SlideShare a Scribd company logo
1 of 74
Download to read offline
โครงงานคอมพิวเตอร์
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร 6
ปี การศึกษา 2556
สื่ อการเรี ยนการสอน
นางสาวศุภคชญา แก้วคาฟู เลขที่ 20 ห้อง 6/2
ั
นางสาวสุ ธางศุรัตน์ อิ่นแก้ว เลขที่ 24 ห้อง 6/2
ที่มาและความสาคัญ
ของโครงงาน

เนื่องจากเห็นว่า การเคลื่อนที่ของสิ่ งมีชีวตแต่ละชนิ ดมีความ
ิ
แตกต่างกันมาก โดยเฉพาะมนุษย์ที่มีการเคลื่อนที่หรื อเคลื่อนไหวของ
ร่ างกายต่างจากสัตว์ชนิ ดอื่น ซึ่ งจะมีกลไกที่ซบซ้อนมาก มีโครงสร้างของ
ั
ร่ างกายที่สาคัญต่อการเคลื่อนไหวของร่ างกายหลายจุดด้วยกัน และยังมีการ
เคลื่อนที่ของสัตว์ขนาดเล็ก หรื อการเคลื่อนที่ของสัตว์เซลล์เดียวที่ไม่
สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่าได้ แต่เป็ นการเคลื่อนที่ที่ไม่มีกลไกซับซ้อน
ส่ วนสัตว์ชนิดอื่นจะมีความแตกต่างกันออกไปอย่างไรนั้น ผูจดทาจึงมีความ
้ั
สนใจที่จะทาโครงงานนี้ข้ ึนเพื่อที่จะศึกษาว่า การเคลื่อนที่ของสัตว์แต่ละ
ชนิดนั้นเคลื่อนที่อย่างไร สัตว์ตวเล็ก สัตว์ตวใหญ่ สัตว์เลื้อย ฯลฯ จะ
ั
ั
เคลื่อนที่แตกต่างกันอย่างไร
การเคลือนที่ของสิ่ งมีชีวิต
่
- การเคลื่อนไหว เป็ นการเคลื่อนย้ายเพียงบางส่ วนของร่ างกาย
- การเคลื่อนที่ เป็ นการเคลื่อนย้ายจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนี่ง

หลักการและทฤษฎี

การเคลือนไหวและการเคลือนทีของมนุษย์ ทซับซ้ อน
่
่ ่
ี่
-ระบบโครงกระดูก กระดูกของคนมีมากกว่า 200 ชิ้น แบ่งเป็ น 2 กลุ่ม คือ
กระดูกแกน และกระดูกระยางค์ กระดูกแกน มี 80 ชิ้น ประกอบด้วย กระดูก
กะโหลก กระดูกใบหน้า กระดูกขากรรไกร กระดูกสันหลัง เริ่ มตั้งแต่
กระดูกคอไปจนถึงกระดูก ก้นกบ กระดูกสันหลังช่วงอกมีกระดูกซี่ โครงมา
เชื่อมต่อ ซึ่ งมีท้ งหมด 12 คู่ ซึ่ งจะมาเชื่อมต่อกับกระดูกหน้าอก ยกเว้นคู่ที่ 12
ั
และ 13 กระดูกระยางค์ มี 126 ชิ้น ได้แก่ กระดูกแขน กระดูกขา กระดูก
สะบัก กระดูกไหปลาร้า และกระดูกเชิงกราน
-ระบบกล้ามเนือ กล้ามเนื้อแบ่งเป็ น 3 ชนิด คือ กล้ามเนื้อลาย (Striated
้
Muscle) กล้ามเนื้อเรี ยบ (Smooth Muscle) และกล้ามเนื้อหัวใจ (Cardiac
Muscle)

หลักการและทฤษฎี

กล้ามเนื้อลาย เป็ นกล้ามเนื้อที่ยดเกาะกับกระดูก มีลกษณะเป็ นเส้นยาว
ึ
ั
เรี ยกว่า เส้นใยของกล้ามเนื้อ (Muscle Fiber) รวมกันเป็ นมัดด้วยเนื้อเยือ
่
เกี่ยวพัน กล้ามเนื้อแต่ละมัดจะยึดติดกับกระดูก 2 ท่อน โดยปลายหนึ่งยึดกับ
่ ั
่
กระดูกท่อนที่อยูกบที่ เรี ยกปลายนี้วา Origin ส่ วนอีกปลายหนึ่งยึดติดกับ
่
กระดูกท่อนที่เคลื่อนที่เรี ยกว่า Insertion ส่ วนของกล้ามเนื้อที่อยูตรงกลาง มี
ลักษณะหนา เรี ยกว่า (Belly)
-การทางานของกล้ ามเนือ กล้ามเนื้อทางานโดยการหดตัว (Contraction)
้
1. ระยะพักแถบทึบกับแถบจางซ้อนกันไม่สนิท เส้นใยกล้ามเนื้อจะเห็นเป็ น
3 ที่คือ I-band A-band และ H-zone

หลักการและทฤษฎี

2. ระยะกล้ามเนื้อเริ่ มหดตัว แถบบางจะดึง Z-line เข้ามา ทาให้ Sarcomere
แคบเข้า โดยที่ A-band ไม่เปลี่ยนแปลง ส่ วน I-band จะแคบเข้ามาทาให้ Hzone หายไป CU 474 218
3. ระยะกล้ามเนื้อหดตัวเต็มที่ Sarcomere ยิงแคบมากขึ้น เกิดจากการที่แถบ
่
บางมีการเหลื่อมซ้อนกัน การหดตัวของกล้ามเนื้อจึงอธิ บายด้วย Sliding
Filament Model คือ รู ปแบบของการเลื่อนเข้ามาซ้อนกันของ Filament
-ความสั มพันธ์ ในการทางานของกระดูกและกล้ ามเนือ
้

(Bone-Muscle Relationships)

หลักการและทฤษฎี

ั
กระดูกและกล้ามเนื้อเป็ นโครงสร้างที่มีความสัมพันธ์กนเป็ นอย่างยิง โดยมัด
่
กล้ามเนื้อแต่ละมัดจะมีปลายที่เป็ นเอ็น (Tendon) ยึดเกาะกับกระดูก ซึ่ งมี
่
ตาแหน่ง Origin และ Insertion ของกล้ามเนื้อจะอยูบนกระดูกคนละท่อนที่
ติดต่อกัน ที่ยดกันด้วยลิกกาเมนต์ (Ligament) เมื่อกล้ามเนื้อทางานโดยหดตัว
ึ
จึงดึงให้กระดูกท่อนปลายยกหรื องอขึ้นมาได้ ดังนั้น การทางานของกระดูก
และกล้ามเนื้อจึงเป็ นระบบคาน (Lever System) ซึ่ งเป็ นสมดุลโมเมนต์ ดังนี้
ความพยายาม x ความยาวของแขนความพยายาม = น้ าหนัก x ความยาวของ
แขนน้ าหนัก
หรื อ แรง x ระยะทาง = แรงต้าน x ระยะทาง
1.เพื่อศึกษาการเคลื่อนที่ของสิ่ งมีชีวิตประเภทต่าง

วัตถุประสงค์

2.เพื่อศึกษาความแตกต่างของการเคลื่อนที่ของสิ่ งมีชีวิต
3.เพื่อศึกษาลักษณะกายภาพของมนุษย์ต่อการเคลื่อนที่หรื อ
เคลื่อนไหวของร่ างกาย
่
1. ได้รู้วาการเคลื่อนที่ของสิ่ งมีชีวิตประเภทต่าง เป็ นอย่างไร

ผลที่คาดว่าจะได้รบ
ั

่
2. ได้รู้วาความแตกต่างของการเคลื่อนที่ของสิ่ งมีชีวตต่างกันอย่างไร
ิ
่
3. ได้รู้วา โครงสร้างใดเป็ นส่ วนสาคัญของการเคลื่อนของมนุษย์ ที่
จะต้องดูแลรักษา
1.ช่วยกันเลือกหัวข้อโครงงาน

วิธีดาเนินงาน

2.ทาโครงร่ างโครงงาน
3.ศึกษา ค้นคว้าข้อมูลที่จะทาโครงงาน
4.เก็บรวบรวมข้อมูล แล้วเอามาเรี ยบเรี ยง
5.ทาสื่ อการเรี ยนรู ้ เรื่ อง การเคลื่อนที่ของสิ่ งมีชีวิต
1.คอมพิวเตอร์

เครื่องมือและอุปกรณ์ท่ช้้
ี

2.อินเทอร์เน็ต ( ค้นหาในหมวดชีววิทยา)
3.โปรแกรมที่สามารถใช้นาเสนอได้
การเคลื่อนที่ของ
สิ่ งมีชีวต
ิ

1.สัตว์เซลล์เดียว
2.สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
3.สัตว์มีกระดูกสันหลัง
4.มนุษย์
แหล่งอ้างอิง
การเคลื่อนที่ของ
สิ่ งมีชีวต
ิ

การเคลื่อนไหว เป็ นการเคลื่อนย้ายเพียงบางส่ วนของร่ างกาย
การเคลื่อนที่ เป็ นการเคลื่อนย้ายจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง
* การเคลื่อนที่จะต้องมีการเคลื่อนไหวด้วยเสมอ แต่การเคลื่อนไหวไม่
จาเป็ นต้องมีการเคลื่อนที่ดวย
้
1.
การเคลื่อนที่ของสัตว์
เซลล์เดียว

•โพรทิส ( การเคลื่อนไหวโดยอาศัยการไหลของไซโทพลาซึม )
•การเคลื่อนที่ของอะมีบา
•การเคลื่อนไหวโดยอาศัยแฟลเจลลัมหรื อซีเลีย
•การเคลื่อนที่ของพารามีเซียม
การเคลื่อนที่ของสัตว์
เซลล์เดียว

่
โพรทิสต์ (protist) เป็ นสิ่ งมีชีวตขนาดเล็กอยูใน
ิ
อาณาจักรโพรทิสตา(ProtistaKingdom)มีท้ งพวกที่เป็ น
ั
เซลล์เดียวและหลายเซลล์พวกโพรทิส์หลายเซลล์ ไม่มี
ระบบเนื้อเยือและระบบโครงกระดูกจึงมีการ เคลื่อนไหว
่
แตกต่างกัน

1
 การเคลือนไหวโดยอาศัยการไหลของไซโทพลาซึม (Cytoplasm)
่

การเคลื่อนที่ของสัตว์
เซลล์เดียว

หมายถึงส่ วนของโพรโทพลาซึ มภายในเซลล์ท้ งหมด การเคลื่อนไหว
ั
โดยใช้ไซโทพลาซึ มนี้จะเคลื่อนไหวโดยการยืดส่ วน
ของไซโทพลาซึ มออกจากเซลล์ เช่น การเคลื่อนไหวของรา
เมือก อะมีบา เป็ นต้น การเคลื่อนไหวของอะมีบา ซึ่ งเป็ นโพรทิสต์ที่อาศัย

1
 การไหลของไซโทพลาซึมที่แบ่ งออกเป็ น 2 ส่ วน คือ

การเคลื่อนที่ของสัตว์
เซลล์เดียว

1.เอ็กโทพลาซึม(ectoplasm)เป็ นไซโทพลาซึ มชั้นนอก มีลกษณะเป็ น
ั
สารกึ่งแข็งกึ่งเหลว เรี ยกว่า เจล (gel)
2.เอนโดพลาซึม (endoplasm)เป็ นไซโทพลาซึ มชั้นในมีลกษณะ
ั
ค่อนข้างเหลวกว่าเรี ยกว่า โซล(sol)

1
การเคลื่อนที่ของอะมีบา

การเคลื่อนที่ของสัตว์
เซลล์เดียว

ภายในไซโทพลาซึ มมีไมโครฟิ ลาเมนต์(microfilament) เป็ นเส้นใย
โปรตีน แอกทินและไมโอซิ น เป็ นโครงสร้างที่ทาให้เอนโดพลาซึ ม
ไหลไปมาภายในเซลล์ได้และดันเยือหุมเซลล์ให้โป่ งออกมาเป็ น ขา
่ ้
เทียม(pseudopodium)ทาให้อะมีบาเคลื่อนไหวได้

1
 การเคลือนไหวโดยอาศัยแฟลเจลลัมหรือซีเลีย
่

การเคลื่อนที่ของสัตว์
เซลล์เดียว

การเคลื่อนไหวโดยอาศัยแฟลเจลลัมหรื อซี เลียซึ่ งเป็ น
โครงสร้างเล็ก ที่ยนออกมาจากเซลล์สามารถโบกพัดไป
ื่
มาได้ ทาให้สิ่งมีชีวตเคลื่อนที่ไปได้
ิ

1
• แฟลเจลลัม (flagellum) มีลกษณะเป็ นเส้นยาว คล้ายหนวดยาว
ั
กว่าซี เลียแฟลเจลลัมเป็ โครงสร้างที่พบในสิ่ งมีชีวิตเซลล์เดียวบาง
ชนิดเช่น ยูกลีนา(euglena) วอลวอกซ์ (volvox) เป็ นต้น

การเคลื่อนที่ของสัตว์
เซลล์เดียว

1
• ซี เลีย (cilia) มีลกษณะเป็ นเส้นเล็ก ยืนยาวออกจากเซลล์ของ
ั
่
พืช หรื อสัตว์เซลล์เดียว หรื อเซลล์สืบพันธุ์ ใช้โบกพัดเพื่อให้เกิด
การเคลื่อนที่ภายในน้ าหรื อของเหลว พบในพารามี
เซี ยม (paramecium) พลานาเรี ย (planaria) เป็ นต้น

การเคลื่อนที่ของสัตว์
เซลล์เดียว

1
การเคลื่อนที่ของพารามีเซียม

การเคลื่อนที่ของสัตว์
เซลล์เดียว

พารามีเซี ยมเคลื่อนที่โดยการโบกพัดของซี เลีย ไปทางด้านหลังทาให้ตว
ั
ของพารามีเซี ยมเคลื่อนที่ไปข้างหน้า จากการโบกพัดของซี เลีย ทาให้ตว
ั
พารามีเซี ยมหมุนไปด้วยเนื่องจากไม่มีอวัยวะคอยปรับสมดุล (หาง
เสื อ) และอีกอย่างหนึ่งเนื่องจากซี เลียที่ร่องปาก ซึ่ งมีจานวนมากกว่าโบก
พัดแรงกว่าบริ เวณอื่น จึงทาให้หมุน

1
2.
การเคลื่อนที่ของสัตว์
ไม่มีกระดูกสันหลัง

•การเคลื่อนที่ของไส้เดือน
•การเคลื่อนที่ของพลานาเรี ย
•การเคลื่อนที่ของแมงกระพรุ น
•การเคลื่อนที่ของหมึก
•การเคลื่อนที่ของดาวทะเล
การเคลื่อนที่ของไส้เดือน

การเคลื่อนที่ของสัตว์
ไม่มีกระดูกสันหลัง

่
ไส้เดือนจัดอยูในไฟลัมแอนเนลิดา (annelida) ไส้เดือนมี
กล้ามเนื้อ 2 ชุด
่ ้
คือกล้ามเนื้อวงกลมรอบตัว (circularmuscle) อยูดาน
นอก และกล้ามเนื้อตามยาว (longitudinalmuscle) ตลอดลาตัว
่
อยูทางด้านในนอกจากนี้ไส้เดือนยังใช้เดือย (setae) ซึ่ งเป็ น
โครงสร้างเล็ก ที่ยนออกจากผนังลาตัวรอบปล้องช่วยในการ
ื่
เคลื่อนที่ดวยขณะที่ไส้เดือนเคลื่อนที่จะใช้เดือยจิกดิน
้
ไว้ กล้ามเนื้อวงกลมหดตัว

2
การเคลื่อนที่ของสัตว์
ไม่มีกระดูกสันหลัง

ส่ วนกล้ามเนื้อตามยาวคลายตัว ลาตัวจะยืดออก เมื่อสุ ดแล้ว
ส่ วนหน้า คือ ปล้องแรกไส้เดือนกับเดือยจะจิกดินแล้ว
กล้ามเนื้อวงกลมคลายตัว กล้ามเนื้อตามยาวหดตัว ดึงส่ วนท้าย
ของลาตัวให้เคลื่อนมาข้างหน้าการเคลื่อนที่น้ ี เกิดจากการ
ทางานร่ วมกันของกล้ามเนื้อวงกลมและกล้ามเนื้อตามยาว หด
ตัวและคลายตัวเป็ นระลอกคลื่นจากด้านหน้ามาทางด้านหลัง
ทาให้เกิดการเคลื่อนที่ไปทางด้านหน้า

2
การเคลื่อนที่ของสัตว์
ไม่มีกระดูกสันหลัง

2
การเคลื่อนที่ของพลานาเรี ย

การเคลื่อนที่ของสัตว์
ไม่มีกระดูกสันหลัง

พลานาเรี ยมีกล้ามเนื้อ 3 ชนิด คือ
่
1.กล้ามเนื้อวง (circular muscle) อยูทางด้านนอก
่
2.กล้ามเนื้อตามยาว (longitudinal muscle) อยูทางด้านใน
่
3.กล้ามเนื้อทแยง (oblique muscle) ยึดอยูระหว่างส่ วนบนและ
ล่างของลาตัว

2
การเคลื่อนที่ของสัตว์
ไม่มีกระดูกสันหลัง

พลานาเรี ยเคลื่อนที่โดยการลอยไปตามน้ าหรื อคืบ
คลานไปตามพืชใต้น้ าโดยอาศัยกล้ามเนื้อวงและ
กล้ามเนื้อตามยาว ส่ วนกล้ามเนื้อทแยงจะช่วยให้ลาตัว
แบนบางและพลิ้วไปตามน้ าในขณะที่พลานาเรี ยเคลื่อน
่
ไปตามผิวน้ าซี เลียที่อยูทางด้านล่างของลาตัวจะโบกพัด
ไปมาช่วยเคลื่อนตัวไปได้ดียงขึ้น
ิ่

2
การเคลื่อนที่ของแมงกะพรุ น

การเคลื่อนที่ของสัตว์
ไม่มีกระดูกสันหลัง

แมงกะพรุ นมีรูปร่ างคล้ายกระดิ่ง มีลาตัวนิ่มมาก มีของเหลว
เรี ยกว่า มีโซเกลีย (mesoglea) แทรกอยูระหว่างเนื้อเยือชั้นนอกและ
่
เนื้อเยือชั้นใน มีน้ าเป็ นองค์ประกอบเป็ นส่ วนใหญ่ของลาตัว
่
แมงกะพรุ น เคลื่อนที่โดยการหดตัวของเนื้อเยือบริ เวณขอบกระดิ่ง
่
่
และที่ผนังลาตัวสลับกัน ทาให้พนน้ าออกมาทางด้านล่างส่ วนตัวจะ
่
่
พุงไปในทิศทางตรงข้ามกับทิศทางน้ าที่พนออกมาการหดตัวนี้จะเป็ น
จังหวะทาให้ตวแมงกะพรุ นเคลื่อนไปเป็ นจังหวะด้วย
ั

2
การเคลื่อนที่ของสัตว์
ไม่มีกระดูกสันหลัง

2
การเคลื่อนที่ของหมึก

การเคลื่อนที่ของสัตว์
ไม่มีกระดูกสันหลัง

หมึก (squid) หมึกเป็ นสัตว์กลุ่มเดียวกับหอยหมึกเคลื่อนที่
โดยการหดตัวของกล้ามเนื้อลาตัว พ่นน้ าออกมาจากไซ
่
ฟอน (siphon) ซึ่ งอยูทางส่ วนล่างของส่ วนหัวทาให้ตวพุงไป
ั ่
ข้างหน้าในทิศทางที่ตรงข้ามกับทิศทางของน้ า นอกจากนี้
่
เปลี่ยนแปลงทิศทางของน้ าที่พนออกมาและยังทาให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงทิศทางของการเคลื่อนที่ดวย ส่ วนความเร็ วขึ้นอยู่
้
กับความแรงของการบีบตัวของกล้ามเนื้อลาตัวแล้วพ่นน้ า
่
ออกมาและหมึกยังมีครี บอยูทางด้านข้างลาตัวช่วยในการทรง
ตัวให้เคลื่อนที่ไปในทิศทางที่เหมาะสม

2
การเคลื่อนที่ของสัตว์
ไม่มีกระดูกสันหลัง

2
การเคลื่อนที่ของดาวทะเล

การเคลื่อนที่ของสัตว์
ไม่มีกระดูกสันหลัง

ดาวทะเล (seastar) เป็ นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง มีโครงแข็งที่ผิวนอกไม่ได้
ยึดเกาะกับกล้ามเนื้อ ดาวทะเลมีระบบการเคลื่อนที่ดวยระบบท่อ
้
น้ า (water vascularsystem) ประกอบด้วยมาดรี โพไรต์ (madrepolite)มีลกษณะ
ั
คล้ายตะแกรงเป็ นทางให้น้ าเข้าสโตนแคเนล(stonecanal) เป็ นท่อที่ต่อมาจาก
่
มาดรี โพไรต์ ริ งแคแนล(ringcanal)เป็ นท่อวงแหวนที่อยูรอบปากน้ าจาก มาดรี
โพไรต์และสโตนแคแนลมาเปิ ดเข้าส่ วนนี้ เรเดียลแคแนล (radial canal)เป็ น
ท่อยาวยืนจากริ งแคแนลเข้าไปในอาร์ มแต่ละอัน แลเทอรอลแคแนล
่
(lateral canal)เป็ นท่อสั้น ที่ยนออกมาจากเรเดียลแคแนลทางด้านข้างจานวน
ื่
มาก

2
การเคลื่อนที่ของสัตว์
ไม่มีกระดูกสันหลัง

ทิวบ์ฟีท (tube feet) มีลกษณะเป็ นหลอดยาวปลายตันที่ต่อมาจากและเท
ั
อรอบแคแนล ทิวบ์ฟีท เป็ นท่อปิ ดรู ปทรงกระบอก ปลายที่ยนออกนอก
ื่
ลาตัวมีผนังเป็ นกล้ามเนื้อทาหน้าที่เป็ นอวัยวะเกาะติดหรื อชัคเกอร์
(sucker) ปลายอีกด้านหนึ่งเป็ นกระเปาะกล้ามเนื้อเรี ยกว่า แอมพูล
ลา (ampulla)ดาวทะเลเคลื่อนที่โดยแอมพลูลาหดตัวจะดันน้ าไปตามทิวบ์
ฟี ททาให้ทิวบ์ฟีทยืดยาวออกเมื่อเคลื่อนที่ไปแล้วทิวบ์ฟีทหดสั้นเข้าดันน้ า
กลับเข้าสู่ แอมพูลลาใหม่การหดตัวและคลายตัวของทิวบ์ฟีทอาศัยแรงดัน
ของน้ า ไม่อาศัยแอนตาโกนิซึมของกล้ามเนื้อการยืดและหดตัวของทิวบ์
ฟี ท หลาย อันต่อเนื่องกันทาให้ดาวทะเลเคลื่อนไหวได้

2
การเคลื่อนที่ของสัตว์
ไม่มีกระดูกสันหลัง

2
3.
การเคลือนที่ของสั ตว์ ที่
่
มีกระดูกสั นหลัง

•การเคลือนทีของปลา
่ ่
การเคลือนทีของสัตว์ครึ่งนา้ ครึ่งกก
่ ่
การเคลือนทีของสัตว์เลื้อยคลาน
่ ่
การเคลือนทีของนก
่ ่
การเคลือนทีของเสือชีตา้
่ ่
การเคลื่อนที่ของปลา

การเคลือนที่ของสั ตว์ ที่
่
มีกระดูกสั นหลัง

ปลา เป็ นสัตว์เลือดเย็น สามารถปรับอุณหภูมิของร่ างกายตาม
่
อุณหภูมิของสิ่ งแวดล้อม อาศัยอยูในน้ าจืดและน้ าเค็ม มีกระดูก
สันหลังต่อกันเป็ นข้อ ภายในร่ างกายลักษณะสาคัญคือมีครี บ
่
ช่วยในการว่ายน้ า หายใจด้วยเหงือก มีถุงลมอยูในตัว ช่วยลด
และเพิ่มปริ มาณอากาศ และยังช่วยในการลอยตัวของปลามี
ขากรรไกรบนและล่างสามารถอ้าปากเพื่อฮุบน้ าที่มีอาหารปน
อยู่

3
การเคลือนที่ของสั ตว์ ที่
่
มีกระดูกสั นหลัง

บางชนิดมีเกล็ด บางชนิดไม่มีเกล็ด บางชนิดมีฟัน
แหลมคมสามารถจับเหยือได้เป็ นอย่างดีรูปร่ างของปลา
่
แต่ละชนิดมีความแตกต่างกัน บางชนิดมีลาตัวยาว เช่น
ปลาไหลบางชนิดลาตัวทรงกระบอง เช่น ปลาช่อน บาง
ชนิดมีลาตัวแบน เช่น ปลากระเบน ส่ วนปลาปั กเป้ ามี
ลาตัวค่อนข้างกลม และมีหนามแหลมยืนออกตามิวหนัง
่
เพื่อป้ องกันตัว มัาน้ ามีรูปร่ างแปลกกว่าปลาอื่น มีหาง
ม้วนงอสาหรับจับยึดกิ่งไม้หรื อปะการังใต้น้ าได้ดวย
้
กระดูกของปลาเราเรี ยกว่าก้างบางชนิ ดมีเมือกที่ทาให้ลื่น
สามารถเคลื่อนที่ได้สะดวก

3
การเคลือนที่ของสั ตว์ ที่
่
มีกระดูกสั นหลัง

3
การเคลื่อนที่ของสัตว์ครึ่ งบกครึ่ งน้ า

การเคลือนที่ของสั ตว์ ที่
่
มีกระดูกสั นหลัง

สัตว์ พวกนี้ เป็ นสัตว์เลือดเย็นเหมือนกับปลา อาหารที่กิน
จะเป็ นตัวหนอนและแมลงโดยใช้ลิ้นตวัดเข้าปากตอนเป็ นตัว
่
่
อ่อนจะอาศัยอยูในน้ า เมื่อโตเต็มวัยจะขึ้นมาอาศัยอยูบนบก
่
แต่สามารถยังอยูในน้ าได้เป็ นเวลานานได้แก่ กบ อึ่ง
อ่าง คางคก เขียดปาดจงโคร่ ง ซึ่ งมีลกษณะคล้ายกับคางคก
ั
ลักษณะสาคัญ มีผวหนังเรี ยบไม่มีเกล็ด และเปี ยกชื้นอยู่
ิ
ตลอดเวลา เพราะมีต่อมสร้างน้ าเมือกคอยขับน้ าเมือกออกมา
่
ถ้าผิวหนังแห้งบางพวกอาจต่อมพิษอยูตามผิวหนังที่ขรุ ขระ
สัตว์พวกนี้ตอนเป็ นตัวอ่อนจะมีหางและมีรูปร่ างคล้ายปลา
่
อาศัยอยูในน้ า หายใจด้วยเหงือก เรี ยกว่าลูกอ๊อด

3
การเคลือนที่ของสั ตว์ ที่
่
มีกระดูกสั นหลัง

ต่อมาจะมีการเปลี่ยนแปลงรู ปร่ างโดยเหงือกค่อย
หายไปและปอดใช้หายใจแทนเหงือกขาเริ่ มงอกหางหด
สั้นลงจนรู ปร่ างเหมือนตัวเต็มวัยแต่มีขนาดเล็กขึ้นมา
อาศัยบนบกและเจริ ญเติบโตนอกจากหายใจด้วยปอด
แล้วยังสามารถแลกเปลี่ยนก๊าชผ่านทางผิวหนังที่บางและ
่
ชุ่มชื้นได้อีกทางหนึ่ งด้วยทาให้สามารถอยูในน้ าได้เป็ น
เวลานานในฤดูหนาวและฤดูร้อนสัตว์พวกนี้จะหลบ
่
ความแห้งแล้งและขาดแคลนอาหารไปอยูที่ชุ่มชื้น โดย
่
ขุดรู หรื อฝังตัวอยูใต้ดินเรี ยกว่า การจาศีลในช่วงนี้จะไม่
กินอาหารโดยจะใช้อาหารที่สะสมไว้ในร่ างกายอย่าง
ช้า เพื่อรอฤดูฝนจะออกมากินอาหารตามปกติ

3
การเคลือนที่ของสั ตว์ ที่
่
มีกระดูกสั นหลัง

3
การเคลื่อนที่ของสัตว์เลื้อยคลาน

การเคลือนที่ของสั ตว์ ที่
่
มีกระดูกสั นหลัง

่
สัตว์ พวกนี้ เป็ นสัตว์เลือดเย็น อาศัยอยูบนบกเป็ นส่ วนใหญ่ จะลงไปหาอาหารในน้ า
่
เวลาพักผ่อนจะขึ้นมาอยูบนบกหรื อริ มน้ า ยังพบว่าสัตว์พวกนี้มีอุณหภูมิร่างกาย
เปลี่ยนแปลงไปตามอุณหภูมิของสิ่ งแวดล้อมเช่นเดียวกัยพวก ปลาและสัตว์ครึ่ งน้ าครึ่ งบก
ได้แก่ จระเข้ เต่า ตะพาบ งู กิ้งก่า จิ้งจก ลักษณะสาคัญ มีผวหนังหนาและแห้ง มักมีเกล็ด
ิ
แข็งปกคลุมร่ างกาย หายใจด้วยปอด มีขา 4 ขา ปลายนิ้วเล็บช่วยจิกในการเคลื่อนที่ และ
อาจมีการเปลื่ยนแปลงลักษณะให้เหมาะสมกับการเคลื่อนที่ เช่น เปลี่ยนไปเป็ นใบพาย
สาหรับว่ายน้ า เช่น เต่าทะเล ในเต่าและตะพาบน้ าเกล็ด จะเชื่อมติดต่อกันเป็ นแผ่นใหญ่
เรี ยกว่า " กระดอง " บางชนิดไม่มีขาจึงเคลื่อนที่ โดยการใช้วธีการเลื้อย เช่น งู
ิ

3
การเคลื่อนที่ของนก

การเคลือนที่ของสั ตว์ ที่
่
มีกระดูกสั นหลัง

นกมีกระดูกที่กลวงทาให้ตวเบา และอัดตัวกันแน่นทา
ั
ให้นกมีขนาดเล็ก และรู ปร่ างเพรี ยวลมจึงเคลื่อนตัวไป
ในอากาศได้ดี นกมีกล้ามเนื้อที่ใช้ในการขยับปี กที่
ู่
แข็งแรงโดยกล้ามเนื้อนี้จะยึดอยูระหว่างโคนปี กกับ
กระดูกอก (keel or sternum) กล้ามเนื้อคู่หนึ่ง ทาหน้าที่
เป็ นกล้ามเนื้อยกปี ก(levatermuscle)คือกล้ามเนื้อ
เพกทอราลิสไมเนอร์ (pectorlisminor)

3
การเคลือนที่ของสั ตว์ ที่
่
มีกระดูกสั นหลัง

และกล้ามเนื้ออีกคู่มีขนาดใหญ่มากทาหน้าที่ในการหุ บปี ก
ลง(depressermuscle)คือกล้ามเนื้อเพกทอราลิสเมเจอร์
(pectorralismajor) การทางานของกล้ามเนื้อคู่น้ ีมีลกษณะ
ั
เป็ นแอนทาโกนิซึมด้วยคือขณะที่นกกดปี กลงกล้ามเนื้อ
เพกทอราลิสเมเจอร์ จะหดตัวส่ วนเพกทอราลิสไมเนอรฃ์จะ
คลายตัวขณะที่นกยกปี กขึ้นกล้ามเนื้อเพกทอราลิสไมเนอร์
จะหดตัวขณะที่กล้ามเนื้อเพกทอราลิสเมเจอร์ จะคลายตัว
สลับกันไป

3
การเคลือนที่ของสั ตว์ ที่
่
มีกระดูกสั นหลัง

3
นกมีถุงลม (air sac)

การเคลือนที่ของสั ตว์ ที่
่
มีกระดูกสั นหลัง

่
ถุงลมของนกเจริ ญดีมากและอยูติดกับปอด นอกจากนี้ยง
ั
แทรกเข้าไปในโครงกระดูกด้วย ในขณะที่นกหายใจเข้า
กระดูกอกจะลดต่าลงถุงลมขยายขนาดขึ้น อากาศจะไหลผ่าน
เข้าสู่ หลอดลม เข้าสู่ ปอดและเข้าสู่ ถุงลมตอนท้าย ส่ วนอากาศ
ที่ถกใช้แล้ว จะออกจากปอดเข้าสู่ ถุงลมตอนหน้า ในขณะที่
ู
หายใจออก

3
การเคลือนที่ของสั ตว์ ที่
่
มีกระดูกสั นหลัง

อากาศจากถุงลมตอนท้ายจะเข้าสู่ ปอด ทาให้ปอดพองออกและอากาศจากถุง
ลมตอนหน้าถูกขับออกนอกร่ างกายต่อไปอย่างนี้เสมอ การมีถุงลมของนก
ทาให้เพิ่มประสิ ทธิ ภาพในการถ่ายเทอากาศให้แก่ปอดได้เป็ นอย่างดี แต่ถุง
ลมทาหน้าที่ช่วยปอดเท่านั้นไม่ได้ทาหน้าที่ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส การที่นก
บินนกต้องใช้พลังงานจานวนมาก จึงทาให้นกมีเมแทบอลิซึมสูงมาก นกจึง
ต้องกินมากและใช้ออกซิ เจนมากด้วย

3
นกมีขน (feather)

การเคลือนที่ของสั ตว์ ที่
่
มีกระดูกสั นหลัง

ขนของนกบางและเบาช่วยในการอุมอากาศ ขนที่ปีก
้
่
ช่วยในการดันอากาศขณะหุ บปี กลง ทาให้ตวนกพุงไป
ั
ข้างหน้า การเคลื่อนที่ของนกในอากาศจะเร็ วหรื อช้า
่ ั
ขึ้นอยูกบน้ าหนักของตัวนก ขนาดของปี ก ความเร็ วของ
การขยับปี กและกระแสลมในขณะที่นกเริ่ มบินต้องใช้แรง
่
อย่างมากแต่เมื่อลอยตัวอยูในอากาศแล้วก็ไม่ตองใช้แรง
้
มากนัก การบินของนกโดยทัว ไป มีดงนี้
ั
่

3
การเคลือนที่ของสั ตว์ ที่
่
มีกระดูกสั นหลัง

1. นกกางปี กออกเต็มที่
2. นกจะโบกปี กลงทาให้ลาตัวนกเชิดขึ้น เนื่องจากเกิดแรง
ปะทะกับอากาศ ตัวนกจึงลอยขึ้นไปในอากาศได้
3. ปี กที่โบกลงนั้นจะเคลื่อนที่ไปข้างหน้า ทาให้เกิดแรง
ปะทะกับอากาศเพิ่มมากขึ้น
4. เมื่อโบกปี กลงและเคลื่อนที่ไปข้างหน้าแล้ว นกจะยกปี ก
่
ขึ้น และสะบัดไปข้างหลังอย่างแรง ทาให้นกพุงไป
ข้างหน้ากระบวนการต่าง เกิดขึ้นเร็ วมาก จึงทาให้นกบิน
ได้อย่างรวดเร็ ว

3
การเคลือนที่ของสั ตว์ ที่
่
มีกระดูกสั นหลัง

3
การเคลื่อนที่ของเสื อชีตา
้

การเคลือนที่ของสั ตว์ ที่
่
มีกระดูกสั นหลัง

เสื อชีตามีกล้ามเนื้อขาทั้งสี่ ที่แข็งแรงมาโดยเฉพาะอย่างยิงขาหลังจะ
้
่
แข็งแรงเป็ นพิเศษเพราะต้องใช้ในการกระโดดนอกจากนี้ กระดูกสันหลังของ
เสื อชีตาก็ช่วยได้มาก เนื่องจากมีขนาดยาวและเคลื่อนที่ข้ ึนลงได้ดี ทาให้
้
ช่วงการก้าวของขาหน้าและขาหลังห่างกันมาก มันจึงวิงได้เร็ ว ความ
่
แข็งแรงของกล้ามเนื้อช่วยให้ความถี่และความแรงของการก้าวสู ง เสื อชีตา
้
จึงวิงได้เร็ วมาก
่

3
การเคลือนที่ของสั ตว์ ที่
่
มีกระดูกสั นหลัง

3
• ระบบโครงกระดูก

4.

การเคลื่อนที่ของ
มนุษย์

• ระบบกล้ามเนื้อ

กระดูกแกนและกระดูกระยางค์

กล้ามเนื้อสเกเลตันที่สาคัญ
โครงสร้างและการทางานของกล้ามเนื้อ
การทางานของกล้ามเนื้อ
กลไกการเกิด Sliding-Filament
การควบคุมการทางานของกล้ามเนื้อ

ข้อต่อ
ชนิดข้อต่อ

• ความสัมพันธ์ในการทางานของกระดูกและกล้ามเนื้อ
กระดูกแกนและกระดูกระยางค์
กระดูกของคนมีมากกว่า 200 ชิ้น แบ่งเป็ น 2 กลุ่ม คือ กระดูกแกน (Axial
Skeleton) และกระดูกระยางค์ (Appendicular Skeleton)

ระบบโครงกระดูก

 กระดูกแกน มี 80 ชิ้น ประกอบด้วย กระดูกกะโหลก (Skull) กระดูก
ใบหน้า (Facial Bone) กระดูกขากรรไกร กระดูกสันหลัง เริ่ มตั้งแต่กระดูก
คอไปจนถึงกระดูก ก้นกบ กระดูกสันหลังช่วงอกมีกระดูกซี่ โครงมา
เชื่อมต่อ ซึ่ งมีท้ งหมด 12 คู่ ซึ่ งจะมาเชื่อมต่อกับกระดูกหน้าอก (Sternum)
ั
ยกเว้นคู่ที่ 12 และ 13
 กระดูกระยางค์ มี 126 ชิ้น ได้แก่ กระดูกแขน กระดูกขา กระดูกสะบัก
(Scapula) กระดูกไหปลาร้า (Clavicle) และกระดูกเชิงกราน (Pelvis)

4
ระบบโครงกระดูก

 สี น้ าเงิน คือ กระดูกแกน 80 ชิ้น
 สี เหลือง คือ กระดูกรยางค์ 126 ชิ้น

4
 กระดูกแขน เป็ นกระดูกยาว มีกระดูกสะบักและกระดูกไหปลาร้าเป็ นฐานของแขน
ประกอบด้วย กระดูกต้นแขน (Humerus) กระดูกปลายแขน มี 2 ชิ้น คือ กระดูกปลาย
แขนท่อนใน (Radius) และกระดูกปลายแขนท่อนนอก (Ulna) กระดูกข้อมือ (Carpal)
กระดูกฝ่ ามือ (Metacarpal) และกระดูกนิ้วมือ (Phalanges)

ระบบโครงกระดูก

4
ระบบโครงกระดูก

 กระดูกขา เป็ นกระดูกยาวเชื่อมต่อ
กับกระดูกเชิงกราน ประกอบด้วย
กระดูกโคนขา (Femur) กระดูกขา
ส่ วนล่าง มี 2 ชิ้น คือ กระดูกหน้า
แข้ง (Tibia) และกระดูกน่อง
(Fibula) กระดูกข้อเท้า (Tarsal)
กระดูกฝ่ าเท้า (Metatarsal) และ
กระดูกนิ้วเท้า (Phalanges)

4
 ภายในกระดูกมีโพรงกระดูก (Marrow Carvity) ซึ่งภายในมีไขกระดูก (Bone
Marrow) บรรจุอยู่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกระดูกท่อนยาว คือ กระดูกแขน ขา ไข
กระดูกทาหน้าที่สร้างเม็ดเลือดแดง และเม็ดเลือดขาว ผิวด้านนอกของกระดูกมีเยือ
่
หุ้มกระดูก (Periosteum) ซึ่งเป็นเซลล์กระดูกและเส้นเลือด ทาหน้าที่นาเลือดมา
เลี้ยงเซลล์กระดูก และช่วยให้กล้ามเนื้อและเอ็นยึดติดกระดูกได

ระบบโครงกระดูก

4
ข้อต่อ (articulation หรื อ Joint)

ระบบโครงกระดูก

ข้อต่อ: เป็ นบริ เวณที่กระดูกมาต่อกับกระดูก
มี synovial memebranes มาหุมบริ เวณข้อต่อ
้
เพื่อป้ องกันการเสี ยดสี ระหว่างกระดูก จะมี
กระดูกอ่อนมาทาหน้าที่เป็ นหมอนรอง และมี
synovial fluid ทาหน้าที่เป็ นสารหล่อลื่น

 Ligament: เป็ นเอ็นที่ยดระหว่างกระดูกกับ
ึ
กระดูก
 Tendon: เป็ นเอ็นที่ยดระหว่างกล้ามเนื้อกับ
ึ
กระดูก

4
ชนิดข้อต่อ

ระบบโครงกระดูก

1.ข้อต่อไฟบรัส (fibrous joint) เป็ นข้อต่อที่เคลื่อนไหวไม่ได้และมีเนื้อเยือเกี่ยวพันบาง ยึด
่
กระดูกสองชิ้นไว้ หรื ออาจหุมภายนอกไว้ เช่น กระดูกกะโหลกศรี ษะ
้
2.ข้อต่อกระดูกอ่อน (cartilagenous joint) เป็ นข้อต่อที่เคลื่อนไหวได้เล็กน้อย เช่นข้อต่อ
ระหว่างกระดูกซี่โครงกับกระดูกอก ข้อต่อระหว่างท่อนกระดูกสันหลัง ข้อต่อระหว่างกระดูก
เชิงกรานซีกซ้ายกับซีกขวาทางด้านหัวหน่าว
3.ข้อต่อซิลโนเวียล (sylnovial joint) เป็ นข้อต่อที่เคลื่อนไหวได้มาก ประกอบด้วยกระดูกอย่าง
น้อย 2 ชิ้น

4
กล้ามเนื้อแบ่งเป็ น 3 ชนิด คือ กล้ามเนื้อลาย (Striated Muscle) กล้ามเนื้อเรี ยบ (Smooth
Muscle) และกล้ามเนื้อหัวใจ (Cardiac Muscle)

ระบบกล้ ามเนือ
้

4
กล้ามเนื้อสเกเลตันที่สาคัญ

ระบบกล้ ามเนือ
้

ชื่อของกล้ามเนื้อมักเรี ยกตามหน้าที่ เช่น Levator Scapulae เป็ นกล้ามเนื้อยกไหล่
Extensor Carpi Ulnaris เป็ นกล้ามเนื้อเหยียดมือ กล้ามเนื้อบางมัดเรี ยกชื่อตามตาแหน่งที่
อยู่ เช่น Temporaris เป็ นกล้ามเนื้อบริ เวณขมับ Intercostal เป็ นกล้ามเนื้อยึดระหว่าง
กระดูกซี่โครง กล้ามเนื้อบางมัดเรี ยกชื่อตามรู ปร่ าง เช่น Biceps มีลกษณะเป็ น 2 แฉก
ั
Triceps มีลกษณะเป็ น 3 แฉก กล้ามเนื้อบางมัดก็ต้งชื่อตามตาแหน่งที่ Origin และ
ั
ั
Insertion

4
โครงสร้างและการทางานของกล้ามเนื้อ

ระบบกล้ ามเนือ
้

กล้ามเนื้อสเกเลตัน (Skeleton Muscle) หรื อกล้ามเนื้อลาย (Stricted Muscle) เป็ น
่ ิ
่
กล้ามเนื้อที่มีมากที่สุด เป็ นโครงสร้างส่ วนใหญ่ของร่ างกาย อยูใต้ผวหนัง อยูรวมเป็ นกลุ่ม
ของมัดกล้ามเนื้อ ใน 1 มัด ประกอบด้วย เซลล์กล้ามเนื้อ (Muscle Fiber) ลักษณะยาว
จานวนมาก เซลล์เหล่านี้จะรวมกันเป็ นมัดเล็ก เรี ยกว่า ฟาสซิ เคิล (Fasicle) หลาย ฟาส
ซิเคิลรวมกัน เป็ นมัดกล้ามเนื้อ (Muscle Bundle) โดยมีเยือเกี่ยวพันหุม เรี ยกว่า เยือ
่
้
่
กล้ามเนื้อ (Epimysium) ซึ่ งจะแทรกตัวเข้าไปหุมรอบฟาสซิ เคิลด้วย เรี ยกว่า เพอริ มยเซียม
้
ั
่
(Perimysium) ทาให้เซลล์กล้ามเนื้อยึดติดกันอยูได้ และทาให้กล้ามเนื้อแต่ละกลุ่มหดตัว
ได้อย่างอิสระ ไม่ข้ ึนต่อกัน ปลายกล้ามเนื้อแต่ละมัด เป็ นเอ็น (Tendon) ที่จะยึดกับกระดูก
และแผ่นเอ็นต่าง

4
ระบบกล้ ามเนือ
้

เซลล์ของกล้ามเนื้อสเกเลตัน มีรูปร่ างยาวทรงกระบอก ตลอดมัดกล้ามเนื้ออาจมีความ
ยาวถึง 30 เซนติเมตร มีนิวเคลียสหลายอัน ภายในเซลล์ประกอบด้วย เส้นใยโปรตีน
(Myofibril) 2 ชนิด คือ เส้นใยบาง (Thin Filament) ซึ่งเป็ นโปรตีน actin 2 สายพันกัน และ
เส้นใยหนา (Thick Filament) เป็ นโปรตีน myosin เส้นใยบางและเส้นใยหนาจัดเรี ยงตัว
สลับกันเป็ นระเบียบ เห็นเป็ นลายตามขวางทึบ-จางสลับกัน แถบจางในลายตามขวาง คือ
I-band (Isotropic band) มีความยาว 1 ไมโครเมตร แถบทึบ คือ A-band (Anisotropic
band) ยาว 1.6 ไมโครเมตร บริ เวณตอนกลางของแถบ A มีช่องที่แถบจางไม่บรรจบกัน
เรี ยกว่า บริ เวณ H (H-zone) และเส้นกลางของ H-zone คือ M-line ตรงกลางของแถบจาง
จะมีเส้นทึบเล็ก คือ เส้นซี (Z-line) ระยะห่างระหว่างเส้นซี 2 เส้น คือ ซาร์โคเมียร์
(Sarcomere) เป็ นส่ วนที่ช้ ีการทางานของกล้ามเนื้อ

4
ระบบกล้ ามเนือ
้

4
การทางานของกล้ามเนื้อ
กล้ามเนื้อทางานโดยการหดตัว (Contraction)

ระบบกล้ ามเนือ
้

1. ระยะพัก แถบทึบกับแถบจางซ้อนกันไม่สนิท เส้นใยกล้ามเนื้อจะเห็นเป็ น 3 บริ เวณ คือ
I-band A-band และ H-zone
2. ระยะกล้ามเนื้อเริ่ มหดตัว แถบบางจะดึง Z-line เข้ามา ทาให้ Sarcomere แคบเข้า โดยที่
A-band ไม่เปลี่ยนแปลง ส่ วน I-band จะแคบเข้ามาทาให้ H-zone หายไป CU 474 218
3. ระยะกล้ามเนื้อหดตัวเต็มที่ Sarcomere ยิงแคบมากขึ้น เกิดจากการที่แถบบางมีการ
่
เหลื่อมซ้อนกัน การหดตัวของกล้ามเนื้อจึงอธิบายด้วย Sliding Filament Model คือ
รู ปแบบของการเลื่อนเข้ามาซ้อนกันของ Filament

4
ระบบกล้ ามเนือ
้

4
กลไกการเกิด Sliding-Filament

ระบบกล้ ามเนือ
้

การเลื่อนของ Filament เกิดขึ้นตามลาดับ ดังนี้
่
1. ส่ วนหัวของไมโอซิ น อยูในรู ปของสารพลังงานสู ง เนื่องจากมีการจับกับ ATP และถูด
ไฮโดรไลส์ได้ ADP และ Pi มาแล้ว พร้อมจะสร้างสะพานเชื่อมกับ actin ให้เป็ นเส้นใย
actin-myosin
2. ส่ วนหัวของไมโอซิ น จะงอและเบนเข้าหาเส้นใยแอกตินตรงตาแหน่งยึดเกาะพร้อม
ปล่อย ADP และ Pi ออก
่
3. ส่ วนหัวของไมโอซิ น กลับมาอยูในรู ปของสารพลังงานต่า ดึงเส้นใยแถบจาง (Thin
Filament) ให้เข้าสู่ศูนย์กลางของซาร์โคเมียร์ หัวของไมโอซิ นหลุดออกจากสะพานเชื่อม
พร้อมที่จะจับกับ ATP โมเลกุลใหม่
4. หัวของไมโอซิน จะเริ่ มจับกับ ATP ใหม่ พร้อมกับไฮโดรไลส์ ATP ได้ ADP+Pi หัวไม
่
โอซินจึงกลับไปอยูในรู ปสารพลังงานสู งได้ใหม่ เพื่อจะเริ่ มต้นวงจรการทางานใหม่

4
ระบบกล้ ามเนือ
้

วงจรการเกิด Sliding-Filament

4
การควบคุมการทางานของกล้ามเนื้อ
(Control of Muscle Contraction)

ระบบกล้ ามเนือ
้

กล้ามเนื้อทางานโดยการหดตัว ภายใต้การควบคุมของระบบประสาทด้วยการ รับคาสัง
่
จากเซลล์ประสาทนาคาสัง (Motor Neuron) บริ เวณที่เส้นประสาทมาสิ้ นสุ ดทีกล้ามเนื้อส
่
่
เกเลตัน คือ Motor Endplate เป็ นบริ เวณที่เส้นประสาทมาไซแนปส์ (Synapse) กับเซลล์
กล้ามเนื้อ เรี ยกว่า Neuromuscular Synapse ซึ่งเป็ นไซแนปส์เคมี (Chemical Synapse)
เมื่อเซลล์กล้ามเนื้อถูกกระตุนด้วยประสาทนาคาสัง จะเกิดการเร่ งกล้ามเนื้อ (Excitation
้
่
Contraction Coupling) กล้ามเนื้อที่ถูกกระตุนจะเกิดศักย์ไฟฟ้ าส่ งไปกระตุนให้มีการหลัง
้
้
่
Ca+ ออกจากกระเปาะส่ วนปลายของซาร์โคพลาสมิก เรติคิวลัม (Sarcoplasmic
Reticulum) ทาให้มีปริ มาณ Ca+ เพิมขึ้นในเซลล์ Ca+ จะไปจับกับโทรโปนิน ซี
่
(Troponin-C) ทาให้กล้ามเนื้อหดตัว (Contraction) ช่วงเวลาตั้งแต่การเร้ากล้ามเนื้อจนถึง
กล้ามเนื้อเริ่ มหดตัว เรี ยกว่า ระยะพัก (Latent Period) ซึ่งใช้เวลาประมาณ 6-10 วินาที

4
ระบบกล้ ามเนือ
้

4
ระบบกล้ ามเนือ
้

เมื่อสิ้ นสุ ดการทางานของศักย์ไฟฟ้ าบนผนังเซลล์กล้ามเนื้อ ผนังซาร์โคพลาสมิก เรติ
คิวลัมจะกลับไปสู่ สภาพปกติ Ca+ จะถูก pump กลับไปเก็บที่ซาร์โคพลาสมิก เรติคิวลัม
ทาให้ไม่มี Ca+ จับกับโทรโปนิน ซี และโทรโปไมโอซินจะเคลื่อนตัวไปปิ ดจุดเกาะไมโอ
ซินบนCU 474 220 สายแอคตินดังเดิม ในขณะที่หวไมโอซิ นก็เริ่ มจับกับ ATP ตัวใหม่
ั
ทาให้ไมโอซินแยกตัวออกจากแอคติน เส้นใยแถบบางจะเลื่อนออกจากเส้นใยแถบทึบ
เกิดการคลายตัว (Relaxation) ของกล้ามเนื้อ
่
จะเห็นได้วาการหดตัวของกล้ามเนื้อต้องมีปัจจัยสาคัญ 3 ประการ คือ เส้นใยกล้ามเนื้อ
Ca+ และ ATP ถ้าร่ างกายขาด ATP หัวของไมโอซินจะเกาะติดกับแอคติน อย่างถาวร ทา
ให้กล้ามเนื้อหดตัวอย่างถาวร เรี ยกว่า Rigor Mortis เช่น ในคนที่เสี ยชีวต ในคนที่ยงมีชีวต
ิ
ั ิ
ร่ างกายยังสร้างสาร ATP จึงมีการเปลี่ยนแปลงที่ไมโอซินและแอคตินตลอดเวลา ที่
จุดเชื่อมเกาะของโปรตีน 2 ชนิดนี้จะมีการจับ-โยก-ปล่อย เป็ นวงจรที่เกิด ซ้ า ตลอดเวลา
การหดตัว-คลายตัวของกล้ามเนื้อจึงดาเนินไปได้อย่างต่อเนื่อง

4
ความสัมพันธ์ในการทางานของกระดูกและกล้ามเนื้อ

กระดูกและ
กล้ามเนื้อ

(Bone-Muscle Relationships)
ั
กระดูกและกล้ามเนื้อเป็ นโครงสร้างที่มีความสัมพันธ์กนเป็ นอย่างยิง โดยมัดกล้ามเนื้อ
่
แต่ละมัดจะมีปลายที่เป็ นเอ็น (Tendon) ยึดเกาะกับกระดูก ซึ่ งมีตาแหน่ง Origin และ
่
Insertion ของกล้ามเนื้อจะอยูบนกระดูกคนละท่อนที่ติดต่อกัน ที่ยดกันด้วยลิกกาเมนต์
ึ
(Ligament) เมื่อกล้ามเนื้อทางานโดยหดตัวจึงดึงให้กระดูกท่อนปลายยกหรื องอขึ้นมาได้
ดังนั้น การทางานของกระดูกและกล้ามเนื้อจึงเป็ นระบบคาน (Lever System)

4
แหล่งอ้างอิง

• http://watchawan.blogspot.com/2010/04/blog-post_29.html
• http://www.thaigoodview.com/node/32910
• http://watchawan.blogspot.com/2010/04/blog-post_3661.html
• http://watchawan.blogspot.com/2010/04/blog-post_3661.html
• http://healthfood.muslimthaipost.com/main/index.php?page=sub
&category=57&id=19345
• http://www.scimath.org/index.php/socialnetwork/groups/view
bulletin/676-

More Related Content

What's hot

อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Up
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Upอบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Up
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Upกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...Prachoom Rangkasikorn
 
ตัวอย่างชุดกิจกรรม
ตัวอย่างชุดกิจกรรมตัวอย่างชุดกิจกรรม
ตัวอย่างชุดกิจกรรมbankfai1330
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4 ส่วนประกอบของเซลล์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4 ส่วนประกอบของเซลล์แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4 ส่วนประกอบของเซลล์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4 ส่วนประกอบของเซลล์Wann Rattiya
 
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56doc
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56docSlกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56doc
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56dockrupornpana55
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศแบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศgchom
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนKrupol Phato
 

What's hot (20)

7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Up
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Upอบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Up
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Up
 
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
 
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
 
10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต
10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต
10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...
 
แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1
 
2.ส่วนหน้าแผน
2.ส่วนหน้าแผน2.ส่วนหน้าแผน
2.ส่วนหน้าแผน
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
3. แผน กล้อง ม.1
3. แผน   กล้อง ม.13. แผน   กล้อง ม.1
3. แผน กล้อง ม.1
 
ตัวอย่างชุดกิจกรรม
ตัวอย่างชุดกิจกรรมตัวอย่างชุดกิจกรรม
ตัวอย่างชุดกิจกรรม
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4 ส่วนประกอบของเซลล์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4 ส่วนประกอบของเซลล์แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4 ส่วนประกอบของเซลล์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4 ส่วนประกอบของเซลล์
 
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56doc
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56docSlกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56doc
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56doc
 
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
 
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศแบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอน
 
ป.5
ป.5ป.5
ป.5
 

Similar to การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต 5

ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยาDarika Kanhala
 
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์ โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์ พัน พัน
 
ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์พัน พัน
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไรเราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไรsupreechafkk
 
สุขะ 50
สุขะ 50สุขะ 50
สุขะ 50wayosaru01
 
สุข 50
สุข 50สุข 50
สุข 50chugafull
 
....
........
....MM AK
 
สุข 50
สุข 50สุข 50
สุข 50yyyim
 
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50Weerachat Martluplao
 
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯnampeungnsc
 

Similar to การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต 5 (20)

3 movement plan
3 movement plan3 movement plan
3 movement plan
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยา
 
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์ โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
 
ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
ติวOnetวิทย์
ติวOnetวิทย์ติวOnetวิทย์
ติวOnetวิทย์
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
Animal System
Animal SystemAnimal System
Animal System
 
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไรเราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
 
06 art50
06 art5006 art50
06 art50
 
2550_06
2550_062550_06
2550_06
 
06
0606
06
 
สุขะ 50
สุขะ 50สุขะ 50
สุขะ 50
 
พละ51
พละ51พละ51
พละ51
 
สุข 50
สุข 50สุข 50
สุข 50
 
....
........
....
 
สุข 50
สุข 50สุข 50
สุข 50
 
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50
 
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
 

More from Su Surut

การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต 3
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต 3การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต 3
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต 3Su Surut
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต ตัวอังสนา
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต ตัวอังสนาการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต ตัวอังสนา
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต ตัวอังสนาSu Surut
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมSu Surut
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมSu Surut
 
ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6Su Surut
 
ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6Su Surut
 
เฉลย O net 48 ภาษาไทย+ สังคม
เฉลย O net 48 ภาษาไทย+ สังคมเฉลย O net 48 ภาษาไทย+ สังคม
เฉลย O net 48 ภาษาไทย+ สังคมSu Surut
 
ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6Su Surut
 
ข้อสอบ O net 49 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net  49 สังคม ม 6ข้อสอบ O net  49 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 49 สังคม ม 6Su Surut
 
เฉลย O net 52 สังคม
เฉลย O net 52 สังคมเฉลย O net 52 สังคม
เฉลย O net 52 สังคมSu Surut
 
เฉลย O net 52 สังคม
เฉลย O net 52 สังคมเฉลย O net 52 สังคม
เฉลย O net 52 สังคมSu Surut
 
เฉลย Onet 50 สังคม
เฉลย Onet 50 สังคมเฉลย Onet 50 สังคม
เฉลย Onet 50 สังคมSu Surut
 
เฉลย O net 49 สังคม
เฉลย O net 49 สังคมเฉลย O net 49 สังคม
เฉลย O net 49 สังคมSu Surut
 
ข้อสอบ O net 50 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 50 สังคม ม 6ข้อสอบ O net 50 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 50 สังคม ม 6Su Surut
 
เฉลย Onet 50 สังคม
เฉลย Onet 50 สังคมเฉลย Onet 50 สังคม
เฉลย Onet 50 สังคมSu Surut
 
เฉลย O net 49 สังคม
เฉลย O net 49 สังคมเฉลย O net 49 สังคม
เฉลย O net 49 สังคมSu Surut
 
เฉลย O net 49 สังคม
เฉลย O net 49 สังคมเฉลย O net 49 สังคม
เฉลย O net 49 สังคมSu Surut
 
เฉลย O net 52 สังคม
เฉลย O net 52 สังคมเฉลย O net 52 สังคม
เฉลย O net 52 สังคมSu Surut
 
เฉลย Onet 51 สังคม
เฉลย Onet 51 สังคมเฉลย Onet 51 สังคม
เฉลย Onet 51 สังคมSu Surut
 
เฉลย Onet 50 สังคม
เฉลย Onet 50 สังคมเฉลย Onet 50 สังคม
เฉลย Onet 50 สังคมSu Surut
 

More from Su Surut (20)

การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต 3
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต 3การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต 3
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต 3
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต ตัวอังสนา
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต ตัวอังสนาการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต ตัวอังสนา
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต ตัวอังสนา
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม
 
ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6
 
ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6
 
เฉลย O net 48 ภาษาไทย+ สังคม
เฉลย O net 48 ภาษาไทย+ สังคมเฉลย O net 48 ภาษาไทย+ สังคม
เฉลย O net 48 ภาษาไทย+ สังคม
 
ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6
 
ข้อสอบ O net 49 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net  49 สังคม ม 6ข้อสอบ O net  49 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 49 สังคม ม 6
 
เฉลย O net 52 สังคม
เฉลย O net 52 สังคมเฉลย O net 52 สังคม
เฉลย O net 52 สังคม
 
เฉลย O net 52 สังคม
เฉลย O net 52 สังคมเฉลย O net 52 สังคม
เฉลย O net 52 สังคม
 
เฉลย Onet 50 สังคม
เฉลย Onet 50 สังคมเฉลย Onet 50 สังคม
เฉลย Onet 50 สังคม
 
เฉลย O net 49 สังคม
เฉลย O net 49 สังคมเฉลย O net 49 สังคม
เฉลย O net 49 สังคม
 
ข้อสอบ O net 50 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 50 สังคม ม 6ข้อสอบ O net 50 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 50 สังคม ม 6
 
เฉลย Onet 50 สังคม
เฉลย Onet 50 สังคมเฉลย Onet 50 สังคม
เฉลย Onet 50 สังคม
 
เฉลย O net 49 สังคม
เฉลย O net 49 สังคมเฉลย O net 49 สังคม
เฉลย O net 49 สังคม
 
เฉลย O net 49 สังคม
เฉลย O net 49 สังคมเฉลย O net 49 สังคม
เฉลย O net 49 สังคม
 
เฉลย O net 52 สังคม
เฉลย O net 52 สังคมเฉลย O net 52 สังคม
เฉลย O net 52 สังคม
 
เฉลย Onet 51 สังคม
เฉลย Onet 51 สังคมเฉลย Onet 51 สังคม
เฉลย Onet 51 สังคม
 
เฉลย Onet 50 สังคม
เฉลย Onet 50 สังคมเฉลย Onet 50 สังคม
เฉลย Onet 50 สังคม
 

การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต 5

  • 1. โครงงานคอมพิวเตอร์ วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร 6 ปี การศึกษา 2556 สื่ อการเรี ยนการสอน นางสาวศุภคชญา แก้วคาฟู เลขที่ 20 ห้อง 6/2 ั นางสาวสุ ธางศุรัตน์ อิ่นแก้ว เลขที่ 24 ห้อง 6/2
  • 2. ที่มาและความสาคัญ ของโครงงาน เนื่องจากเห็นว่า การเคลื่อนที่ของสิ่ งมีชีวตแต่ละชนิ ดมีความ ิ แตกต่างกันมาก โดยเฉพาะมนุษย์ที่มีการเคลื่อนที่หรื อเคลื่อนไหวของ ร่ างกายต่างจากสัตว์ชนิ ดอื่น ซึ่ งจะมีกลไกที่ซบซ้อนมาก มีโครงสร้างของ ั ร่ างกายที่สาคัญต่อการเคลื่อนไหวของร่ างกายหลายจุดด้วยกัน และยังมีการ เคลื่อนที่ของสัตว์ขนาดเล็ก หรื อการเคลื่อนที่ของสัตว์เซลล์เดียวที่ไม่ สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่าได้ แต่เป็ นการเคลื่อนที่ที่ไม่มีกลไกซับซ้อน ส่ วนสัตว์ชนิดอื่นจะมีความแตกต่างกันออกไปอย่างไรนั้น ผูจดทาจึงมีความ ้ั สนใจที่จะทาโครงงานนี้ข้ ึนเพื่อที่จะศึกษาว่า การเคลื่อนที่ของสัตว์แต่ละ ชนิดนั้นเคลื่อนที่อย่างไร สัตว์ตวเล็ก สัตว์ตวใหญ่ สัตว์เลื้อย ฯลฯ จะ ั ั เคลื่อนที่แตกต่างกันอย่างไร
  • 3. การเคลือนที่ของสิ่ งมีชีวิต ่ - การเคลื่อนไหว เป็ นการเคลื่อนย้ายเพียงบางส่ วนของร่ างกาย - การเคลื่อนที่ เป็ นการเคลื่อนย้ายจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนี่ง หลักการและทฤษฎี การเคลือนไหวและการเคลือนทีของมนุษย์ ทซับซ้ อน ่ ่ ่ ี่ -ระบบโครงกระดูก กระดูกของคนมีมากกว่า 200 ชิ้น แบ่งเป็ น 2 กลุ่ม คือ กระดูกแกน และกระดูกระยางค์ กระดูกแกน มี 80 ชิ้น ประกอบด้วย กระดูก กะโหลก กระดูกใบหน้า กระดูกขากรรไกร กระดูกสันหลัง เริ่ มตั้งแต่ กระดูกคอไปจนถึงกระดูก ก้นกบ กระดูกสันหลังช่วงอกมีกระดูกซี่ โครงมา เชื่อมต่อ ซึ่ งมีท้ งหมด 12 คู่ ซึ่ งจะมาเชื่อมต่อกับกระดูกหน้าอก ยกเว้นคู่ที่ 12 ั และ 13 กระดูกระยางค์ มี 126 ชิ้น ได้แก่ กระดูกแขน กระดูกขา กระดูก สะบัก กระดูกไหปลาร้า และกระดูกเชิงกราน
  • 4. -ระบบกล้ามเนือ กล้ามเนื้อแบ่งเป็ น 3 ชนิด คือ กล้ามเนื้อลาย (Striated ้ Muscle) กล้ามเนื้อเรี ยบ (Smooth Muscle) และกล้ามเนื้อหัวใจ (Cardiac Muscle) หลักการและทฤษฎี กล้ามเนื้อลาย เป็ นกล้ามเนื้อที่ยดเกาะกับกระดูก มีลกษณะเป็ นเส้นยาว ึ ั เรี ยกว่า เส้นใยของกล้ามเนื้อ (Muscle Fiber) รวมกันเป็ นมัดด้วยเนื้อเยือ ่ เกี่ยวพัน กล้ามเนื้อแต่ละมัดจะยึดติดกับกระดูก 2 ท่อน โดยปลายหนึ่งยึดกับ ่ ั ่ กระดูกท่อนที่อยูกบที่ เรี ยกปลายนี้วา Origin ส่ วนอีกปลายหนึ่งยึดติดกับ ่ กระดูกท่อนที่เคลื่อนที่เรี ยกว่า Insertion ส่ วนของกล้ามเนื้อที่อยูตรงกลาง มี ลักษณะหนา เรี ยกว่า (Belly)
  • 5. -การทางานของกล้ ามเนือ กล้ามเนื้อทางานโดยการหดตัว (Contraction) ้ 1. ระยะพักแถบทึบกับแถบจางซ้อนกันไม่สนิท เส้นใยกล้ามเนื้อจะเห็นเป็ น 3 ที่คือ I-band A-band และ H-zone หลักการและทฤษฎี 2. ระยะกล้ามเนื้อเริ่ มหดตัว แถบบางจะดึง Z-line เข้ามา ทาให้ Sarcomere แคบเข้า โดยที่ A-band ไม่เปลี่ยนแปลง ส่ วน I-band จะแคบเข้ามาทาให้ Hzone หายไป CU 474 218 3. ระยะกล้ามเนื้อหดตัวเต็มที่ Sarcomere ยิงแคบมากขึ้น เกิดจากการที่แถบ ่ บางมีการเหลื่อมซ้อนกัน การหดตัวของกล้ามเนื้อจึงอธิ บายด้วย Sliding Filament Model คือ รู ปแบบของการเลื่อนเข้ามาซ้อนกันของ Filament
  • 6. -ความสั มพันธ์ ในการทางานของกระดูกและกล้ ามเนือ ้ (Bone-Muscle Relationships) หลักการและทฤษฎี ั กระดูกและกล้ามเนื้อเป็ นโครงสร้างที่มีความสัมพันธ์กนเป็ นอย่างยิง โดยมัด ่ กล้ามเนื้อแต่ละมัดจะมีปลายที่เป็ นเอ็น (Tendon) ยึดเกาะกับกระดูก ซึ่ งมี ่ ตาแหน่ง Origin และ Insertion ของกล้ามเนื้อจะอยูบนกระดูกคนละท่อนที่ ติดต่อกัน ที่ยดกันด้วยลิกกาเมนต์ (Ligament) เมื่อกล้ามเนื้อทางานโดยหดตัว ึ จึงดึงให้กระดูกท่อนปลายยกหรื องอขึ้นมาได้ ดังนั้น การทางานของกระดูก และกล้ามเนื้อจึงเป็ นระบบคาน (Lever System) ซึ่ งเป็ นสมดุลโมเมนต์ ดังนี้ ความพยายาม x ความยาวของแขนความพยายาม = น้ าหนัก x ความยาวของ แขนน้ าหนัก หรื อ แรง x ระยะทาง = แรงต้าน x ระยะทาง
  • 8. ่ 1. ได้รู้วาการเคลื่อนที่ของสิ่ งมีชีวิตประเภทต่าง เป็ นอย่างไร ผลที่คาดว่าจะได้รบ ั ่ 2. ได้รู้วาความแตกต่างของการเคลื่อนที่ของสิ่ งมีชีวตต่างกันอย่างไร ิ ่ 3. ได้รู้วา โครงสร้างใดเป็ นส่ วนสาคัญของการเคลื่อนของมนุษย์ ที่ จะต้องดูแลรักษา
  • 9. 1.ช่วยกันเลือกหัวข้อโครงงาน วิธีดาเนินงาน 2.ทาโครงร่ างโครงงาน 3.ศึกษา ค้นคว้าข้อมูลที่จะทาโครงงาน 4.เก็บรวบรวมข้อมูล แล้วเอามาเรี ยบเรี ยง 5.ทาสื่ อการเรี ยนรู ้ เรื่ อง การเคลื่อนที่ของสิ่ งมีชีวิต
  • 12. การเคลื่อนที่ของ สิ่ งมีชีวต ิ การเคลื่อนไหว เป็ นการเคลื่อนย้ายเพียงบางส่ วนของร่ างกาย การเคลื่อนที่ เป็ นการเคลื่อนย้ายจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง * การเคลื่อนที่จะต้องมีการเคลื่อนไหวด้วยเสมอ แต่การเคลื่อนไหวไม่ จาเป็ นต้องมีการเคลื่อนที่ดวย ้
  • 13. 1. การเคลื่อนที่ของสัตว์ เซลล์เดียว •โพรทิส ( การเคลื่อนไหวโดยอาศัยการไหลของไซโทพลาซึม ) •การเคลื่อนที่ของอะมีบา •การเคลื่อนไหวโดยอาศัยแฟลเจลลัมหรื อซีเลีย •การเคลื่อนที่ของพารามีเซียม
  • 14. การเคลื่อนที่ของสัตว์ เซลล์เดียว ่ โพรทิสต์ (protist) เป็ นสิ่ งมีชีวตขนาดเล็กอยูใน ิ อาณาจักรโพรทิสตา(ProtistaKingdom)มีท้ งพวกที่เป็ น ั เซลล์เดียวและหลายเซลล์พวกโพรทิส์หลายเซลล์ ไม่มี ระบบเนื้อเยือและระบบโครงกระดูกจึงมีการ เคลื่อนไหว ่ แตกต่างกัน 1
  • 15.  การเคลือนไหวโดยอาศัยการไหลของไซโทพลาซึม (Cytoplasm) ่ การเคลื่อนที่ของสัตว์ เซลล์เดียว หมายถึงส่ วนของโพรโทพลาซึ มภายในเซลล์ท้ งหมด การเคลื่อนไหว ั โดยใช้ไซโทพลาซึ มนี้จะเคลื่อนไหวโดยการยืดส่ วน ของไซโทพลาซึ มออกจากเซลล์ เช่น การเคลื่อนไหวของรา เมือก อะมีบา เป็ นต้น การเคลื่อนไหวของอะมีบา ซึ่ งเป็ นโพรทิสต์ที่อาศัย 1
  • 16.  การไหลของไซโทพลาซึมที่แบ่ งออกเป็ น 2 ส่ วน คือ การเคลื่อนที่ของสัตว์ เซลล์เดียว 1.เอ็กโทพลาซึม(ectoplasm)เป็ นไซโทพลาซึ มชั้นนอก มีลกษณะเป็ น ั สารกึ่งแข็งกึ่งเหลว เรี ยกว่า เจล (gel) 2.เอนโดพลาซึม (endoplasm)เป็ นไซโทพลาซึ มชั้นในมีลกษณะ ั ค่อนข้างเหลวกว่าเรี ยกว่า โซล(sol) 1
  • 17. การเคลื่อนที่ของอะมีบา การเคลื่อนที่ของสัตว์ เซลล์เดียว ภายในไซโทพลาซึ มมีไมโครฟิ ลาเมนต์(microfilament) เป็ นเส้นใย โปรตีน แอกทินและไมโอซิ น เป็ นโครงสร้างที่ทาให้เอนโดพลาซึ ม ไหลไปมาภายในเซลล์ได้และดันเยือหุมเซลล์ให้โป่ งออกมาเป็ น ขา ่ ้ เทียม(pseudopodium)ทาให้อะมีบาเคลื่อนไหวได้ 1
  • 18.  การเคลือนไหวโดยอาศัยแฟลเจลลัมหรือซีเลีย ่ การเคลื่อนที่ของสัตว์ เซลล์เดียว การเคลื่อนไหวโดยอาศัยแฟลเจลลัมหรื อซี เลียซึ่ งเป็ น โครงสร้างเล็ก ที่ยนออกมาจากเซลล์สามารถโบกพัดไป ื่ มาได้ ทาให้สิ่งมีชีวตเคลื่อนที่ไปได้ ิ 1
  • 19. • แฟลเจลลัม (flagellum) มีลกษณะเป็ นเส้นยาว คล้ายหนวดยาว ั กว่าซี เลียแฟลเจลลัมเป็ โครงสร้างที่พบในสิ่ งมีชีวิตเซลล์เดียวบาง ชนิดเช่น ยูกลีนา(euglena) วอลวอกซ์ (volvox) เป็ นต้น การเคลื่อนที่ของสัตว์ เซลล์เดียว 1
  • 20. • ซี เลีย (cilia) มีลกษณะเป็ นเส้นเล็ก ยืนยาวออกจากเซลล์ของ ั ่ พืช หรื อสัตว์เซลล์เดียว หรื อเซลล์สืบพันธุ์ ใช้โบกพัดเพื่อให้เกิด การเคลื่อนที่ภายในน้ าหรื อของเหลว พบในพารามี เซี ยม (paramecium) พลานาเรี ย (planaria) เป็ นต้น การเคลื่อนที่ของสัตว์ เซลล์เดียว 1
  • 21. การเคลื่อนที่ของพารามีเซียม การเคลื่อนที่ของสัตว์ เซลล์เดียว พารามีเซี ยมเคลื่อนที่โดยการโบกพัดของซี เลีย ไปทางด้านหลังทาให้ตว ั ของพารามีเซี ยมเคลื่อนที่ไปข้างหน้า จากการโบกพัดของซี เลีย ทาให้ตว ั พารามีเซี ยมหมุนไปด้วยเนื่องจากไม่มีอวัยวะคอยปรับสมดุล (หาง เสื อ) และอีกอย่างหนึ่งเนื่องจากซี เลียที่ร่องปาก ซึ่ งมีจานวนมากกว่าโบก พัดแรงกว่าบริ เวณอื่น จึงทาให้หมุน 1
  • 23. การเคลื่อนที่ของไส้เดือน การเคลื่อนที่ของสัตว์ ไม่มีกระดูกสันหลัง ่ ไส้เดือนจัดอยูในไฟลัมแอนเนลิดา (annelida) ไส้เดือนมี กล้ามเนื้อ 2 ชุด ่ ้ คือกล้ามเนื้อวงกลมรอบตัว (circularmuscle) อยูดาน นอก และกล้ามเนื้อตามยาว (longitudinalmuscle) ตลอดลาตัว ่ อยูทางด้านในนอกจากนี้ไส้เดือนยังใช้เดือย (setae) ซึ่ งเป็ น โครงสร้างเล็ก ที่ยนออกจากผนังลาตัวรอบปล้องช่วยในการ ื่ เคลื่อนที่ดวยขณะที่ไส้เดือนเคลื่อนที่จะใช้เดือยจิกดิน ้ ไว้ กล้ามเนื้อวงกลมหดตัว 2
  • 24. การเคลื่อนที่ของสัตว์ ไม่มีกระดูกสันหลัง ส่ วนกล้ามเนื้อตามยาวคลายตัว ลาตัวจะยืดออก เมื่อสุ ดแล้ว ส่ วนหน้า คือ ปล้องแรกไส้เดือนกับเดือยจะจิกดินแล้ว กล้ามเนื้อวงกลมคลายตัว กล้ามเนื้อตามยาวหดตัว ดึงส่ วนท้าย ของลาตัวให้เคลื่อนมาข้างหน้าการเคลื่อนที่น้ ี เกิดจากการ ทางานร่ วมกันของกล้ามเนื้อวงกลมและกล้ามเนื้อตามยาว หด ตัวและคลายตัวเป็ นระลอกคลื่นจากด้านหน้ามาทางด้านหลัง ทาให้เกิดการเคลื่อนที่ไปทางด้านหน้า 2
  • 26. การเคลื่อนที่ของพลานาเรี ย การเคลื่อนที่ของสัตว์ ไม่มีกระดูกสันหลัง พลานาเรี ยมีกล้ามเนื้อ 3 ชนิด คือ ่ 1.กล้ามเนื้อวง (circular muscle) อยูทางด้านนอก ่ 2.กล้ามเนื้อตามยาว (longitudinal muscle) อยูทางด้านใน ่ 3.กล้ามเนื้อทแยง (oblique muscle) ยึดอยูระหว่างส่ วนบนและ ล่างของลาตัว 2
  • 27. การเคลื่อนที่ของสัตว์ ไม่มีกระดูกสันหลัง พลานาเรี ยเคลื่อนที่โดยการลอยไปตามน้ าหรื อคืบ คลานไปตามพืชใต้น้ าโดยอาศัยกล้ามเนื้อวงและ กล้ามเนื้อตามยาว ส่ วนกล้ามเนื้อทแยงจะช่วยให้ลาตัว แบนบางและพลิ้วไปตามน้ าในขณะที่พลานาเรี ยเคลื่อน ่ ไปตามผิวน้ าซี เลียที่อยูทางด้านล่างของลาตัวจะโบกพัด ไปมาช่วยเคลื่อนตัวไปได้ดียงขึ้น ิ่ 2
  • 28. การเคลื่อนที่ของแมงกะพรุ น การเคลื่อนที่ของสัตว์ ไม่มีกระดูกสันหลัง แมงกะพรุ นมีรูปร่ างคล้ายกระดิ่ง มีลาตัวนิ่มมาก มีของเหลว เรี ยกว่า มีโซเกลีย (mesoglea) แทรกอยูระหว่างเนื้อเยือชั้นนอกและ ่ เนื้อเยือชั้นใน มีน้ าเป็ นองค์ประกอบเป็ นส่ วนใหญ่ของลาตัว ่ แมงกะพรุ น เคลื่อนที่โดยการหดตัวของเนื้อเยือบริ เวณขอบกระดิ่ง ่ ่ และที่ผนังลาตัวสลับกัน ทาให้พนน้ าออกมาทางด้านล่างส่ วนตัวจะ ่ ่ พุงไปในทิศทางตรงข้ามกับทิศทางน้ าที่พนออกมาการหดตัวนี้จะเป็ น จังหวะทาให้ตวแมงกะพรุ นเคลื่อนไปเป็ นจังหวะด้วย ั 2
  • 30. การเคลื่อนที่ของหมึก การเคลื่อนที่ของสัตว์ ไม่มีกระดูกสันหลัง หมึก (squid) หมึกเป็ นสัตว์กลุ่มเดียวกับหอยหมึกเคลื่อนที่ โดยการหดตัวของกล้ามเนื้อลาตัว พ่นน้ าออกมาจากไซ ่ ฟอน (siphon) ซึ่ งอยูทางส่ วนล่างของส่ วนหัวทาให้ตวพุงไป ั ่ ข้างหน้าในทิศทางที่ตรงข้ามกับทิศทางของน้ า นอกจากนี้ ่ เปลี่ยนแปลงทิศทางของน้ าที่พนออกมาและยังทาให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงทิศทางของการเคลื่อนที่ดวย ส่ วนความเร็ วขึ้นอยู่ ้ กับความแรงของการบีบตัวของกล้ามเนื้อลาตัวแล้วพ่นน้ า ่ ออกมาและหมึกยังมีครี บอยูทางด้านข้างลาตัวช่วยในการทรง ตัวให้เคลื่อนที่ไปในทิศทางที่เหมาะสม 2
  • 32. การเคลื่อนที่ของดาวทะเล การเคลื่อนที่ของสัตว์ ไม่มีกระดูกสันหลัง ดาวทะเล (seastar) เป็ นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง มีโครงแข็งที่ผิวนอกไม่ได้ ยึดเกาะกับกล้ามเนื้อ ดาวทะเลมีระบบการเคลื่อนที่ดวยระบบท่อ ้ น้ า (water vascularsystem) ประกอบด้วยมาดรี โพไรต์ (madrepolite)มีลกษณะ ั คล้ายตะแกรงเป็ นทางให้น้ าเข้าสโตนแคเนล(stonecanal) เป็ นท่อที่ต่อมาจาก ่ มาดรี โพไรต์ ริ งแคแนล(ringcanal)เป็ นท่อวงแหวนที่อยูรอบปากน้ าจาก มาดรี โพไรต์และสโตนแคแนลมาเปิ ดเข้าส่ วนนี้ เรเดียลแคแนล (radial canal)เป็ น ท่อยาวยืนจากริ งแคแนลเข้าไปในอาร์ มแต่ละอัน แลเทอรอลแคแนล ่ (lateral canal)เป็ นท่อสั้น ที่ยนออกมาจากเรเดียลแคแนลทางด้านข้างจานวน ื่ มาก 2
  • 33. การเคลื่อนที่ของสัตว์ ไม่มีกระดูกสันหลัง ทิวบ์ฟีท (tube feet) มีลกษณะเป็ นหลอดยาวปลายตันที่ต่อมาจากและเท ั อรอบแคแนล ทิวบ์ฟีท เป็ นท่อปิ ดรู ปทรงกระบอก ปลายที่ยนออกนอก ื่ ลาตัวมีผนังเป็ นกล้ามเนื้อทาหน้าที่เป็ นอวัยวะเกาะติดหรื อชัคเกอร์ (sucker) ปลายอีกด้านหนึ่งเป็ นกระเปาะกล้ามเนื้อเรี ยกว่า แอมพูล ลา (ampulla)ดาวทะเลเคลื่อนที่โดยแอมพลูลาหดตัวจะดันน้ าไปตามทิวบ์ ฟี ททาให้ทิวบ์ฟีทยืดยาวออกเมื่อเคลื่อนที่ไปแล้วทิวบ์ฟีทหดสั้นเข้าดันน้ า กลับเข้าสู่ แอมพูลลาใหม่การหดตัวและคลายตัวของทิวบ์ฟีทอาศัยแรงดัน ของน้ า ไม่อาศัยแอนตาโกนิซึมของกล้ามเนื้อการยืดและหดตัวของทิวบ์ ฟี ท หลาย อันต่อเนื่องกันทาให้ดาวทะเลเคลื่อนไหวได้ 2
  • 35. 3. การเคลือนที่ของสั ตว์ ที่ ่ มีกระดูกสั นหลัง •การเคลือนทีของปลา ่ ่ การเคลือนทีของสัตว์ครึ่งนา้ ครึ่งกก ่ ่ การเคลือนทีของสัตว์เลื้อยคลาน ่ ่ การเคลือนทีของนก ่ ่ การเคลือนทีของเสือชีตา้ ่ ่
  • 36. การเคลื่อนที่ของปลา การเคลือนที่ของสั ตว์ ที่ ่ มีกระดูกสั นหลัง ปลา เป็ นสัตว์เลือดเย็น สามารถปรับอุณหภูมิของร่ างกายตาม ่ อุณหภูมิของสิ่ งแวดล้อม อาศัยอยูในน้ าจืดและน้ าเค็ม มีกระดูก สันหลังต่อกันเป็ นข้อ ภายในร่ างกายลักษณะสาคัญคือมีครี บ ่ ช่วยในการว่ายน้ า หายใจด้วยเหงือก มีถุงลมอยูในตัว ช่วยลด และเพิ่มปริ มาณอากาศ และยังช่วยในการลอยตัวของปลามี ขากรรไกรบนและล่างสามารถอ้าปากเพื่อฮุบน้ าที่มีอาหารปน อยู่ 3
  • 37. การเคลือนที่ของสั ตว์ ที่ ่ มีกระดูกสั นหลัง บางชนิดมีเกล็ด บางชนิดไม่มีเกล็ด บางชนิดมีฟัน แหลมคมสามารถจับเหยือได้เป็ นอย่างดีรูปร่ างของปลา ่ แต่ละชนิดมีความแตกต่างกัน บางชนิดมีลาตัวยาว เช่น ปลาไหลบางชนิดลาตัวทรงกระบอง เช่น ปลาช่อน บาง ชนิดมีลาตัวแบน เช่น ปลากระเบน ส่ วนปลาปั กเป้ ามี ลาตัวค่อนข้างกลม และมีหนามแหลมยืนออกตามิวหนัง ่ เพื่อป้ องกันตัว มัาน้ ามีรูปร่ างแปลกกว่าปลาอื่น มีหาง ม้วนงอสาหรับจับยึดกิ่งไม้หรื อปะการังใต้น้ าได้ดวย ้ กระดูกของปลาเราเรี ยกว่าก้างบางชนิ ดมีเมือกที่ทาให้ลื่น สามารถเคลื่อนที่ได้สะดวก 3
  • 39. การเคลื่อนที่ของสัตว์ครึ่ งบกครึ่ งน้ า การเคลือนที่ของสั ตว์ ที่ ่ มีกระดูกสั นหลัง สัตว์ พวกนี้ เป็ นสัตว์เลือดเย็นเหมือนกับปลา อาหารที่กิน จะเป็ นตัวหนอนและแมลงโดยใช้ลิ้นตวัดเข้าปากตอนเป็ นตัว ่ ่ อ่อนจะอาศัยอยูในน้ า เมื่อโตเต็มวัยจะขึ้นมาอาศัยอยูบนบก ่ แต่สามารถยังอยูในน้ าได้เป็ นเวลานานได้แก่ กบ อึ่ง อ่าง คางคก เขียดปาดจงโคร่ ง ซึ่ งมีลกษณะคล้ายกับคางคก ั ลักษณะสาคัญ มีผวหนังเรี ยบไม่มีเกล็ด และเปี ยกชื้นอยู่ ิ ตลอดเวลา เพราะมีต่อมสร้างน้ าเมือกคอยขับน้ าเมือกออกมา ่ ถ้าผิวหนังแห้งบางพวกอาจต่อมพิษอยูตามผิวหนังที่ขรุ ขระ สัตว์พวกนี้ตอนเป็ นตัวอ่อนจะมีหางและมีรูปร่ างคล้ายปลา ่ อาศัยอยูในน้ า หายใจด้วยเหงือก เรี ยกว่าลูกอ๊อด 3
  • 40. การเคลือนที่ของสั ตว์ ที่ ่ มีกระดูกสั นหลัง ต่อมาจะมีการเปลี่ยนแปลงรู ปร่ างโดยเหงือกค่อย หายไปและปอดใช้หายใจแทนเหงือกขาเริ่ มงอกหางหด สั้นลงจนรู ปร่ างเหมือนตัวเต็มวัยแต่มีขนาดเล็กขึ้นมา อาศัยบนบกและเจริ ญเติบโตนอกจากหายใจด้วยปอด แล้วยังสามารถแลกเปลี่ยนก๊าชผ่านทางผิวหนังที่บางและ ่ ชุ่มชื้นได้อีกทางหนึ่ งด้วยทาให้สามารถอยูในน้ าได้เป็ น เวลานานในฤดูหนาวและฤดูร้อนสัตว์พวกนี้จะหลบ ่ ความแห้งแล้งและขาดแคลนอาหารไปอยูที่ชุ่มชื้น โดย ่ ขุดรู หรื อฝังตัวอยูใต้ดินเรี ยกว่า การจาศีลในช่วงนี้จะไม่ กินอาหารโดยจะใช้อาหารที่สะสมไว้ในร่ างกายอย่าง ช้า เพื่อรอฤดูฝนจะออกมากินอาหารตามปกติ 3
  • 42. การเคลื่อนที่ของสัตว์เลื้อยคลาน การเคลือนที่ของสั ตว์ ที่ ่ มีกระดูกสั นหลัง ่ สัตว์ พวกนี้ เป็ นสัตว์เลือดเย็น อาศัยอยูบนบกเป็ นส่ วนใหญ่ จะลงไปหาอาหารในน้ า ่ เวลาพักผ่อนจะขึ้นมาอยูบนบกหรื อริ มน้ า ยังพบว่าสัตว์พวกนี้มีอุณหภูมิร่างกาย เปลี่ยนแปลงไปตามอุณหภูมิของสิ่ งแวดล้อมเช่นเดียวกัยพวก ปลาและสัตว์ครึ่ งน้ าครึ่ งบก ได้แก่ จระเข้ เต่า ตะพาบ งู กิ้งก่า จิ้งจก ลักษณะสาคัญ มีผวหนังหนาและแห้ง มักมีเกล็ด ิ แข็งปกคลุมร่ างกาย หายใจด้วยปอด มีขา 4 ขา ปลายนิ้วเล็บช่วยจิกในการเคลื่อนที่ และ อาจมีการเปลื่ยนแปลงลักษณะให้เหมาะสมกับการเคลื่อนที่ เช่น เปลี่ยนไปเป็ นใบพาย สาหรับว่ายน้ า เช่น เต่าทะเล ในเต่าและตะพาบน้ าเกล็ด จะเชื่อมติดต่อกันเป็ นแผ่นใหญ่ เรี ยกว่า " กระดอง " บางชนิดไม่มีขาจึงเคลื่อนที่ โดยการใช้วธีการเลื้อย เช่น งู ิ 3
  • 43. การเคลื่อนที่ของนก การเคลือนที่ของสั ตว์ ที่ ่ มีกระดูกสั นหลัง นกมีกระดูกที่กลวงทาให้ตวเบา และอัดตัวกันแน่นทา ั ให้นกมีขนาดเล็ก และรู ปร่ างเพรี ยวลมจึงเคลื่อนตัวไป ในอากาศได้ดี นกมีกล้ามเนื้อที่ใช้ในการขยับปี กที่ ู่ แข็งแรงโดยกล้ามเนื้อนี้จะยึดอยูระหว่างโคนปี กกับ กระดูกอก (keel or sternum) กล้ามเนื้อคู่หนึ่ง ทาหน้าที่ เป็ นกล้ามเนื้อยกปี ก(levatermuscle)คือกล้ามเนื้อ เพกทอราลิสไมเนอร์ (pectorlisminor) 3
  • 44. การเคลือนที่ของสั ตว์ ที่ ่ มีกระดูกสั นหลัง และกล้ามเนื้ออีกคู่มีขนาดใหญ่มากทาหน้าที่ในการหุ บปี ก ลง(depressermuscle)คือกล้ามเนื้อเพกทอราลิสเมเจอร์ (pectorralismajor) การทางานของกล้ามเนื้อคู่น้ ีมีลกษณะ ั เป็ นแอนทาโกนิซึมด้วยคือขณะที่นกกดปี กลงกล้ามเนื้อ เพกทอราลิสเมเจอร์ จะหดตัวส่ วนเพกทอราลิสไมเนอรฃ์จะ คลายตัวขณะที่นกยกปี กขึ้นกล้ามเนื้อเพกทอราลิสไมเนอร์ จะหดตัวขณะที่กล้ามเนื้อเพกทอราลิสเมเจอร์ จะคลายตัว สลับกันไป 3
  • 46. นกมีถุงลม (air sac) การเคลือนที่ของสั ตว์ ที่ ่ มีกระดูกสั นหลัง ่ ถุงลมของนกเจริ ญดีมากและอยูติดกับปอด นอกจากนี้ยง ั แทรกเข้าไปในโครงกระดูกด้วย ในขณะที่นกหายใจเข้า กระดูกอกจะลดต่าลงถุงลมขยายขนาดขึ้น อากาศจะไหลผ่าน เข้าสู่ หลอดลม เข้าสู่ ปอดและเข้าสู่ ถุงลมตอนท้าย ส่ วนอากาศ ที่ถกใช้แล้ว จะออกจากปอดเข้าสู่ ถุงลมตอนหน้า ในขณะที่ ู หายใจออก 3
  • 47. การเคลือนที่ของสั ตว์ ที่ ่ มีกระดูกสั นหลัง อากาศจากถุงลมตอนท้ายจะเข้าสู่ ปอด ทาให้ปอดพองออกและอากาศจากถุง ลมตอนหน้าถูกขับออกนอกร่ างกายต่อไปอย่างนี้เสมอ การมีถุงลมของนก ทาให้เพิ่มประสิ ทธิ ภาพในการถ่ายเทอากาศให้แก่ปอดได้เป็ นอย่างดี แต่ถุง ลมทาหน้าที่ช่วยปอดเท่านั้นไม่ได้ทาหน้าที่ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส การที่นก บินนกต้องใช้พลังงานจานวนมาก จึงทาให้นกมีเมแทบอลิซึมสูงมาก นกจึง ต้องกินมากและใช้ออกซิ เจนมากด้วย 3
  • 48. นกมีขน (feather) การเคลือนที่ของสั ตว์ ที่ ่ มีกระดูกสั นหลัง ขนของนกบางและเบาช่วยในการอุมอากาศ ขนที่ปีก ้ ่ ช่วยในการดันอากาศขณะหุ บปี กลง ทาให้ตวนกพุงไป ั ข้างหน้า การเคลื่อนที่ของนกในอากาศจะเร็ วหรื อช้า ่ ั ขึ้นอยูกบน้ าหนักของตัวนก ขนาดของปี ก ความเร็ วของ การขยับปี กและกระแสลมในขณะที่นกเริ่ มบินต้องใช้แรง ่ อย่างมากแต่เมื่อลอยตัวอยูในอากาศแล้วก็ไม่ตองใช้แรง ้ มากนัก การบินของนกโดยทัว ไป มีดงนี้ ั ่ 3
  • 49. การเคลือนที่ของสั ตว์ ที่ ่ มีกระดูกสั นหลัง 1. นกกางปี กออกเต็มที่ 2. นกจะโบกปี กลงทาให้ลาตัวนกเชิดขึ้น เนื่องจากเกิดแรง ปะทะกับอากาศ ตัวนกจึงลอยขึ้นไปในอากาศได้ 3. ปี กที่โบกลงนั้นจะเคลื่อนที่ไปข้างหน้า ทาให้เกิดแรง ปะทะกับอากาศเพิ่มมากขึ้น 4. เมื่อโบกปี กลงและเคลื่อนที่ไปข้างหน้าแล้ว นกจะยกปี ก ่ ขึ้น และสะบัดไปข้างหลังอย่างแรง ทาให้นกพุงไป ข้างหน้ากระบวนการต่าง เกิดขึ้นเร็ วมาก จึงทาให้นกบิน ได้อย่างรวดเร็ ว 3
  • 51. การเคลื่อนที่ของเสื อชีตา ้ การเคลือนที่ของสั ตว์ ที่ ่ มีกระดูกสั นหลัง เสื อชีตามีกล้ามเนื้อขาทั้งสี่ ที่แข็งแรงมาโดยเฉพาะอย่างยิงขาหลังจะ ้ ่ แข็งแรงเป็ นพิเศษเพราะต้องใช้ในการกระโดดนอกจากนี้ กระดูกสันหลังของ เสื อชีตาก็ช่วยได้มาก เนื่องจากมีขนาดยาวและเคลื่อนที่ข้ ึนลงได้ดี ทาให้ ้ ช่วงการก้าวของขาหน้าและขาหลังห่างกันมาก มันจึงวิงได้เร็ ว ความ ่ แข็งแรงของกล้ามเนื้อช่วยให้ความถี่และความแรงของการก้าวสู ง เสื อชีตา ้ จึงวิงได้เร็ วมาก ่ 3
  • 53. • ระบบโครงกระดูก 4. การเคลื่อนที่ของ มนุษย์ • ระบบกล้ามเนื้อ กระดูกแกนและกระดูกระยางค์ กล้ามเนื้อสเกเลตันที่สาคัญ โครงสร้างและการทางานของกล้ามเนื้อ การทางานของกล้ามเนื้อ กลไกการเกิด Sliding-Filament การควบคุมการทางานของกล้ามเนื้อ ข้อต่อ ชนิดข้อต่อ • ความสัมพันธ์ในการทางานของกระดูกและกล้ามเนื้อ
  • 54. กระดูกแกนและกระดูกระยางค์ กระดูกของคนมีมากกว่า 200 ชิ้น แบ่งเป็ น 2 กลุ่ม คือ กระดูกแกน (Axial Skeleton) และกระดูกระยางค์ (Appendicular Skeleton) ระบบโครงกระดูก  กระดูกแกน มี 80 ชิ้น ประกอบด้วย กระดูกกะโหลก (Skull) กระดูก ใบหน้า (Facial Bone) กระดูกขากรรไกร กระดูกสันหลัง เริ่ มตั้งแต่กระดูก คอไปจนถึงกระดูก ก้นกบ กระดูกสันหลังช่วงอกมีกระดูกซี่ โครงมา เชื่อมต่อ ซึ่ งมีท้ งหมด 12 คู่ ซึ่ งจะมาเชื่อมต่อกับกระดูกหน้าอก (Sternum) ั ยกเว้นคู่ที่ 12 และ 13  กระดูกระยางค์ มี 126 ชิ้น ได้แก่ กระดูกแขน กระดูกขา กระดูกสะบัก (Scapula) กระดูกไหปลาร้า (Clavicle) และกระดูกเชิงกราน (Pelvis) 4
  • 55. ระบบโครงกระดูก  สี น้ าเงิน คือ กระดูกแกน 80 ชิ้น  สี เหลือง คือ กระดูกรยางค์ 126 ชิ้น 4
  • 56.  กระดูกแขน เป็ นกระดูกยาว มีกระดูกสะบักและกระดูกไหปลาร้าเป็ นฐานของแขน ประกอบด้วย กระดูกต้นแขน (Humerus) กระดูกปลายแขน มี 2 ชิ้น คือ กระดูกปลาย แขนท่อนใน (Radius) และกระดูกปลายแขนท่อนนอก (Ulna) กระดูกข้อมือ (Carpal) กระดูกฝ่ ามือ (Metacarpal) และกระดูกนิ้วมือ (Phalanges) ระบบโครงกระดูก 4
  • 57. ระบบโครงกระดูก  กระดูกขา เป็ นกระดูกยาวเชื่อมต่อ กับกระดูกเชิงกราน ประกอบด้วย กระดูกโคนขา (Femur) กระดูกขา ส่ วนล่าง มี 2 ชิ้น คือ กระดูกหน้า แข้ง (Tibia) และกระดูกน่อง (Fibula) กระดูกข้อเท้า (Tarsal) กระดูกฝ่ าเท้า (Metatarsal) และ กระดูกนิ้วเท้า (Phalanges) 4
  • 58.  ภายในกระดูกมีโพรงกระดูก (Marrow Carvity) ซึ่งภายในมีไขกระดูก (Bone Marrow) บรรจุอยู่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกระดูกท่อนยาว คือ กระดูกแขน ขา ไข กระดูกทาหน้าที่สร้างเม็ดเลือดแดง และเม็ดเลือดขาว ผิวด้านนอกของกระดูกมีเยือ ่ หุ้มกระดูก (Periosteum) ซึ่งเป็นเซลล์กระดูกและเส้นเลือด ทาหน้าที่นาเลือดมา เลี้ยงเซลล์กระดูก และช่วยให้กล้ามเนื้อและเอ็นยึดติดกระดูกได ระบบโครงกระดูก 4
  • 59. ข้อต่อ (articulation หรื อ Joint) ระบบโครงกระดูก ข้อต่อ: เป็ นบริ เวณที่กระดูกมาต่อกับกระดูก มี synovial memebranes มาหุมบริ เวณข้อต่อ ้ เพื่อป้ องกันการเสี ยดสี ระหว่างกระดูก จะมี กระดูกอ่อนมาทาหน้าที่เป็ นหมอนรอง และมี synovial fluid ทาหน้าที่เป็ นสารหล่อลื่น  Ligament: เป็ นเอ็นที่ยดระหว่างกระดูกกับ ึ กระดูก  Tendon: เป็ นเอ็นที่ยดระหว่างกล้ามเนื้อกับ ึ กระดูก 4
  • 60. ชนิดข้อต่อ ระบบโครงกระดูก 1.ข้อต่อไฟบรัส (fibrous joint) เป็ นข้อต่อที่เคลื่อนไหวไม่ได้และมีเนื้อเยือเกี่ยวพันบาง ยึด ่ กระดูกสองชิ้นไว้ หรื ออาจหุมภายนอกไว้ เช่น กระดูกกะโหลกศรี ษะ ้ 2.ข้อต่อกระดูกอ่อน (cartilagenous joint) เป็ นข้อต่อที่เคลื่อนไหวได้เล็กน้อย เช่นข้อต่อ ระหว่างกระดูกซี่โครงกับกระดูกอก ข้อต่อระหว่างท่อนกระดูกสันหลัง ข้อต่อระหว่างกระดูก เชิงกรานซีกซ้ายกับซีกขวาทางด้านหัวหน่าว 3.ข้อต่อซิลโนเวียล (sylnovial joint) เป็ นข้อต่อที่เคลื่อนไหวได้มาก ประกอบด้วยกระดูกอย่าง น้อย 2 ชิ้น 4
  • 61. กล้ามเนื้อแบ่งเป็ น 3 ชนิด คือ กล้ามเนื้อลาย (Striated Muscle) กล้ามเนื้อเรี ยบ (Smooth Muscle) และกล้ามเนื้อหัวใจ (Cardiac Muscle) ระบบกล้ ามเนือ ้ 4
  • 62. กล้ามเนื้อสเกเลตันที่สาคัญ ระบบกล้ ามเนือ ้ ชื่อของกล้ามเนื้อมักเรี ยกตามหน้าที่ เช่น Levator Scapulae เป็ นกล้ามเนื้อยกไหล่ Extensor Carpi Ulnaris เป็ นกล้ามเนื้อเหยียดมือ กล้ามเนื้อบางมัดเรี ยกชื่อตามตาแหน่งที่ อยู่ เช่น Temporaris เป็ นกล้ามเนื้อบริ เวณขมับ Intercostal เป็ นกล้ามเนื้อยึดระหว่าง กระดูกซี่โครง กล้ามเนื้อบางมัดเรี ยกชื่อตามรู ปร่ าง เช่น Biceps มีลกษณะเป็ น 2 แฉก ั Triceps มีลกษณะเป็ น 3 แฉก กล้ามเนื้อบางมัดก็ต้งชื่อตามตาแหน่งที่ Origin และ ั ั Insertion 4
  • 63. โครงสร้างและการทางานของกล้ามเนื้อ ระบบกล้ ามเนือ ้ กล้ามเนื้อสเกเลตัน (Skeleton Muscle) หรื อกล้ามเนื้อลาย (Stricted Muscle) เป็ น ่ ิ ่ กล้ามเนื้อที่มีมากที่สุด เป็ นโครงสร้างส่ วนใหญ่ของร่ างกาย อยูใต้ผวหนัง อยูรวมเป็ นกลุ่ม ของมัดกล้ามเนื้อ ใน 1 มัด ประกอบด้วย เซลล์กล้ามเนื้อ (Muscle Fiber) ลักษณะยาว จานวนมาก เซลล์เหล่านี้จะรวมกันเป็ นมัดเล็ก เรี ยกว่า ฟาสซิ เคิล (Fasicle) หลาย ฟาส ซิเคิลรวมกัน เป็ นมัดกล้ามเนื้อ (Muscle Bundle) โดยมีเยือเกี่ยวพันหุม เรี ยกว่า เยือ ่ ้ ่ กล้ามเนื้อ (Epimysium) ซึ่ งจะแทรกตัวเข้าไปหุมรอบฟาสซิ เคิลด้วย เรี ยกว่า เพอริ มยเซียม ้ ั ่ (Perimysium) ทาให้เซลล์กล้ามเนื้อยึดติดกันอยูได้ และทาให้กล้ามเนื้อแต่ละกลุ่มหดตัว ได้อย่างอิสระ ไม่ข้ ึนต่อกัน ปลายกล้ามเนื้อแต่ละมัด เป็ นเอ็น (Tendon) ที่จะยึดกับกระดูก และแผ่นเอ็นต่าง 4
  • 64. ระบบกล้ ามเนือ ้ เซลล์ของกล้ามเนื้อสเกเลตัน มีรูปร่ างยาวทรงกระบอก ตลอดมัดกล้ามเนื้ออาจมีความ ยาวถึง 30 เซนติเมตร มีนิวเคลียสหลายอัน ภายในเซลล์ประกอบด้วย เส้นใยโปรตีน (Myofibril) 2 ชนิด คือ เส้นใยบาง (Thin Filament) ซึ่งเป็ นโปรตีน actin 2 สายพันกัน และ เส้นใยหนา (Thick Filament) เป็ นโปรตีน myosin เส้นใยบางและเส้นใยหนาจัดเรี ยงตัว สลับกันเป็ นระเบียบ เห็นเป็ นลายตามขวางทึบ-จางสลับกัน แถบจางในลายตามขวาง คือ I-band (Isotropic band) มีความยาว 1 ไมโครเมตร แถบทึบ คือ A-band (Anisotropic band) ยาว 1.6 ไมโครเมตร บริ เวณตอนกลางของแถบ A มีช่องที่แถบจางไม่บรรจบกัน เรี ยกว่า บริ เวณ H (H-zone) และเส้นกลางของ H-zone คือ M-line ตรงกลางของแถบจาง จะมีเส้นทึบเล็ก คือ เส้นซี (Z-line) ระยะห่างระหว่างเส้นซี 2 เส้น คือ ซาร์โคเมียร์ (Sarcomere) เป็ นส่ วนที่ช้ ีการทางานของกล้ามเนื้อ 4
  • 66. การทางานของกล้ามเนื้อ กล้ามเนื้อทางานโดยการหดตัว (Contraction) ระบบกล้ ามเนือ ้ 1. ระยะพัก แถบทึบกับแถบจางซ้อนกันไม่สนิท เส้นใยกล้ามเนื้อจะเห็นเป็ น 3 บริ เวณ คือ I-band A-band และ H-zone 2. ระยะกล้ามเนื้อเริ่ มหดตัว แถบบางจะดึง Z-line เข้ามา ทาให้ Sarcomere แคบเข้า โดยที่ A-band ไม่เปลี่ยนแปลง ส่ วน I-band จะแคบเข้ามาทาให้ H-zone หายไป CU 474 218 3. ระยะกล้ามเนื้อหดตัวเต็มที่ Sarcomere ยิงแคบมากขึ้น เกิดจากการที่แถบบางมีการ ่ เหลื่อมซ้อนกัน การหดตัวของกล้ามเนื้อจึงอธิบายด้วย Sliding Filament Model คือ รู ปแบบของการเลื่อนเข้ามาซ้อนกันของ Filament 4
  • 68. กลไกการเกิด Sliding-Filament ระบบกล้ ามเนือ ้ การเลื่อนของ Filament เกิดขึ้นตามลาดับ ดังนี้ ่ 1. ส่ วนหัวของไมโอซิ น อยูในรู ปของสารพลังงานสู ง เนื่องจากมีการจับกับ ATP และถูด ไฮโดรไลส์ได้ ADP และ Pi มาแล้ว พร้อมจะสร้างสะพานเชื่อมกับ actin ให้เป็ นเส้นใย actin-myosin 2. ส่ วนหัวของไมโอซิ น จะงอและเบนเข้าหาเส้นใยแอกตินตรงตาแหน่งยึดเกาะพร้อม ปล่อย ADP และ Pi ออก ่ 3. ส่ วนหัวของไมโอซิ น กลับมาอยูในรู ปของสารพลังงานต่า ดึงเส้นใยแถบจาง (Thin Filament) ให้เข้าสู่ศูนย์กลางของซาร์โคเมียร์ หัวของไมโอซิ นหลุดออกจากสะพานเชื่อม พร้อมที่จะจับกับ ATP โมเลกุลใหม่ 4. หัวของไมโอซิน จะเริ่ มจับกับ ATP ใหม่ พร้อมกับไฮโดรไลส์ ATP ได้ ADP+Pi หัวไม ่ โอซินจึงกลับไปอยูในรู ปสารพลังงานสู งได้ใหม่ เพื่อจะเริ่ มต้นวงจรการทางานใหม่ 4
  • 70. การควบคุมการทางานของกล้ามเนื้อ (Control of Muscle Contraction) ระบบกล้ ามเนือ ้ กล้ามเนื้อทางานโดยการหดตัว ภายใต้การควบคุมของระบบประสาทด้วยการ รับคาสัง ่ จากเซลล์ประสาทนาคาสัง (Motor Neuron) บริ เวณที่เส้นประสาทมาสิ้ นสุ ดทีกล้ามเนื้อส ่ ่ เกเลตัน คือ Motor Endplate เป็ นบริ เวณที่เส้นประสาทมาไซแนปส์ (Synapse) กับเซลล์ กล้ามเนื้อ เรี ยกว่า Neuromuscular Synapse ซึ่งเป็ นไซแนปส์เคมี (Chemical Synapse) เมื่อเซลล์กล้ามเนื้อถูกกระตุนด้วยประสาทนาคาสัง จะเกิดการเร่ งกล้ามเนื้อ (Excitation ้ ่ Contraction Coupling) กล้ามเนื้อที่ถูกกระตุนจะเกิดศักย์ไฟฟ้ าส่ งไปกระตุนให้มีการหลัง ้ ้ ่ Ca+ ออกจากกระเปาะส่ วนปลายของซาร์โคพลาสมิก เรติคิวลัม (Sarcoplasmic Reticulum) ทาให้มีปริ มาณ Ca+ เพิมขึ้นในเซลล์ Ca+ จะไปจับกับโทรโปนิน ซี ่ (Troponin-C) ทาให้กล้ามเนื้อหดตัว (Contraction) ช่วงเวลาตั้งแต่การเร้ากล้ามเนื้อจนถึง กล้ามเนื้อเริ่ มหดตัว เรี ยกว่า ระยะพัก (Latent Period) ซึ่งใช้เวลาประมาณ 6-10 วินาที 4
  • 72. ระบบกล้ ามเนือ ้ เมื่อสิ้ นสุ ดการทางานของศักย์ไฟฟ้ าบนผนังเซลล์กล้ามเนื้อ ผนังซาร์โคพลาสมิก เรติ คิวลัมจะกลับไปสู่ สภาพปกติ Ca+ จะถูก pump กลับไปเก็บที่ซาร์โคพลาสมิก เรติคิวลัม ทาให้ไม่มี Ca+ จับกับโทรโปนิน ซี และโทรโปไมโอซินจะเคลื่อนตัวไปปิ ดจุดเกาะไมโอ ซินบนCU 474 220 สายแอคตินดังเดิม ในขณะที่หวไมโอซิ นก็เริ่ มจับกับ ATP ตัวใหม่ ั ทาให้ไมโอซินแยกตัวออกจากแอคติน เส้นใยแถบบางจะเลื่อนออกจากเส้นใยแถบทึบ เกิดการคลายตัว (Relaxation) ของกล้ามเนื้อ ่ จะเห็นได้วาการหดตัวของกล้ามเนื้อต้องมีปัจจัยสาคัญ 3 ประการ คือ เส้นใยกล้ามเนื้อ Ca+ และ ATP ถ้าร่ างกายขาด ATP หัวของไมโอซินจะเกาะติดกับแอคติน อย่างถาวร ทา ให้กล้ามเนื้อหดตัวอย่างถาวร เรี ยกว่า Rigor Mortis เช่น ในคนที่เสี ยชีวต ในคนที่ยงมีชีวต ิ ั ิ ร่ างกายยังสร้างสาร ATP จึงมีการเปลี่ยนแปลงที่ไมโอซินและแอคตินตลอดเวลา ที่ จุดเชื่อมเกาะของโปรตีน 2 ชนิดนี้จะมีการจับ-โยก-ปล่อย เป็ นวงจรที่เกิด ซ้ า ตลอดเวลา การหดตัว-คลายตัวของกล้ามเนื้อจึงดาเนินไปได้อย่างต่อเนื่อง 4
  • 73. ความสัมพันธ์ในการทางานของกระดูกและกล้ามเนื้อ กระดูกและ กล้ามเนื้อ (Bone-Muscle Relationships) ั กระดูกและกล้ามเนื้อเป็ นโครงสร้างที่มีความสัมพันธ์กนเป็ นอย่างยิง โดยมัดกล้ามเนื้อ ่ แต่ละมัดจะมีปลายที่เป็ นเอ็น (Tendon) ยึดเกาะกับกระดูก ซึ่ งมีตาแหน่ง Origin และ ่ Insertion ของกล้ามเนื้อจะอยูบนกระดูกคนละท่อนที่ติดต่อกัน ที่ยดกันด้วยลิกกาเมนต์ ึ (Ligament) เมื่อกล้ามเนื้อทางานโดยหดตัวจึงดึงให้กระดูกท่อนปลายยกหรื องอขึ้นมาได้ ดังนั้น การทางานของกระดูกและกล้ามเนื้อจึงเป็ นระบบคาน (Lever System) 4
  • 74. แหล่งอ้างอิง • http://watchawan.blogspot.com/2010/04/blog-post_29.html • http://www.thaigoodview.com/node/32910 • http://watchawan.blogspot.com/2010/04/blog-post_3661.html • http://watchawan.blogspot.com/2010/04/blog-post_3661.html • http://healthfood.muslimthaipost.com/main/index.php?page=sub &category=57&id=19345 • http://www.scimath.org/index.php/socialnetwork/groups/view bulletin/676-