโรค เช่น เราคงไม่คิดว่าโรคลาไส้อักเสบจะเป็นสาเหตุของโรคจิต แต่ถ้าเกิดอุบัติเหตุ หมดสติไปเป็นวันพอรู้ตัวขึ้นมาก็วุ่นวาย หวาดกลัว อย่างนี้ก็น่าจะเกี่ยวข้องกัน ด้วยเหตุผลดังกล่าว โรคจิตจึงเป็นโรค ที่ควรศึกษาเพิ่มเติม วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.ให้ข้อมูลแก่บุคคลที่ยังไม่ทราบถึงโรคนี้ 2.ให้ข้อมูลวิธีการแก้ไขหรือแก้ปัญหา 3.ให้ข้อมูลถึงผลเสียที่อาจจะตามมาเกี่ยวกับโรคนี้ ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) 1.กลุ่มคนที่เสี่ยงจะมีอาการตามโรคดังกล่าว 2.บุคคลทั่วไปที่อยากศึกษา
  • 3. หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) โรคจิต (Psychosis) คือ โรคทางจิตเวชชนิดหนึ่ง ซึ่งอาจแบ่งออกเป็นหลายชนิดแยกย่อยไปตามลักษณะ อาการที่เด่น โดยส่วนใหญ่ผู้ที่เป็นโรคจิตจะไม่ทราบว่าตนเองผิดปกติไป และจะเชื่อว่าสิ่งที่เกิดขึ้นกับตัวเองเป็นเช่นนั้น จริงๆ ไม่เคยคิดสงสัยว่าไม่น่าจะเป็นไปได้ หรือสิ่งที่เกิดขึ้นนั้นไม่สมเหตุสมผล อาการของโรคจิต อาการหลักๆ ของโรคจิต แบ่งได้เป็น 3 ลักษณะ คือ 1. อาการหลงผิด (Delusion) เป็นความผิดปกติทางความคิด ทาให้ผู้ป่วยมีความเชื่อและความคิดในเรื่องต่างๆ ที่ไม่ เป็นไปตามหลักความจริง และมักเกิดจากความเชื่อที่ฝังใจ หรือเป็นความคิดที่ยากจะให้เหตุผลได้อย่างชัดเจน อาการ หลงผิดที่เกิดขึ้นสังเกตได้ดังนี้ คิดว่าตัวเองใหญ่โต ร่ารวย เป็นคนใหญ่คนโต (Grandeur delusion) คิดว่ามีคนอื่นปองร้าย (Persecution delusion) คิดว่าคนอื่นหลงรักหรือคลั่งไคล้ตน (Self-accusatory delusion) คิดว่าตนเองเจ็บป่วย (Hypochondriacal delusion หรือ Somatic delusion) คิดว่าอวัยวะใดอวัยวะหนึ่งของร่างกายขาดหายไป (Nihilistic delusion) 2. อาการประสาทหลอน (Hallucination) เป็นความผิดปกติทางการรับรู้ด้วยประสาทสัมผัสทั้ง 5 โดยที่ไม่มีสิ่งเร้ามา กระตุ้นจากภายนอก เช่น การเห็น การได้ยิน การได้กลิ่น และการรับรส โดยที่ไม่มีสิ่งเร้าจริงๆ เกิดขึ้น แต่ผู้ป่วยกลับ รับรู้ได้ เช่น ประสาทหลอนทางการเห็น (Visual hallucination) ผู้ป่วยมองเห็นภาพต่างๆ ที่ไม่มีอยู่จริง เช่น เห็นคนกาลังมาจะ ทาร้ายตน ประสาทหลอนทางการได้ยิน (Auditory hallucination) เช่น ผู้ป่วยได้ยินเสียงคนพูด หัวเราะ หรือด่าตน โดยที่ไม่มี สถานการณ์เหล่านี้เกิดขึ้น ประสาทหลอนทางการรับกลิ่น (Olfactory hallucination) เช่น ผู้ป่วยได้กลิ่นแปลกๆ โดยที่ผู้อื่นไม่ได้กลิ่นนั้นๆ ประสาทหลอนทางการรับรส (Gustatory hallucination) ผู้ป่วยรู้สึกเหมือนได้รับรสแปลกๆ เกิดขึ้น เช่น มีรสหวาน หรือรสขมที่ลิ้น ประสาทหลอนทางการสัมผัส (Tactile hallucination) ผู้ป่วยรู้สึกเหมือนมีอะไรบางอย่างมาไต่ตอมตามผิวหนัง รู้สึก คันผิวหนัง โดยที่ไม่มีสิ่งเร้าจริง 3. พฤติกรรมผิดไปจากเดิมอย่างมาก เช่น เก็บตัว ก้าวร้าว ไม่สนใจทากิจกรรมหรือกิจวัตรประจาวัน ไม่หลับไม่นอน หมกมุ่นสนใจกับเรื่องทางไสยศาสตร์ หรือสิ่งที่เป็นนามธรรม เป็นต้น สาเหตุของโรคจิต ทางการแพทย์ยังไม่มีการระบุสาเหตุที่แน่ชัด แต่มีความเชื่อเกี่ยวกับปัจจัยสาคัญที่อาจส่งผลกระทบให้ผู้ป่วยเผชิญกับ ภาวะโรคจิต ได้แก่ 1. ปัจจัยภายใน ความผิดปกติทางสมอง และระดับสารเคมีในสมอง โดยเฉพาะสารสื่อประสาทโดปามีน (Dopamine) ที่ทาหน้าที่ ควบคุมกระบวนการคิดและการรับรู้ที่นาไปสู่การเกิดพฤติกรรมต่างๆ หากการทางานของสมองและสารสื่อประสาท ได้รับความกระทบกระเทือน อาจส่งผลให้เกิดอาการโรคจิตได้
  • 4. ความผิดปกติทางจิต ทางบุคลิกภาพ และการปรับตัว ความเจ็บป่วยทางร่างกายบางอย่างที่อาจส่งผลให้เกิดอาการโรคจิตได้ เช่น พักผ่อนไม่เพียงพอ ภาวะน้าตาลในเลือด ต่า โรคไข้จับสั่นหรือมาลาเรีย โรคอัลไซเมอร์ โรคพาร์กินสัน โรคพุ่มพวง หรือโรคแพ้ภูมิตัวเอง โรคปลอกประสาท อักเสบ (Multiple Sclerosis) โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ซิฟิลิส การติดเชื้อเอชไอวีและการมีเนื้องอกในสมอง เป็นต้น การถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์ ผู้ที่มีบุคคลในครอบครัว เช่น พ่อ แม่ พี่ น้อง เป็นโรคจิต หรือโรคทางวิตเวชอื่นๆ อาจเพิ่ม ความเสี่ยงต่อการเป็นโรคนี้ได้ 2. ปัจจัยภายนอก การใช้ยาหรือการได้รับสารเคมีใดๆ เข้าสู่ร่างกายในทางที่ผิด หรือในปริมาณที่เกินพอดี อาจส่งผล กระทบทาให้เกิดอาการโรคจิตได้ เช่น การดื่มแอลกอฮอล์ การเสพยาเสพติดอย่างโคเคน ยาบ้า (Amphetamine) ยา ไอซ์ (Methamphetamine) ยาอี (MDMA: Ecstasy) ยาเค (Ketamine) หรือกัญชา เป็นต้น วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน ปรึกษาเลือกหัวข้อ นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน ศึกษารวบรวมข้อมูล จัดทารายงาน นาเสนอครู ปรับปรุง เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ อินเตอร์เน็ต เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง คอมพิวเตอร์ หนังสือที่เกี่ยวข้อง งบประมาณ 100 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน
  • 5. ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1.ให้ข้อมูลแก่บุคคลที่ยังไม่ทราบถึงโรคนี้ 2.ให้ข้อมูลวิธีการแก้ไขหรือแก้ปัญหา 3.ให้ข้อมูลถึงผลเสียที่อาจจะตามมาเกี่ยวกับโรคนี้ สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง วิทยาศาสตร์ สุขศึกษา แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) https://www.youtube.com/watch?time_continue=2&v=BFgZSmXqf4Q&feature=emb_title https://www.pobpad.com/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%88%E0%B8%B4 %E0%B8%95