SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
1 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 
รหัสวิชา ง 33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและ 
การสื่อสาร 6 
ปีการศึกษา 2557 
ชื่อโครงงาน องค์ประกอบชองเซลล์สัตว์ 
ชื่อผู้ทำาโครงงาน 
นางสาวปรางวดี ศรีเกษ เลขที่ 4 ชั้น ม. 6 ห้อง 8 
นางสาวสืบขวัญ นาวายุทธ เลขที่ 6 ชั้น ม. 6 ห้อง 8 
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ 
ระยะเวลาดำาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการ 
ศึกษา 2557 
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ 
สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2 
ใบงาน 
การจัดทำาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ 
สมาชิกในกลุ่ม 
1. นางสาวปรางวดี ศรีเกษ เลขที่ 4 
2. นางสาวสืบขวัญ นาวายุทธ เลขที่ 6 
คำาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อ 
ไปนี้ 
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) 
องค์ประกอบของเซลล์สัตว์ 
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) 
Animal Cell Structure 
ประเภทโครงงาน สื่อการเรียนการสอน 
ชื่อผู้ทำาโครงงาน 1. น.ส.ปรางวดี ศรีเกษ เลขที่ 4 ชั้น 
ม. 6 ห้อง 8 
2. น.ส.สืบขวัญ นาวายุทธ เลขที่ 6 ชั้น ม. 6 
ห้อง 8 
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ 
ชื่อที่ปรึกษาร่วม - 
ระยะเวลาดำาเนินงาน เดือนพฤศจิกายน 2557 – เดือน 
กุมภาพันธ์ 2558 
ที่มาและความสำาคัญของโครงงาน 
ปัจจุบันมีการเรียนการสอนเรื่องเซลล์ในระดับมัธยมศึกษา 
ตอนปลาย ซึ่งเป็นเรื่องที่สำาคัญในการต่อยอดไปในเรื่องอื่นๆใน 
วิชาชีววิทยาแทบทุกบท หากมีความรู้เรื่องเซลล์ไม่เข้าใจเท่าที่ควร 
ก็จะทำาให้การเรียนรู้ในวิชาชีววิทยาในเรื่องอื่นๆมีปัญหาตามมา 
ส่งผลกระทบเป็นทอดๆ ทำาให้ความรู้ความเข้าใจไม่สามารถเข้าถึง 
แก่นหลักในวิชาเนื้อหานี้ได้อย่างเข้าใจจริง เรื่องเซลล์นี้อาจเป็น 
เรื่องที่ยากหรือไม่สามารถจดจำาส่วนประกอบแต่ละส่วนได้อย่าง 
ชัดเจนอาจเป็นเพราะชื่อที่ยากต่อการจดจำาหรืออาจเป็นเพราะส่วน 
ประกอบของเซลล์นั้นมีหลากหลายและลำ้าลึกเกินไป แต่เรื่องเซลล์ 
นั้นเซลล์ยังเป็นเรื่องใกล้ตัวที่น่าสนใจและควรรู้ เพราะหากมีความ
3 
รู้เรื่องเซลล์ที่ดีเราจำาสามารถนำามาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำาวันได้ 
อย่างมากมาย แต่ในปัจจุบัน กลับยังไม่มีสื่อการเรียนการสอนเรื่อง 
เซลล์ของสัตว์ในโลกออนไลน์ที่ครบถ้วนสมบูรณ์ ฟรี และหาง่าย 
เท่าที่ควร ถึงแม้เรานั้นอาจค้นคว้าแต่กลับไม่มีข้อมูลที่ตรงกับความ 
ต้องการของเราหรือไม่มีข้อมูลที่เรานั้นสามารถทำาความเข้าใจที่ 
ตรงกับความเข้าใจของเรามากเท่าที่ควร และบางทีสื่อการสอน 
เหล่านี้อาจมีตัวหนังสือไม่สวยงาม อ่านยาก ทำาให้มีความรู้สึกไม่ 
อยากทำาความเข้าใจ ซึ่งเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นได้ เพราะทุกคนนั้นล้วน 
แต่ต้องการสื่อการสอนที่มีความสวยงามและสามารถเข้าใจได้โดย 
ง่ายเพื่อความสะดวกในการเรียนรู้ วิชาชีวะนั้นทุกคนอาจคิดว่า 
เป็นวิชาที่ท่องจำา เป็นวิชาที่คนที่ชอบจำาเท่านั้นถึงจะชอบวิชานี้ แต่ 
ถ้าเราสามารถจดจำาได้โดยรูปภาพเราก็จะสามารถจำาเรื่องราว 
ต่างๆได้มากยิ่งขึ้น การจดจำาเรื่องๆหนึ่งคล้ายกับการจัดเรียงใน 
สมองเมื่อนึกถึงสิ่งๆหนึ่งเราก็จะนึกถึงสิ่งที่เกี่ยวข้องกับสิ่งนั้นได้ 
โดยอัตโนมัติโดยไม่ต้องนั่งนึกคิดนานว่าสิ่งนี้หมายความว่า 
อย่างไร ไม่ต้องตีความให้ซับซ้อน ความคิดจะออกมาโดยทันทีที่ 
เราคิด ยกตัวอย่างเช่นเมื่อนึกถึงแอปเปิ้ลเราก็จะนึกถึงพาย 
แอปเปิ้ล นำ้าแอปเปิ้ล หรือผลไม้อื่นๆที่มีสีแดงตามสีของผลแอปเปิ้ล 
ดวงอาทิตย์ หรืออื่นๆอีกมากมายที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ดังนั้นถ้าเรา 
สามารถจัดเรียงข้อมูลต่างๆได้อย่างเรียบร้อยเป็นระเบียบ ถ้าเกิด 
เราฝึกฝนการจดจำาบ่อยๆก็จะทำาให้เราสามารถจดจำาข้อมูลนั้นได้ 
อย่างแม่นยำาและชัดเจนยิ่งขึ้น 
สื่อการเรียนการสอนเรื่องเซลล์ของสัตว์ที่กลุ่มของข้าพเจ้านั้น 
จะสามารถไขข้อสงสัยเกี่ยวกับเซลล์ในปัญหาที่เราสงสัย ทำาให้เรา 
นั้นเกิดความเข้าใจในเรื่องนี้มากขึ้น ทำาให้หายสงสัยในประเด็นที่ 
เราไม่เข้าใจ ช่วยส่งเสริมความเข้าใจให้เรามากขึ้นยิ่งกว่าเดิม 
ความเข้าใจถือว่าเป็นเรื่องสำาคัญเรื่องหนึ่ง กลุ่มของของ 
ข้าพเจ้าก็ได้ตระหนักถึงเรื่องนี้ ด้วยเหตุนี้กลุ่มของข้าพเจ้าจึงตั้งใจ 
จะทำาสื่อการเรียนการสอนเรื่องเซลล์ของสัตว์นี้ให้สวยงาม เข้าถึง 
ง่าย และมีข้อมูลถูกต้องครบถ้วนสมบูรณ์ เพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อผู้ 
ที่สนใจไม่มากก็น้อย เพื่อเป็นข้อมูลในการศึกษาค้นคว้าเรียนรู้หรือ 
สามารถต่อยอดสื่อการเรียนการสอนนี้ต่อไปในอนาคตภายภาค 
หน้า 
วัตถุประสงค์ 
1. เพื่อเผยแพร่ความรู้เรื่องเซลล์ของสัตว์ที่ถูกต้องและครบถ้วน 
สมบูรณ์แก่ผู้ที่สนใจ 
2. เพื่อเป็นการทบทวนความรู้แก่ผู้จัดทำา
4 
3. เพื่อเป็นแนวทางการจัดทำาสื่อการเรียนรู้เรื่องเซลล์สัตว์ต่อไป 
ขอบเขตโครงงาน 
เซลล์ของสัตว์ อันประกอบไปด้วยประวัติการค้นพบเซลล์ 
โครงสร้าง และหน้าที่ของ นิวเคลียส เยื่อหุ้มเซลล์ และออแกเนลล์ 
ต่างๆ ได้แก่ ไรโบโซม ไมโทคอนเดรีย ไซโตสเกเลตอล เอนโด 
พลาสมิกเรติคิวลัม กอลจิบอดี แวคิวโอล ไลโซโซม เพอรอกซิโซม 
หลักการและทฤษฎี 
เซลล์ (Cell) หมายถึง หน่วยพื้นฐานที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต มี 
รูปร่างลักษณะและขนาดแตกต่างกันขึ้นอยู่กับชนิดของสิ่งมีชีวิต 
และหน้าที่ของเซลล์เหล่านั้นเซลล์ที่มีขนาดเล็กที่สุดคือ ไมโคร 
พลาสมา (Mycoplasma) หรือ PPLO (Pleuropneumonia - like 
organism) มีขนาดประมาณ 0.1 - 0.25 m 
เซลล์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด คือ เซลล์ไข่นกกระจอกเทศ 
ประวัติการศึกษาเซลล ์ (Cell) 
ศตวรรษที่ 17 กาลิเลโอ ได้ประดิษฐ์แว่นขยายกำาลังขยาย 2-5 เท่า 
ส่องดูสิ่งมีชีวิตเล็กๆ 
ค.ศ.1665 Robert Hook ได้ประดิษฐ์กล้องจุลทรรศน์เลนส์ประกอบ 
ได้สำาเร็จ ซึ่งมีกำาลังขยาย 270 เท่า และนำาไปส่องดูไม้คอร์กที่ 
เฉือนบางๆและพบห้องว่างมากมายที่เขาเรียกว่า Cell 
ค.ศ.1839 ชวานน์และชไลเดน ได้เสนอ ทฤษฎีเซลล์ 
ทฤษฎีเซลล ์ (Cell Theory) 
เสนอโดย Schwann และ Schleiden มีใจความสำาคัญว่า สิ่งมีชีวิต 
ทั้งหลายประกอบด้วยเซลล์และผลิตภัณฑ์ของเซลล์ ในปัจจุบัน พบ 
ว่าสิ่งมีชีวิตที่ไม่ประกอบด้วยเซลล์ก็มี เช่น Virus และ Viroid 
เพราะเหตุว่า ไม่มีเยื่อหุ้มเซลล์และโพรโทพลาซึม 
ส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์สัตว์ ประกอบด้วย
5 
เยื่อหุ้มเซลล ์ (Cell membrane) พบในเซลล์สิ่งมีชีวิตทุกชนิด 
ควบคุมการผ่านเข้าออกของสารเพราะมีสมบัติเป็นเยื่อเลือกผ่าน 
ประกอบด้วยไขมันและโปรตีนอยู่รวมกันเป็น Fluid mosaic 
model กล่าวคือ โมเลกุลของฟอสโฟลิพิดเรียงกันเป็น 2 ชั้น หัน 
ด้านมีขั้วซึ่งชอบรวมตัวกับนำ้า (Hydrophilic)ออกด้านนอก และหัน 
ด้านไม่มีขั้นซึ่งไม่ชอบรวมกับนำ้า (Hydrophobic) เข้าข้างใน และ 
มีการเคลื่อนที่ไหลไปมาได้ ส่วนโปรตีนมีลักษณะเป็นก้อน 
(Globular) ฝังหรือลอยอยู่ในชั้นไขมัน และอาจพบคาร์โบไฮเดรต 
เกาะที่ผิวโปรตีนด้วยก็ได้ ไซโทพลาซึม (Cytoplasm) เป็น 
ของเหลวภายในเซลล์ที่อยู่รอบ ๆ นิวเคลียสประกอบด้วย 
คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน และแร่ธาตุต่าง ๆ ไซโทพลาซึมมี 
ออร์แกแนลล์ (Organelle) หลายชนิด ทำาหน้าที่ต่าง ๆ กัน 
1. ไรโบโซม (Ribosome) 
มีลักษณะเป็นทรงกลมขนาดเล็กประมาณ 20 nm ประกอบด้วย 
rRNA และโปรตีน พบทั่วไปในไซโทพลาสซึม ไมโทคอนเดรีย 
คลอโรพลาสต์ มีหน้าที่สังเคราะห์โปรตีนสำาหรับใช้ภายในเซลล์ 
และส่งออกไปใช้นอกเซลล์ 
2. เซนทริโอล (Centriole) 
เป็นท่อกลวง ประกอบด้วยไมโครทิวบูล 9 กลุ่ม กลุ่มละ 3 ท่อ เรียง 
กันเป็นวงกลม เรียกว่า 9 + 0 (ตรงกลางไม่มีไมโครทิวบูล)มีหน้าที่ 
สร้างเส้นใยสปินเดิล 
3 . ไมโครทิวบูล (Microtubule) 
ประกอบด้วยโปรตีนพวกทิวบูลินเรียงต่อกันเป็นวงเห็นเป็นท่อ 
มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวของเซลล์ 
4 . ไลโซโซม (Lysosome) 
พบเฉพาะในเซลล์สัตว์ มีกำาเนิดจากกอลจิคอมเพลกซ์ มีเอนไซม์ 
สำาหรับการย่อยสลายสารต่าง ๆ ภายในเซลล์ 
5. ร่างแหเอนโดพลาซึม (Endoplasmic reticulum) 
เป็นเมมเบรนที่เชื่อมต่อกับเยื่อหุ้มเซลล์และเยื่อหุ้มนิวเคลียสได้ ไม่ 
พบในเซลล์ของโพรแคริโอต แบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ คือร่างแห 
เอนโดพลาซึมแบบผิวขรุขระ และร่างแหเอนโดพลาซึมแบบผิว 
เรียบ
6 
6 . กอลจิคอมเพลกซ ์ (Golgi complex) 
เป็นถุงแบนบางเรียบซ้อนกันเป็นตั้ง ๆ 5 - 8 ชั้น ภายในมีของเหลว 
ส่วนปลายทั้งสองข้างยื่นพองออกเป็นถุงเล็ก ๆ เรียกว่า เวซิเคิล 
(vesicle) มีบทบาทในการสร้างไลโซโซม เป็นแหล่งสะสมสารต่าง 
ๆ ก่อนนำาไปใช้ในกิจกรรมของเซลล์ 
7 . ไมโทรคอนเดรีย (Mitochondria) 
มีหน้าที่สร้างพลังงานให้แก่เซลล์ (ส่วนใหญ่อยู่ในรูป ATP) 
8. แวคิวโอล (Vacuole) 
มีลักษณะเป็นถุงมีเยื่อหุ้มบาง ๆ เรียกว่า โทโนพลาสต์ 
(Tonoplast) 
ภายใต้มีของเหลวหรือสารหลายชนิดบรรจุอยู่ แบ่งออกเป็น 3 แบบ 
คือ 
ฟูดแวคิวโอล (Food vacuole) 
คอนแทร็กไทล์แวคิวโอล (Contractile vacuole) 
แซปแวคิวโอล (Sap vacuole) 
นิวเคลียส (Nucleus) 
มีรูปร่างคล้ายทรงกลม โดยทั่วไปมีเพียง 1 นิวเคลียสเท่านั้น แต่ใน 
สิ่งมีชีวิตชั้นตำ่าบางชนิด มี 2 นิวเคลียส เช่น พารามีเซียม สำาหรับ 
เซลล์เม็ดเลือดแดงของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเมื่อเจริญเต็มที่จะไม่มี 
นิวเคลียส 
นิวเคลียสถือว่าเป็นศูนย์กลางควบคุมการทำางานของเซลล์ มีองค์ 
ประกอบที่สำาคัญดังนี้ 
เยื่อหุ้มนิวเคลียส (Nuclear membrane) เป็นยูนิตเมมเบรน 2 ชั้น 
ที่มีสมบัติเป็นเยื่อเลือกผ่านเช่นเดียวกับเยื่อหุ้มเซลล์ เยื่อหุ้มชั้น 
นอกมีไรโบโซมเกาะอยู่ ผิวของเยื่อหุ้มมีรูเล็ก ๆ (annulus) 
กระจายทั่วไปเป็นช่องติดต่อระหว่างของเหลวในนิวเคลียสกับ 
ของเหลวในไซโทพลาสซึม 
นิวคลีออลัส (Nucleous) เห็นชัดเจนในภาวะปกติที่เซลล์ยังไม่มี 
การแบ่งตัวไม่มีเยื่อหุ้ม เป็นบริเวณที่สะสม RNA และสังเคราะห์ไร 
โบโซม 10 เปอร์เซ็นต์ และ RNA 4 เปอร์เซ็นต์
7 
โครโมโซม (Chromosome) เป็นเส้นใยเล็ก ๆ เรียกว่า โครมาทิน 
(Chromatin) ซึ่งก็คือ โมเลกุลของ DNA ที่มีโปรตีนหุ้มนั่นเอง 
โครโมโซมประกอบด้วย 2 โครมาทิด (Chromatid) เชื่อมกันที่ 
เซนโทรเมียร์ (Centromere) 
วิธีดำาเนินงาน 
- แนวทางการดำาเนินงาน 
ค้นหาข้อมูลจากทั้งในหนังสือและอินเทอร์เน็ต พิสูจน์ว่า 
ความรู้นั้นถูกต้อง และนำามาสรุปเป็นภาษาของผู้จัดทำาเอง 
และนำาเสนอโดยใช้พาวเวอร์พ้อยท์ 
- เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 
หนังสือเรียนชีววิทยา ความรู้จากอินเทอร์เน็ต และพาว 
เวอร์พ้อยท์ 
- งบประมาณ 
ไม่มีค่าใช้จ่าย 
ขั้นตอนและแผนดำาเนินงาน 
ลำา 
ดับ 
ที่ 
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิด 
ชอบ 
1 2 3 4 5 6 7 8 9 
1 
0 
1 
1 
1 
2 
1 
3 
1 
4 
1 
5 
1 
6 
17 
1 คิดหัวข้อโครงงาน สืบขวัญ 
2 ศึกษาและค้นคว้า 
ข้อมูล 
สืบขวัญ 
3 จัดทำาโครงร่างงาน สืบขวัญ 
4 ปฏิบัติการสร้าง 
โครงงาน 
ปรางวดี 
5 ปรับปรุงทดสอบ สืบขวัญ 
6 การทำาเอกสาร ปรางวดี
8 
รายงาน 
7 ประเมินผลงาน ปราง 
วดี,สืบ 
ขวัญ 
8 นำาเสนอโครงงาน ปรางวดี 
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 
ผู้ที่สนใจได้รับความรู้จากพาวเวอร์พ้อยท์ที่จัดทำาขึ้น สามารถ 
นำาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำาวันได้ เช่น การสอบ และผู้จัดทำาก็ได้ 
ทบทวนความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิตจากการทำาโครงงานนี้ด้วย 
สถานที่ดำาเนินการ 
ห้องสมุดกาญจนาภิเษก โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 
กลุ่มสาระการเรียนรู้เทคโนโลยีและสารสนเทศ 
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ 
แหล่งอ้างอิง 
หนังสือเรียนชีววิทยา ระดับมัธยมปลาย 
เวปไซต์ต่างๆ

More Related Content

What's hot

ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียงติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียงWichai Likitponrak
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์Kittiya GenEnjoy
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์Kankamol Kunrat
 
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์chawisa44361
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์Sukan
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)Thanyamon Chat.
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์dnavaroj
 
เซเรบอส Brands วิชาชีววิทยา (192 หน้า) new
เซเรบอส Brands วิชาชีววิทยา (192 หน้า) newเซเรบอส Brands วิชาชีววิทยา (192 หน้า) new
เซเรบอส Brands วิชาชีววิทยา (192 หน้า) newfindgooodjob
 
สื่อการเรียนรู้การแบ่งเซลล์.
สื่อการเรียนรู้การแบ่งเซลล์.สื่อการเรียนรู้การแบ่งเซลล์.
สื่อการเรียนรู้การแบ่งเซลล์.Kururu Heart
 
โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.itualeksuriya
 
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 

What's hot (19)

ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียงติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
 
Cell
CellCell
Cell
 
Cell.ppt25 copy
Cell.ppt25   copyCell.ppt25   copy
Cell.ppt25 copy
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
 
Cell structure
Cell structureCell structure
Cell structure
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
ใบงานที่7.1
ใบงานที่7.1ใบงานที่7.1
ใบงานที่7.1
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
 
เซเรบอส Brands วิชาชีววิทยา (192 หน้า) new
เซเรบอส Brands วิชาชีววิทยา (192 หน้า) newเซเรบอส Brands วิชาชีววิทยา (192 หน้า) new
เซเรบอส Brands วิชาชีววิทยา (192 หน้า) new
 
Cell
CellCell
Cell
 
Cell+&+organelles acr
Cell+&+organelles acrCell+&+organelles acr
Cell+&+organelles acr
 
สื่อการเรียนรู้การแบ่งเซลล์.
สื่อการเรียนรู้การแบ่งเซลล์.สื่อการเรียนรู้การแบ่งเซลล์.
สื่อการเรียนรู้การแบ่งเซลล์.
 
โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.
 
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 

Similar to โครงงานคอม

โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)Prangwadee Sriket
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
โครงงานงานคอม (2)
โครงงานงานคอม (2)โครงงานงานคอม (2)
โครงงานงานคอม (2)Onin Goh
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยาDarika Kanhala
 
โครงงานคอม 1
โครงงานคอม 1โครงงานคอม 1
โครงงานคอม 1Prangwadee Sriket
 
M.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวM.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวWeeraphon Parawach
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตpongrawee
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตTakky Pinkgirl
 
Pont มุนี
Pont มุนีPont มุนี
Pont มุนีmu_nin
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์Sukan
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์Sukan
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์Sukan
 
การศึกษาเซลล์
การศึกษาเซลล์การศึกษาเซลล์
การศึกษาเซลล์Issara Mo
 

Similar to โครงงานคอม (20)

โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานงานคอม (2)
โครงงานงานคอม (2)โครงงานงานคอม (2)
โครงงานงานคอม (2)
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยา
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
โครงงานคอม 1
โครงงานคอม 1โครงงานคอม 1
โครงงานคอม 1
 
4
44
4
 
M.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวM.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติว
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
Cell2
Cell2Cell2
Cell2
 
B03
B03B03
B03
 
Pont มุนี
Pont มุนีPont มุนี
Pont มุนี
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
 
การศึกษาเซลล์
การศึกษาเซลล์การศึกษาเซลล์
การศึกษาเซลล์
 
4
44
4
 
4
44
4
 

โครงงานคอม

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง 33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2557 ชื่อโครงงาน องค์ประกอบชองเซลล์สัตว์ ชื่อผู้ทำาโครงงาน นางสาวปรางวดี ศรีเกษ เลขที่ 4 ชั้น ม. 6 ห้อง 8 นางสาวสืบขวัญ นาวายุทธ เลขที่ 6 ชั้น ม. 6 ห้อง 8 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดำาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการ ศึกษา 2557 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทำาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1. นางสาวปรางวดี ศรีเกษ เลขที่ 4 2. นางสาวสืบขวัญ นาวายุทธ เลขที่ 6 คำาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อ ไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) องค์ประกอบของเซลล์สัตว์ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Animal Cell Structure ประเภทโครงงาน สื่อการเรียนการสอน ชื่อผู้ทำาโครงงาน 1. น.ส.ปรางวดี ศรีเกษ เลขที่ 4 ชั้น ม. 6 ห้อง 8 2. น.ส.สืบขวัญ นาวายุทธ เลขที่ 6 ชั้น ม. 6 ห้อง 8 ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม - ระยะเวลาดำาเนินงาน เดือนพฤศจิกายน 2557 – เดือน กุมภาพันธ์ 2558 ที่มาและความสำาคัญของโครงงาน ปัจจุบันมีการเรียนการสอนเรื่องเซลล์ในระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย ซึ่งเป็นเรื่องที่สำาคัญในการต่อยอดไปในเรื่องอื่นๆใน วิชาชีววิทยาแทบทุกบท หากมีความรู้เรื่องเซลล์ไม่เข้าใจเท่าที่ควร ก็จะทำาให้การเรียนรู้ในวิชาชีววิทยาในเรื่องอื่นๆมีปัญหาตามมา ส่งผลกระทบเป็นทอดๆ ทำาให้ความรู้ความเข้าใจไม่สามารถเข้าถึง แก่นหลักในวิชาเนื้อหานี้ได้อย่างเข้าใจจริง เรื่องเซลล์นี้อาจเป็น เรื่องที่ยากหรือไม่สามารถจดจำาส่วนประกอบแต่ละส่วนได้อย่าง ชัดเจนอาจเป็นเพราะชื่อที่ยากต่อการจดจำาหรืออาจเป็นเพราะส่วน ประกอบของเซลล์นั้นมีหลากหลายและลำ้าลึกเกินไป แต่เรื่องเซลล์ นั้นเซลล์ยังเป็นเรื่องใกล้ตัวที่น่าสนใจและควรรู้ เพราะหากมีความ
  • 3. 3 รู้เรื่องเซลล์ที่ดีเราจำาสามารถนำามาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำาวันได้ อย่างมากมาย แต่ในปัจจุบัน กลับยังไม่มีสื่อการเรียนการสอนเรื่อง เซลล์ของสัตว์ในโลกออนไลน์ที่ครบถ้วนสมบูรณ์ ฟรี และหาง่าย เท่าที่ควร ถึงแม้เรานั้นอาจค้นคว้าแต่กลับไม่มีข้อมูลที่ตรงกับความ ต้องการของเราหรือไม่มีข้อมูลที่เรานั้นสามารถทำาความเข้าใจที่ ตรงกับความเข้าใจของเรามากเท่าที่ควร และบางทีสื่อการสอน เหล่านี้อาจมีตัวหนังสือไม่สวยงาม อ่านยาก ทำาให้มีความรู้สึกไม่ อยากทำาความเข้าใจ ซึ่งเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นได้ เพราะทุกคนนั้นล้วน แต่ต้องการสื่อการสอนที่มีความสวยงามและสามารถเข้าใจได้โดย ง่ายเพื่อความสะดวกในการเรียนรู้ วิชาชีวะนั้นทุกคนอาจคิดว่า เป็นวิชาที่ท่องจำา เป็นวิชาที่คนที่ชอบจำาเท่านั้นถึงจะชอบวิชานี้ แต่ ถ้าเราสามารถจดจำาได้โดยรูปภาพเราก็จะสามารถจำาเรื่องราว ต่างๆได้มากยิ่งขึ้น การจดจำาเรื่องๆหนึ่งคล้ายกับการจัดเรียงใน สมองเมื่อนึกถึงสิ่งๆหนึ่งเราก็จะนึกถึงสิ่งที่เกี่ยวข้องกับสิ่งนั้นได้ โดยอัตโนมัติโดยไม่ต้องนั่งนึกคิดนานว่าสิ่งนี้หมายความว่า อย่างไร ไม่ต้องตีความให้ซับซ้อน ความคิดจะออกมาโดยทันทีที่ เราคิด ยกตัวอย่างเช่นเมื่อนึกถึงแอปเปิ้ลเราก็จะนึกถึงพาย แอปเปิ้ล นำ้าแอปเปิ้ล หรือผลไม้อื่นๆที่มีสีแดงตามสีของผลแอปเปิ้ล ดวงอาทิตย์ หรืออื่นๆอีกมากมายที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ดังนั้นถ้าเรา สามารถจัดเรียงข้อมูลต่างๆได้อย่างเรียบร้อยเป็นระเบียบ ถ้าเกิด เราฝึกฝนการจดจำาบ่อยๆก็จะทำาให้เราสามารถจดจำาข้อมูลนั้นได้ อย่างแม่นยำาและชัดเจนยิ่งขึ้น สื่อการเรียนการสอนเรื่องเซลล์ของสัตว์ที่กลุ่มของข้าพเจ้านั้น จะสามารถไขข้อสงสัยเกี่ยวกับเซลล์ในปัญหาที่เราสงสัย ทำาให้เรา นั้นเกิดความเข้าใจในเรื่องนี้มากขึ้น ทำาให้หายสงสัยในประเด็นที่ เราไม่เข้าใจ ช่วยส่งเสริมความเข้าใจให้เรามากขึ้นยิ่งกว่าเดิม ความเข้าใจถือว่าเป็นเรื่องสำาคัญเรื่องหนึ่ง กลุ่มของของ ข้าพเจ้าก็ได้ตระหนักถึงเรื่องนี้ ด้วยเหตุนี้กลุ่มของข้าพเจ้าจึงตั้งใจ จะทำาสื่อการเรียนการสอนเรื่องเซลล์ของสัตว์นี้ให้สวยงาม เข้าถึง ง่าย และมีข้อมูลถูกต้องครบถ้วนสมบูรณ์ เพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อผู้ ที่สนใจไม่มากก็น้อย เพื่อเป็นข้อมูลในการศึกษาค้นคว้าเรียนรู้หรือ สามารถต่อยอดสื่อการเรียนการสอนนี้ต่อไปในอนาคตภายภาค หน้า วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ความรู้เรื่องเซลล์ของสัตว์ที่ถูกต้องและครบถ้วน สมบูรณ์แก่ผู้ที่สนใจ 2. เพื่อเป็นการทบทวนความรู้แก่ผู้จัดทำา
  • 4. 4 3. เพื่อเป็นแนวทางการจัดทำาสื่อการเรียนรู้เรื่องเซลล์สัตว์ต่อไป ขอบเขตโครงงาน เซลล์ของสัตว์ อันประกอบไปด้วยประวัติการค้นพบเซลล์ โครงสร้าง และหน้าที่ของ นิวเคลียส เยื่อหุ้มเซลล์ และออแกเนลล์ ต่างๆ ได้แก่ ไรโบโซม ไมโทคอนเดรีย ไซโตสเกเลตอล เอนโด พลาสมิกเรติคิวลัม กอลจิบอดี แวคิวโอล ไลโซโซม เพอรอกซิโซม หลักการและทฤษฎี เซลล์ (Cell) หมายถึง หน่วยพื้นฐานที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต มี รูปร่างลักษณะและขนาดแตกต่างกันขึ้นอยู่กับชนิดของสิ่งมีชีวิต และหน้าที่ของเซลล์เหล่านั้นเซลล์ที่มีขนาดเล็กที่สุดคือ ไมโคร พลาสมา (Mycoplasma) หรือ PPLO (Pleuropneumonia - like organism) มีขนาดประมาณ 0.1 - 0.25 m เซลล์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด คือ เซลล์ไข่นกกระจอกเทศ ประวัติการศึกษาเซลล ์ (Cell) ศตวรรษที่ 17 กาลิเลโอ ได้ประดิษฐ์แว่นขยายกำาลังขยาย 2-5 เท่า ส่องดูสิ่งมีชีวิตเล็กๆ ค.ศ.1665 Robert Hook ได้ประดิษฐ์กล้องจุลทรรศน์เลนส์ประกอบ ได้สำาเร็จ ซึ่งมีกำาลังขยาย 270 เท่า และนำาไปส่องดูไม้คอร์กที่ เฉือนบางๆและพบห้องว่างมากมายที่เขาเรียกว่า Cell ค.ศ.1839 ชวานน์และชไลเดน ได้เสนอ ทฤษฎีเซลล์ ทฤษฎีเซลล ์ (Cell Theory) เสนอโดย Schwann และ Schleiden มีใจความสำาคัญว่า สิ่งมีชีวิต ทั้งหลายประกอบด้วยเซลล์และผลิตภัณฑ์ของเซลล์ ในปัจจุบัน พบ ว่าสิ่งมีชีวิตที่ไม่ประกอบด้วยเซลล์ก็มี เช่น Virus และ Viroid เพราะเหตุว่า ไม่มีเยื่อหุ้มเซลล์และโพรโทพลาซึม ส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์สัตว์ ประกอบด้วย
  • 5. 5 เยื่อหุ้มเซลล ์ (Cell membrane) พบในเซลล์สิ่งมีชีวิตทุกชนิด ควบคุมการผ่านเข้าออกของสารเพราะมีสมบัติเป็นเยื่อเลือกผ่าน ประกอบด้วยไขมันและโปรตีนอยู่รวมกันเป็น Fluid mosaic model กล่าวคือ โมเลกุลของฟอสโฟลิพิดเรียงกันเป็น 2 ชั้น หัน ด้านมีขั้วซึ่งชอบรวมตัวกับนำ้า (Hydrophilic)ออกด้านนอก และหัน ด้านไม่มีขั้นซึ่งไม่ชอบรวมกับนำ้า (Hydrophobic) เข้าข้างใน และ มีการเคลื่อนที่ไหลไปมาได้ ส่วนโปรตีนมีลักษณะเป็นก้อน (Globular) ฝังหรือลอยอยู่ในชั้นไขมัน และอาจพบคาร์โบไฮเดรต เกาะที่ผิวโปรตีนด้วยก็ได้ ไซโทพลาซึม (Cytoplasm) เป็น ของเหลวภายในเซลล์ที่อยู่รอบ ๆ นิวเคลียสประกอบด้วย คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน และแร่ธาตุต่าง ๆ ไซโทพลาซึมมี ออร์แกแนลล์ (Organelle) หลายชนิด ทำาหน้าที่ต่าง ๆ กัน 1. ไรโบโซม (Ribosome) มีลักษณะเป็นทรงกลมขนาดเล็กประมาณ 20 nm ประกอบด้วย rRNA และโปรตีน พบทั่วไปในไซโทพลาสซึม ไมโทคอนเดรีย คลอโรพลาสต์ มีหน้าที่สังเคราะห์โปรตีนสำาหรับใช้ภายในเซลล์ และส่งออกไปใช้นอกเซลล์ 2. เซนทริโอล (Centriole) เป็นท่อกลวง ประกอบด้วยไมโครทิวบูล 9 กลุ่ม กลุ่มละ 3 ท่อ เรียง กันเป็นวงกลม เรียกว่า 9 + 0 (ตรงกลางไม่มีไมโครทิวบูล)มีหน้าที่ สร้างเส้นใยสปินเดิล 3 . ไมโครทิวบูล (Microtubule) ประกอบด้วยโปรตีนพวกทิวบูลินเรียงต่อกันเป็นวงเห็นเป็นท่อ มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวของเซลล์ 4 . ไลโซโซม (Lysosome) พบเฉพาะในเซลล์สัตว์ มีกำาเนิดจากกอลจิคอมเพลกซ์ มีเอนไซม์ สำาหรับการย่อยสลายสารต่าง ๆ ภายในเซลล์ 5. ร่างแหเอนโดพลาซึม (Endoplasmic reticulum) เป็นเมมเบรนที่เชื่อมต่อกับเยื่อหุ้มเซลล์และเยื่อหุ้มนิวเคลียสได้ ไม่ พบในเซลล์ของโพรแคริโอต แบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ คือร่างแห เอนโดพลาซึมแบบผิวขรุขระ และร่างแหเอนโดพลาซึมแบบผิว เรียบ
  • 6. 6 6 . กอลจิคอมเพลกซ ์ (Golgi complex) เป็นถุงแบนบางเรียบซ้อนกันเป็นตั้ง ๆ 5 - 8 ชั้น ภายในมีของเหลว ส่วนปลายทั้งสองข้างยื่นพองออกเป็นถุงเล็ก ๆ เรียกว่า เวซิเคิล (vesicle) มีบทบาทในการสร้างไลโซโซม เป็นแหล่งสะสมสารต่าง ๆ ก่อนนำาไปใช้ในกิจกรรมของเซลล์ 7 . ไมโทรคอนเดรีย (Mitochondria) มีหน้าที่สร้างพลังงานให้แก่เซลล์ (ส่วนใหญ่อยู่ในรูป ATP) 8. แวคิวโอล (Vacuole) มีลักษณะเป็นถุงมีเยื่อหุ้มบาง ๆ เรียกว่า โทโนพลาสต์ (Tonoplast) ภายใต้มีของเหลวหรือสารหลายชนิดบรรจุอยู่ แบ่งออกเป็น 3 แบบ คือ ฟูดแวคิวโอล (Food vacuole) คอนแทร็กไทล์แวคิวโอล (Contractile vacuole) แซปแวคิวโอล (Sap vacuole) นิวเคลียส (Nucleus) มีรูปร่างคล้ายทรงกลม โดยทั่วไปมีเพียง 1 นิวเคลียสเท่านั้น แต่ใน สิ่งมีชีวิตชั้นตำ่าบางชนิด มี 2 นิวเคลียส เช่น พารามีเซียม สำาหรับ เซลล์เม็ดเลือดแดงของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเมื่อเจริญเต็มที่จะไม่มี นิวเคลียส นิวเคลียสถือว่าเป็นศูนย์กลางควบคุมการทำางานของเซลล์ มีองค์ ประกอบที่สำาคัญดังนี้ เยื่อหุ้มนิวเคลียส (Nuclear membrane) เป็นยูนิตเมมเบรน 2 ชั้น ที่มีสมบัติเป็นเยื่อเลือกผ่านเช่นเดียวกับเยื่อหุ้มเซลล์ เยื่อหุ้มชั้น นอกมีไรโบโซมเกาะอยู่ ผิวของเยื่อหุ้มมีรูเล็ก ๆ (annulus) กระจายทั่วไปเป็นช่องติดต่อระหว่างของเหลวในนิวเคลียสกับ ของเหลวในไซโทพลาสซึม นิวคลีออลัส (Nucleous) เห็นชัดเจนในภาวะปกติที่เซลล์ยังไม่มี การแบ่งตัวไม่มีเยื่อหุ้ม เป็นบริเวณที่สะสม RNA และสังเคราะห์ไร โบโซม 10 เปอร์เซ็นต์ และ RNA 4 เปอร์เซ็นต์
  • 7. 7 โครโมโซม (Chromosome) เป็นเส้นใยเล็ก ๆ เรียกว่า โครมาทิน (Chromatin) ซึ่งก็คือ โมเลกุลของ DNA ที่มีโปรตีนหุ้มนั่นเอง โครโมโซมประกอบด้วย 2 โครมาทิด (Chromatid) เชื่อมกันที่ เซนโทรเมียร์ (Centromere) วิธีดำาเนินงาน - แนวทางการดำาเนินงาน ค้นหาข้อมูลจากทั้งในหนังสือและอินเทอร์เน็ต พิสูจน์ว่า ความรู้นั้นถูกต้อง และนำามาสรุปเป็นภาษาของผู้จัดทำาเอง และนำาเสนอโดยใช้พาวเวอร์พ้อยท์ - เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ หนังสือเรียนชีววิทยา ความรู้จากอินเทอร์เน็ต และพาว เวอร์พ้อยท์ - งบประมาณ ไม่มีค่าใช้จ่าย ขั้นตอนและแผนดำาเนินงาน ลำา ดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิด ชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 1 2 1 3 1 4 1 5 1 6 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน สืบขวัญ 2 ศึกษาและค้นคว้า ข้อมูล สืบขวัญ 3 จัดทำาโครงร่างงาน สืบขวัญ 4 ปฏิบัติการสร้าง โครงงาน ปรางวดี 5 ปรับปรุงทดสอบ สืบขวัญ 6 การทำาเอกสาร ปรางวดี
  • 8. 8 รายงาน 7 ประเมินผลงาน ปราง วดี,สืบ ขวัญ 8 นำาเสนอโครงงาน ปรางวดี ผลที่คาดว่าจะได้รับ ผู้ที่สนใจได้รับความรู้จากพาวเวอร์พ้อยท์ที่จัดทำาขึ้น สามารถ นำาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำาวันได้ เช่น การสอบ และผู้จัดทำาก็ได้ ทบทวนความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิตจากการทำาโครงงานนี้ด้วย สถานที่ดำาเนินการ ห้องสมุดกาญจนาภิเษก โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง กลุ่มสาระการเรียนรู้เทคโนโลยีและสารสนเทศ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ แหล่งอ้างอิง หนังสือเรียนชีววิทยา ระดับมัธยมปลาย เวปไซต์ต่างๆ