SlideShare a Scribd company logo
1 of 41
• การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต ( Locomotion ) การเคลื่อนไหว
(Movement) ถือว่าเป็นคุณสมบัติของสิ่งมีชีวิตทุกๆชนิดทั้งสัตว์
พืช และโพรทิสต์ แต่ถ้าสิ่งมีชีวิตนั้นเคลื่อนที่ไปทั้งตัวโดยเปลี่ยน
ตาแหน่ง จากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง เราเรียกว่า การเคลื่อนที่
(Locomotion) ซึ่งใช้กับสัตว์ส่วนใหญ่ และโพรทิสต์ บางชนิดไม่
ใช้การเคลื่อนที่กับพืช การเคลื่อนไหว ถือเป็นการตอบสนองต่อสิ่งเร้า
• การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
• โพรทิสต์ (protist) เป็นสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กอยู่ในอาณาจักรโพรทิสตา
(ProtistaKingdom) มีทั้งพวกที่เป็นเซลล์เดียวและหลายเซลล์
พวกโพรทิสต์หลายเซลล์ ไม่มีระบบเนื้อเยื่อและระบบโครงกระดูกจึงมี
การเคลื่อนไหวแตกต่างกัน
• 1. อะมีบา (Amoeba)
• อะมีบาไม่มีโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่โดยเฉพาะ แต่จะเคลื่อนที่โดยการ
ไหลของไซโทพลาซึม ไซโทพลาซึมในเซลล์อะมีบาแบ่งเป็น 2 ส่วนคือ เอ็ก
โทพลาซึม(ectoplasm) เป็น ไซโทพลาซึมชั้นนอก มีลักษณะเป็นสาร
กึ่งแข็งกึ่งเหลว เรียกว่า เจล (gel) และเอนโดพลาซึม(endoplasm)
เป็น ไซโทพลาซึมชั้นในมีลักษณะค่อนข้างเหลวกว่าเรียกว่า โซล (sol)
เนื่องจากการรวมตัวและแยกตัวของแอกทิน(actin) เป็นโครงสร้างที่ทาให้
เอนโดพลาซึมไหลไปมาภายในเซลล์ได้ และดันเยื่อหุ้มเซลล์ ยื่นออกมาเป็น
เท้าเทียม (pseudopodium) ทาให้อะมีบาเคลื่อนไหวได้ เรียกว่าการ
เคลื่อนไหวแบบอะมีบา (amoeboid movement)
• 2.ยูกีนา (Euglena) และพารามีเซียม (Paramecium)
• การเคลื่อนไหวโดยอาศัยแฟลเจลลัมหรือซีเลียซึ่งเป็นโครงสร้างเล็กๆ ที่
ยื่นออกมาจากเซลล์สามารถโบกพัดไปมาได้ ทาให้สิ่งมีชีวิตเคลื่อนที่ไป
ได้
• แฟลเจลลัม (flagellum) มีลักษณะเป็นเส้นยาว ๆ คล้ายหนวดยาว
กว่าซีเลีย แฟลเจลลัม เป็นโครงสร้างที่พบในสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวบาง
ชนิด เช่น ยูกลีนา
• ซีเลีย (cilia) มีลักษณะเป็นเส้นเล็ก ๆ ใช้โบกพัดเพื่อให้เกิดการ
เคลื่อนที่ภายในน้าหรือของเหลว พบในพารามีเซียม
(paramecium) พลานาเรีย (planaria) เป็นต้น
• จากการศึกษาโครงสร้างของแฟลเจลลัมและซีเลียตัดตามขวางพบว่ามี
โครงสร้างเหมือนกัน คือ ประกอบด้วยหลอดเล็ก ๆ เรียกว่า ไมโครทูบูล
(microtubules) เป็นหลอดแกนตรงกลาง 2 หลอด ล้อมรอบด้วย
หลอดเล็ก ๆ อีก 9 คู่ ทั้งหมดจะถูกหุ้มด้วยเยื่อบาง ๆ ที่ติดต่อเป็นเนื้อ
เดียวกับเยื่อหุ้มเซลล์ เรียกโครงสร้างแบบนี้ว่า 9 + 2 ที่โคนของซีเลียและ
แฟลเจลลัม มีเบซัลบอดี ( basal body) หรือ ไคนีโทโซม
(kinetosome) อยู่ด้วย เบซัลบอดี มีไมโครทิวบูล เช่นกัน แต่การ
เรียงตัวต่างกัน โดยที่หลอดตรงกลาง 2 หลอดไม่มี มีแต่หลอดรอบนอก
9 ชุด เรียกการเรียงตัวแบบนี้ว่า 9 + 0 ถ้าหากตัดเบซัลบอดีออก พบว่า
แฟลเจลลัมและซีเลียเส้นนั้น จะหยุดลง จึงเชื่อกันว่าเบซัลบอดี เป็นตัว
ควบคุมการเคลื่อนไหวของซีเลียและแฟลเจลลัม
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
• 1. แมงกะพรุน (Jelly fish)
• มีลักษณะคล้ายกระดิ่ง (ระฆังคว่า) มีของเหลวที่ เรียกว่า มีโซเกลีย
(Mesoglea ) แทรกอยู่ระหว่างเนื้อเยื่อ ชั้นนอก และเนื้อเยื้อ
ชั้นในส่วนใหญ่ลอยไปตามกระแสน้าและคลื่น และอาศัยการหดตัวของ
เซลล์กล้ามเนื้อ บริเวณขอบกระดิ่ง(รอบ) และที่ผนังลาตัวสลับกันทาให้
เกิด แรงดันของน้าผลักตัวแมงกะพรุน ให้พุ่งไปในทิศตรงข้ามกับน้าที่
พ่นออกไป โดยน้าจะออกมาทาง ช่องด้านล่าง หลักการเดียวกับเครื่องบิน
ไอพ่น ซึ่งเป็นไปตาม กฎนิวตัน
คือ Action = Reaction
• 2. หมึก (squid)
• หมึกมีการเคลื่อนที่เกิดจากการหดตัวของกล้ามเนื้อบริเวณลาตัวทาให้น้า
ภายในลาตัวพ่นออกทางท่อน้า หรือไซฟอน(siphon) ซึ่งเป็นท่อ
สาหรับพ่นน้าออกมาดันให้ลาตัวของหมึกเคลื่อนที่ไปในทิศทางตรงกัน
ข้ามกับทิศทางของน้าที่พ่นออก ขณะที่ปลาหมึกกาลังเคลื่อนที่ไปในน้า
หนวดทั้งหมด จะรวมกันเพื่อให้ตัวเพรียว จะได้เคลื่อนที่ได้อย่าง
รวดเร็ว
• 3. ดาวทะเล (sea star)
• ดาวทะเลมีการเคลื่อนที่โดยอาศัยแรงดันของน้า แต่ต้องอาศัยระบบท่อ
น้า (water vascular system) ซึ่งในการเคลื่อนที่ คือ ทาให้
ส่วนที่เรียกว่า ทิวบ์ฟีต (Tube feet) หรือเท้าหลอดยืดยาวออกมา
หรือหดสั้นไปก็ได้ ซึ่งมีลักษณะเป็นหลอด ซึ่งมีจานวนมากอยู่ทางด้าน
ล่างของลาตัว เมื่อกล้ามเนื้อแอมพลูลา (Ampulla) หดตัวจะดันน้า
ใน ทิวบ์ฟีต ทาให้ทิวบ์ฟีตยืดตัวยาวออกจนปลายไปแตะหรือค้ายันสิ่ง
ต่างๆ เมื่อเคลื่อนที่แล้วทิวบ์ฟีตจะหดเข้า น้าจะถูกดันกลับเข้าสู่ถุงแอม
พลูลา ปลายสุดของทิวบ์ฟีตมีแผ่นดูด (sucker) ทาให้การยึดเกาะกับ
พื้นผิวขณะเคลื่อนที่ได้ดี
• 4. ไส้เดือนดิน (Earth worm)
• ไส้เดือนดิน เป็นสัตว์ที่ไม่มีโครงร่างแข็ง เคลื่อนที่ไปได้โดยอาศัยการ
ทางานร่วมกันของกล้ามเนื้อ 2 ชุดคือ กล้ามเนื้อวง (Circular
muscle) และกล้ามเนื้อตามยาว (Longitudinal muscle)
โดยมีเดือย (Setae) ที่ยื่นออกมาจากผนังลาตัวช่วยบังคับทิศทางใน
การเคลื่อนไหวและใช้จิกดินเอาไว้เพื่อไม่ให้ส่วนท้ายของลาตัว เคลื่อนที่
กล้ามเนื้อวงจะหดตัว ส่วนกล้ามเนื้อตามยาว จะคลายตัว ทาให้ลาตัวของ
ไส้เดือนยืดยาวออกไป จากนั้นจะใช้เดือย (Setae) กับส่วนหน้าสุด
ของปล้องแรกยึดส่วนหน้า ของลาตัวเอาไว้กับดิน เมื่อกล้ามเนื้อตามยาว
หดตัว ดึงส่วนท้ายกลับมาข้างหน้า กล้ามเนื้อวง ก็จะคล้ายตัว ไส้เดือน
ดินจึงเคลื่อนที่ไปข้างหน้าได้
• กล้ามเนื้อทั้ง 2 ชุด จะทางานร่วมกัน แต่เป็นไปในแนวตรงข้ามคือ
ในขณะที่กล้ามเนื้อวง (Circular muscle) หดตัว กล้ามเนื้อ
ตามยาว (Longitudinal muscle) จะคลายตัว (ไส้เดือนดินจะมี
ขนาดเล็กลงแต่ยาว ออกไป) แต่กล้ามเนื้อวงคลายตัว กล้ามเนื้อตามยาว
หดตัวจะทาให้ ไส้เดือนดินมีลาตัวใหญ่ขึ้นแต่สั้นลงทาให้เกิดการดึง
ส่วนท้ายมาทาง ข้างหน้า
• ถ้าไส้เดือนเคลื่อนที่ไปข้างหน้าจะเกิดคลื่น การหดตัวของกล้ามเนื้อ ไป
ด้านหลัง (ด้านท้าย) แต่ถ้าไส้เดือนเคลื่อนที่ถอยหลังจะเกิดการหดตัว
ของกล้ามเนื้อไปด้านหน้า (Peristalsis)
• 5. แมลง (insect)
• แมลงเป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังแต่แมลงมีโครงร่างภายนอก
(exoskeleton) ซึ่งเป็นสารพวกไคทินมีลักษณะเป็นโพรงเกาะกัน
ด้วยข้อต่อซึ่งเป็นเยื่อที่งอได้ การเคลื่อนไหวเกิดจากทางานสลับกันของ
กล้ามเนื้อเฟล็กเซอร์ (flexor) และเอ็กเทนเซอร์ (extensor)
การทางานของกล้ามเนื้อทั้ง 2 ชุดเป็นการทางานสภาวะตรงกันข้ามคือ
กล้ามเนื้อเฟล็กเซอร์หดตัว กล้ามเนื้อเอ็กเทนเซอร์จะคลายตัวทาให้งอขา
เข้า และกล้ามเนื้อเฟล็กเซอร์คลายตัว กล้ามเนื้อเอ็กเทนเซอร์จะหดตัว
ทาให้เหยียดขาออก
การบินของแมลงกล้ามเนื้อยึดเปลือกหุ้มส่วนอกหดตัว กล้ามเนื้อ
ตามยาวจะคลายตัว เปลือกหุ้มส่วนอกเคลื่อนลง ทาให้ปีกยกขึ้น
และกล้ามเนื้อยึดเปลือกหุ้มส่วนอกคลายตัว กล้ามเนื้อตามยาวจะ
หดตัว เปลือกหุ้มส่วนอกเคลื่อนขึ้น ทาให้ปีกกดลง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
• 1. ปลา
• มีรูปร่างแบนเพรียวบาง มีเมือก มีเกล็ด เพื่อช่วยลดแรงเสียดทาน เมื่อ
กล้ามเนื้อที่ยึดติดกับกระดูกสันหลังด้านใดด้านหนึ่งหดตัว(เริ่มจากส่วน
หัวมาทางหาง) ทาให้เกิดการโบกพัดของครีบหาง(cadal fin) ดันให้
ตัวพุ่งไปข้างหน้าโดยมีครีบหลัง(drosal fin) ช่วยในการทรงตัว
ไม่ให้เสียทิศทาง เมื่อกล้ามเนื้อที่ยึดติดกระดูกสันหลังด้านหนึ่งหดตัว
(เริ่มจากส่วนหัวมาทางส่วนหาง) ครีบอก(pectoral fin) และครีบ
ตะโพก (pelvicfin) ทาหน้าที่ช่วยพยุงลาตัวปลา และช่วยให้เกิดการ
เคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
• 2. นก
• นกมีกระดูกที่กลวง ทาให้ตัวเบา และอัดตัวกันแน่น ทาให้นกมีขนาดเล็ก
และรูปร่างเพรียวลมจึงเคลื่อนตัวไปในอากาศได้ดี
• นกมีกล้ามเนื้อที่ใช้ในการขยับปีกโดยกล้ามเนื้อนี้จะยึดอยู่ระหว่างโคนปีก
กับกระดูกอก (keel or sternum) กล้ามเนื้อคู่หนึ่ง ทาหน้าที่เป็น
กล้ามเนื้อยกปีก (levater muscle) คือ กล้ามเนื้อเพกทอราลิสไม
เนอร์ (pectorlis minor) และกล้ามเนื้ออีกคู่มีขนาดใหญ่มาก ทา
หน้าที่ ในการหุบปีกลง (depresser muscle) คือ กล้ามเนื้อ
เพกทอราลิสเมเจอร์ (pectorralis major)
• การทางานของกล้ามเนื้อคู่นี้คือขณะที่นกกดปีกลง กล้ามเนื้อเพกทอรา
ลิสเมเจอร์จะหดตัว ส่วนเพกทอราลิสไมเนอร์จะคลายตัวขณะที่นกยก
ปีกขึ้น และกล้ามเนื้อเพกทอราลิสไมเนอร์จะหดตัวขณะที่กล้ามเนื้อ
เพกทอราลิสเมเจอร์จะคลายตัวสลับกันไป
• 3. คน
• การเคลื่อนที่ของคนเป็นการเคลื่อนไหว ที่เกิดจากระบบโครงกระดูกและ
ระบบกล้ามเนื้อ สัตว์มีกระดูกสันหลังทุกชนิดมีระบบโครงกระดูกที่
คล้ายกัน มีจานวน 206 ชิ้น แบ่งออกเป็น 2 พวก คือ
• 1. กระดูกแกน (Axial skeleton) หมายถึงกระดูกที่เป็นแกนหลัก
ของร่างกาย มีจานวน 80 ชิ้น ได้แก่ กระดูกหัวกะโหลกศีรษะ 29 ชิ้น
กระดูกสันหลัง 26 ชิ้น กระดูกซีโครง 24 ชิ้น และกระดูกหน้าอก 1 ชิ้น
• 2. กระดูกรยางค์ (Appendicular skeleton) หมายถึง กระดูก
ที่ยื่นออกมาจากกระดูกแกน มีจานวน126 ชิ้น ได้แก่ กระดูกแขนข้างละ
30 ชิ้น กระดูกขาข้างละ 30 ชิ้น กระดูกสะบัก ข้างละ 2 ชิ้น กระดูกเชิง
กรานข้างละ 1 ชิ้น
เอ็นเชื่อมกระดูก
1. เอ็นที่ยึดระหว่างกล้ามเนื้อกับกระดูก
เรียกว่า เอ็นยึดกระดูก หรือ เทนดอน
(tendon)
2. เอ็นที่ยึดระหว่างกระดูกกับกระดูก
เรียกว่า เอ็นยึดข้อ หรือ ลิกกาเมนท์
(ligament)
3. เอ็นที่ยึดระหว่างกล้ามเนื้อน่องกับ
กระดูกส้นเท้า เรียกว่า เอ็นร้อยหวาย
• ข้อต่อ (joint)
• ข้อต่อ หมายถึง จุดหรือบริเวณที่กระดูกตั้งแต่ 2 หรือมากกว่า 2 ชิ้นขึ้น
ไปมาต่อกัน ซึ่งมีทั้งข้อต่อชนิดที่เคลื่อนไหวไม่ได้ (immovable
joint) เช่น กะโหลกศีรษะ และข้อต่อที่เคลื่อนไหวได้ (movable
joint) เช่น ข้อมือ ข้อเท้า ข้อศอก ต้นแขนกับสะบัก และต้นแขกับเชิง
กราน
• ประเภทของกล้ามเนื้อ
• กล้ามเนื้อในร่างกายของคนเราแบ่งเป็น 3 ประเภทตามที่อยู่ รูปร่าง
ตาแหน่ง และการทางาน ดังนี้
• 1.กล้ามเนื้อลาย(striated muscle) เป็นกล้ามเนื้อที่เกาะติดกับ
กระดูก มีลักษณะเป็นแถบลายขาวๆดาๆสลับกัน เซลล์ของกล้ามเนื้อลาย
จะประกอบเป็นมัดยาวๆเซลล์หนึ่งมีหลานนิวเคลียส การทางานของ
กล้ามเนื้อประเภทนี้ถูกควบคุมด้วยระบบประสาทส่วนกลาง สามารถให้
บังคับทางานตามคาสั่งได้ จึงเรียกกล้ามเนื้อประเภทนี่อีกชื่อหนึ่งว่า
กล้ามเนื้อที่อยู่ภายใต้อานาจจิตใจ(voluntary muscle)ซึ่งได้แก่
กล้ามเนื้อแขน กล้ามเนื้อขา
• 2.กล้ามเนื้อเรียบ(smooth muscle)เป็นเซลล์กล้ามเนื้อที่มี
ลักษณะแบนยาวแหลมหัวแหลมท้ายแหลม ไม่มีลาย ภายในเซลล์มี
นิวเคลียสอันเดียวอยู่ตรงกลางกล้ามเนื้อ ประเภทนี้จะควบคุมการ
เคลื่อนไหวของอวัยวะภายใน เช่น ระบบย่อยอาหาร ระบบไหลเวียน
โลหิต ระบบขับถ่านปัสสาวะ และระบบสืบพันธุ์ กล้ามเนื้อประเภทนี้ถูก
ควบคมโดยระบบประสาทอัตโนมัติร่างกายไม่สามารถควบคุมการ
ทางานได้ เพราะไม่ได้อยู่ในอานาจของจิตใจ จึงเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า
กล้ามเนื้อที่อยู่นอกอานาจจิตใจ (involuntary muscle)เซลล์
กล้ามเนื้อประเภทนี้ ได้แก่ ผนังกระเพราะอาหาร ผนังลาไส้ กล้ามเนื้อหู
รูดที่ม่านตา
• 3.กล้ามเนื้อหัวใจ(cardiac
muscle)พบเฉพาะบริเวณ
หัวใจเท่านั้น เซลล์กล้ามเนื้อ
ประเภทนี้มีลักษณะเป็นลาย
พาดขวาง และมีนิวเคลียส
หลายอันเหมือนกล้ามเนื้อลาย
แต่เป็นกล้ามเนื้อที่อยู่นอก
อานาจจิตใจ และถูกควบคุม
โดยระบบประสาทอัตโนมัติ
เช่นเดียวกับกล้ามเนื้อเรียบ
โครงสร้างและการทางานของกล้ามเนื้อยึดกระดูก
• กล้ามเนื้อยึดกระดูกแต่ละมัดประกอบด้วยเส้นใยกล้ามเนื้อ(muscle
fiber) หรือเซลล์กล้ามเนื้อ (muscle cell) ภายในเส้นใย
กล้ามเนื้อประกอบด้วยเส้นใยกล้ามเนื้อเล็ก (myofibrils) มีลักษณะ
เป็นท่อนยาวเรียงซ้อนกันเส้นใยกล้ามเนื้อเล็กเหล่านี้จะอยู่รวมกันเป็น
มัดเส้นใยกล้ามเนื้อเล็กประกอบด้วย ไมโครฟิลาเมนท์ 2 ชนิดคือ ชนิด
บาง ซึ่งเป็นสายโปรตีนแอกทิน (act in) และชนิดหนาซึ่งเป็นสาย
โปรตีนไมโอซิน (myosin) แอกทินและไมโอซินเรียงตัวขนานกัน
♥..แบบฝึกหัด..♥
• 1. อะมีบาใช้โครงสร้างใดในการเคลื่อนที่
ก. เท้าเทียม
ข. ซีเลีย
ค. ไมโครทูบูล
ง. แพลเจลลัม
• 2. จากสมบัติของไซโทรพลาสซึมเปลี่ยนจากเจลเป็นโซล จากโซลเป็น
เจล เนื่องจาก
ก. การรวมตัวของโปรตีนแอกทิน
ข. การสลายตัวของไมโครฟิลาเมนต์
ค. การแยกตัวและการรวมตัวของโปรตีนแอกทิน
ง. การแยกตัวของโปรตีนแอกทิน
• 3. โครงสร้างของอะมีบาในข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่
ก. การแยกตัวและการรวมตัวของโปรตีนแอกทิน
ข. ไซโทรพลาซึม
ค. ไซโทรพลาสซึม
ง. นิวเคลียส
• 4. การยื่นเท้าเทียมของอะมีบาเกิดขึ้นได้อย่างไร
ก. การไหลของเอนโดรพลาซึม
ข. การไหลของเอ็กโทรพลาซึม
ค. การหดตัวของเจล
ง. การหดตัวของโซล
5. จงเรียงลาดับกลไกการเคลื่อนที่ของอะมีบา
1. การยื่นเยื่อหุ้มเซลล์ออกไป
2. การเปลี่ยนไซโทรพลาซึมจากโซลเป็นเจลและจากเจลเป็นโซล
3. การแยกตัวและการรวมตัวของโปรตีนแอกทิน
4. การไหลของเอนโดรพลาซึมออกไปด้านนอก
ก. 4 3 2 1
ข. 3 1 4 2
ค. 1 2 3 4
ง. 2 4 1 3
• 6. การเคลื่อนที่ของหมึกโดยการหดตัวของกล้ามเนื้อระบบท่อพ่นน้า
เรียกว่า
ก. แอมพูลลา
ข. ไซฟอน
ค. มาดรีโพไรด์
ง. ทิวบ์ฟีท
• 7. แมงกะพรุนซึ่งอยู่ในไฟลัมซีเลนเทอราตา มีลักษณะการเคลื่อนที่
อย่างไร
ก. การพุ่งตัว
ข. การยืดตัว
ค. การหดตัว
ง. การสลายตัว
• 8. ระบบท่อของดาวทะเลประกอบด้วย
ก. มาดรีโพไรต์
ข. ทิวบ์ฟีท
ค. แอมพูลลา
ง. ถูกทั้ง ก. และ ข.
• 9. แมงกะพรุนมีของเหลวอะไรที่แทรกอยู่ระหว่างเนื้อเยื่อชั้นนอกอละ
เนื้อเยื่อชั้นใน
ก. มาดรีโพไรต์
ข. มีโซเลีย
ค. แอมพูลลา
ง. ทิวบ์ฟีท
• 10. โครงสร้างเล็กๆ ที่ยื่นออกจากผนังลาตัวของไส้เดือนคืออะไร
ก. เดือย
ข. แขน
ค. หาง
ง. หู
• 11. กล้ามเนื้อของปลาประกอบด้วย 2 ชนิด คือ
ก. กล้ามเนื้อยึด กล้ามเนื้อยก
ข. กล้ามเนื้อหดตัว กล้ามเนื้อยึด
ค. กล้ามเนื้อคลายตัว กล้ามเนื้อหดตัว
ง. กล้ามเนื้อคลายตัว กล้ามเนื้อยก
• 12. เสือชีต้าสามารถวิ่งได้เร็วที่สุดกี่กิโลเมตรต่อชั่วโมง
ก. 120 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
ข. 90 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
ค. 100 กิโลเมตรต่อชั่งโมง
ง. 110 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
• 13. กล้ามเนื้อของสัตว์มีกระดูกสันหลังประกอบด้วยกล้ามเนื้อ
อะไรบ้าง
ก. กล้ามเนื้อยึดกระดูก
ข. กล้ามเนื้อหัวใจ
ค. กล้ามเนื้อเรียบ
ง. ถูกทุกข้อ
• 14. ไขกระดูกแดงทาหน้าที่อะไร
ก. สร้างเซลล์เม็ดเลือดแดง
ข. สร้างเซลล์เม็ดเลือดขาว
ค. ซ่อมแซมเซลล์เม็ดเลือด
ง. รักษาบารุงเซลล์เม็ดเลือด
• 15. ข้อใดเป็นกระดูกแกนทั้งหมด
ก. ซี่โครง , สะบัก , ก้นกบ , เชิงกราน
ข. กระดูกสันหลัง , สะบัก , เชิงกราน , กระเบนเหน็บ
ค. กระเบนเหน็บ , ซี่โครง , กะโหลกศรีษะ , ก้นกบ
ง. เชิงกราน , กระเบนเหน็บ , ก้นกบ
• 16. ข้อต่อที่เคลื่อนไหวไม่ได้นอกจากพบที่กะโหลกศรีษะแล้วยังพบที่ใด
อีก
ก. กระดูกกระเบนเหน็บกับกระดูกเชิงกราน
ข. กระดูกสันหลังกับกระดูกสันหลัง
ค. กระดูกสันหลังกับกระดูกซี่โครง
ง. กระดูกซี่โครงกับกระดูกหน้าอก
• 17. ข้อต่อที่หัวเข่าเป็นข้อต่อลักษณะใด
ก. ลูกกลมในเบ้า
ข. บานพับ
ค. เดือย
ง. อานม้า
• 18. กระดูกข้อต่อต่างๆยึดติดกันได้ต้องอาศัยสิ่งใดเป็นหลัก
ก. พังผืด
ข. เอ็นยึดกระดูก
ค. เอ็นยึดกล้ามเนื้อ
ง. เอ็นยึดข้อ
• 19. ข้อต่อที่หัวไหล่มีลักษณะเหมือนข้อต่อแบบใด
ก. บานพับ
ข. ลูกกลมในเบ้า
ค. อานม้า
ง. เดือย
• 20. เส้นกล้ามเนื้อเล็กประกอบไปด้วยไมโครฟิลาเมนท์กี่ชนิด
ก. 1 ชนิด
ข. 2 ชนิด
ค. 3 ชนิด
ง. 4 ชนิด
♥...เฉลยจ้า...♥
• การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
1. ก. เท้าเทียม
2. ค. การแยกตัวและการรวมตัวของโปรตีนแอกทิน
3. ง. นิวเคลียส
4. ก. การไหลของเอนโดรพลาซึม
5. ก. 4 3 2 1
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
6. ข. ไซฟอน
7. ค. การหดตัว
8. ง. ทั้ง ก. และ ค.
9. ข. มีโซเลีย
10. ก. เดือย
• 7.3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
11. ค. กล้ามเนื้อคลายตัว กล้ามเนื้อหดตัว
12. ค. 110 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
13. ง. ถูกทุกข้อ
14. ก. สร้างเซลล์เม็ดเลือดแดง
15. ค. กระเบนเหน็บ , ซี่โครง , กะโหลกศรีษะ , ก้นกบ
16. ก. กระดูกกระเบนเหน็บกับกระดูกเชิงกราน
17. ข. บานพับ
18. ง. เอ็นยึดข้อ
19. ข. ลูกกลมในเบ้า
20. ข. 2 ชนิด

More Related Content

What's hot

การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังWan Ngamwongwan
 
เคมีพื้นบท1ธาคุและสารประกอบ
เคมีพื้นบท1ธาคุและสารประกอบเคมีพื้นบท1ธาคุและสารประกอบ
เคมีพื้นบท1ธาคุและสารประกอบWichai Likitponrak
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตTa Lattapol
 
โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงrutchaneechoomking
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจพัน พัน
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศTa Lattapol
 
ฟีโรโมน
ฟีโรโมนฟีโรโมน
ฟีโรโมนsukanya petin
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทThitaree Samphao
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจWan Ngamwongwan
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชThanyamon Chat.
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemsupreechafkk
 
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์Peangjit Chamnan
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 

What's hot (20)

การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
 
เคมีพื้นบท1ธาคุและสารประกอบ
เคมีพื้นบท1ธาคุและสารประกอบเคมีพื้นบท1ธาคุและสารประกอบ
เคมีพื้นบท1ธาคุและสารประกอบ
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรง
 
การเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคนการเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคน
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
ฟีโรโมน
ฟีโรโมนฟีโรโมน
ฟีโรโมน
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาท
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืช
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous system
 
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคนเล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
 
Kingdom Animalia
Kingdom AnimaliaKingdom Animalia
Kingdom Animalia
 
ม.6biodiver
ม.6biodiverม.6biodiver
ม.6biodiver
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
 
การสืบพันธ์
การสืบพันธ์การสืบพันธ์
การสืบพันธ์
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
ราก (T)
ราก (T)ราก (T)
ราก (T)
 

Similar to การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต (1)

การเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชการเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชWichai Likitponrak
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement systemการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement systemsupreechafkk
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตComputer ITSWKJ
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวnokbiology
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวnokbiology
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวnokbiology
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวnokbiology
 
การเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
การเปลี่ยนแปลงหลังการตายการเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
การเปลี่ยนแปลงหลังการตายSurapol Imi
 
บท3การเคลื่อนที่สมช
บท3การเคลื่อนที่สมชบท3การเคลื่อนที่สมช
บท3การเคลื่อนที่สมชWichai Likitponrak
 
ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์พัน พัน
 
สิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิตสิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิตtarcharee1980
 
ประเภทพฤติกรรมของสัตว์
ประเภทพฤติกรรมของสัตว์ประเภทพฤติกรรมของสัตว์
ประเภทพฤติกรรมของสัตว์Temm Quintuplet
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนnokbiology
 

Similar to การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต (1) (20)

การเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชการเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมช
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement systemการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
 
3 movement plan
3 movement plan3 movement plan
3 movement plan
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
 
การเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
การเปลี่ยนแปลงหลังการตายการเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
การเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
Animal System
Animal SystemAnimal System
Animal System
 
บท3การเคลื่อนที่สมช
บท3การเคลื่อนที่สมชบท3การเคลื่อนที่สมช
บท3การเคลื่อนที่สมช
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่
 
ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์
 
สิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิตสิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิต
 
animals
animalsanimals
animals
 
ประเภทพฤติกรรมของสัตว์
ประเภทพฤติกรรมของสัตว์ประเภทพฤติกรรมของสัตว์
ประเภทพฤติกรรมของสัตว์
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
สัตว์
สัตว์สัตว์
สัตว์
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
 

การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต (1)

  • 1.
  • 2. • การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต ( Locomotion ) การเคลื่อนไหว (Movement) ถือว่าเป็นคุณสมบัติของสิ่งมีชีวิตทุกๆชนิดทั้งสัตว์ พืช และโพรทิสต์ แต่ถ้าสิ่งมีชีวิตนั้นเคลื่อนที่ไปทั้งตัวโดยเปลี่ยน ตาแหน่ง จากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง เราเรียกว่า การเคลื่อนที่ (Locomotion) ซึ่งใช้กับสัตว์ส่วนใหญ่ และโพรทิสต์ บางชนิดไม่ ใช้การเคลื่อนที่กับพืช การเคลื่อนไหว ถือเป็นการตอบสนองต่อสิ่งเร้า
  • 3. • การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว • โพรทิสต์ (protist) เป็นสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กอยู่ในอาณาจักรโพรทิสตา (ProtistaKingdom) มีทั้งพวกที่เป็นเซลล์เดียวและหลายเซลล์ พวกโพรทิสต์หลายเซลล์ ไม่มีระบบเนื้อเยื่อและระบบโครงกระดูกจึงมี การเคลื่อนไหวแตกต่างกัน
  • 4. • 1. อะมีบา (Amoeba) • อะมีบาไม่มีโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่โดยเฉพาะ แต่จะเคลื่อนที่โดยการ ไหลของไซโทพลาซึม ไซโทพลาซึมในเซลล์อะมีบาแบ่งเป็น 2 ส่วนคือ เอ็ก โทพลาซึม(ectoplasm) เป็น ไซโทพลาซึมชั้นนอก มีลักษณะเป็นสาร กึ่งแข็งกึ่งเหลว เรียกว่า เจล (gel) และเอนโดพลาซึม(endoplasm) เป็น ไซโทพลาซึมชั้นในมีลักษณะค่อนข้างเหลวกว่าเรียกว่า โซล (sol) เนื่องจากการรวมตัวและแยกตัวของแอกทิน(actin) เป็นโครงสร้างที่ทาให้ เอนโดพลาซึมไหลไปมาภายในเซลล์ได้ และดันเยื่อหุ้มเซลล์ ยื่นออกมาเป็น เท้าเทียม (pseudopodium) ทาให้อะมีบาเคลื่อนไหวได้ เรียกว่าการ เคลื่อนไหวแบบอะมีบา (amoeboid movement)
  • 5. • 2.ยูกีนา (Euglena) และพารามีเซียม (Paramecium) • การเคลื่อนไหวโดยอาศัยแฟลเจลลัมหรือซีเลียซึ่งเป็นโครงสร้างเล็กๆ ที่ ยื่นออกมาจากเซลล์สามารถโบกพัดไปมาได้ ทาให้สิ่งมีชีวิตเคลื่อนที่ไป ได้ • แฟลเจลลัม (flagellum) มีลักษณะเป็นเส้นยาว ๆ คล้ายหนวดยาว กว่าซีเลีย แฟลเจลลัม เป็นโครงสร้างที่พบในสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวบาง ชนิด เช่น ยูกลีนา • ซีเลีย (cilia) มีลักษณะเป็นเส้นเล็ก ๆ ใช้โบกพัดเพื่อให้เกิดการ เคลื่อนที่ภายในน้าหรือของเหลว พบในพารามีเซียม (paramecium) พลานาเรีย (planaria) เป็นต้น
  • 6. • จากการศึกษาโครงสร้างของแฟลเจลลัมและซีเลียตัดตามขวางพบว่ามี โครงสร้างเหมือนกัน คือ ประกอบด้วยหลอดเล็ก ๆ เรียกว่า ไมโครทูบูล (microtubules) เป็นหลอดแกนตรงกลาง 2 หลอด ล้อมรอบด้วย หลอดเล็ก ๆ อีก 9 คู่ ทั้งหมดจะถูกหุ้มด้วยเยื่อบาง ๆ ที่ติดต่อเป็นเนื้อ เดียวกับเยื่อหุ้มเซลล์ เรียกโครงสร้างแบบนี้ว่า 9 + 2 ที่โคนของซีเลียและ แฟลเจลลัม มีเบซัลบอดี ( basal body) หรือ ไคนีโทโซม (kinetosome) อยู่ด้วย เบซัลบอดี มีไมโครทิวบูล เช่นกัน แต่การ เรียงตัวต่างกัน โดยที่หลอดตรงกลาง 2 หลอดไม่มี มีแต่หลอดรอบนอก 9 ชุด เรียกการเรียงตัวแบบนี้ว่า 9 + 0 ถ้าหากตัดเบซัลบอดีออก พบว่า แฟลเจลลัมและซีเลียเส้นนั้น จะหยุดลง จึงเชื่อกันว่าเบซัลบอดี เป็นตัว ควบคุมการเคลื่อนไหวของซีเลียและแฟลเจลลัม
  • 7. การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง • 1. แมงกะพรุน (Jelly fish) • มีลักษณะคล้ายกระดิ่ง (ระฆังคว่า) มีของเหลวที่ เรียกว่า มีโซเกลีย (Mesoglea ) แทรกอยู่ระหว่างเนื้อเยื่อ ชั้นนอก และเนื้อเยื้อ ชั้นในส่วนใหญ่ลอยไปตามกระแสน้าและคลื่น และอาศัยการหดตัวของ เซลล์กล้ามเนื้อ บริเวณขอบกระดิ่ง(รอบ) และที่ผนังลาตัวสลับกันทาให้ เกิด แรงดันของน้าผลักตัวแมงกะพรุน ให้พุ่งไปในทิศตรงข้ามกับน้าที่ พ่นออกไป โดยน้าจะออกมาทาง ช่องด้านล่าง หลักการเดียวกับเครื่องบิน ไอพ่น ซึ่งเป็นไปตาม กฎนิวตัน
  • 9. • 2. หมึก (squid) • หมึกมีการเคลื่อนที่เกิดจากการหดตัวของกล้ามเนื้อบริเวณลาตัวทาให้น้า ภายในลาตัวพ่นออกทางท่อน้า หรือไซฟอน(siphon) ซึ่งเป็นท่อ สาหรับพ่นน้าออกมาดันให้ลาตัวของหมึกเคลื่อนที่ไปในทิศทางตรงกัน ข้ามกับทิศทางของน้าที่พ่นออก ขณะที่ปลาหมึกกาลังเคลื่อนที่ไปในน้า หนวดทั้งหมด จะรวมกันเพื่อให้ตัวเพรียว จะได้เคลื่อนที่ได้อย่าง รวดเร็ว
  • 10. • 3. ดาวทะเล (sea star) • ดาวทะเลมีการเคลื่อนที่โดยอาศัยแรงดันของน้า แต่ต้องอาศัยระบบท่อ น้า (water vascular system) ซึ่งในการเคลื่อนที่ คือ ทาให้ ส่วนที่เรียกว่า ทิวบ์ฟีต (Tube feet) หรือเท้าหลอดยืดยาวออกมา หรือหดสั้นไปก็ได้ ซึ่งมีลักษณะเป็นหลอด ซึ่งมีจานวนมากอยู่ทางด้าน ล่างของลาตัว เมื่อกล้ามเนื้อแอมพลูลา (Ampulla) หดตัวจะดันน้า ใน ทิวบ์ฟีต ทาให้ทิวบ์ฟีตยืดตัวยาวออกจนปลายไปแตะหรือค้ายันสิ่ง ต่างๆ เมื่อเคลื่อนที่แล้วทิวบ์ฟีตจะหดเข้า น้าจะถูกดันกลับเข้าสู่ถุงแอม พลูลา ปลายสุดของทิวบ์ฟีตมีแผ่นดูด (sucker) ทาให้การยึดเกาะกับ พื้นผิวขณะเคลื่อนที่ได้ดี
  • 11.
  • 12. • 4. ไส้เดือนดิน (Earth worm) • ไส้เดือนดิน เป็นสัตว์ที่ไม่มีโครงร่างแข็ง เคลื่อนที่ไปได้โดยอาศัยการ ทางานร่วมกันของกล้ามเนื้อ 2 ชุดคือ กล้ามเนื้อวง (Circular muscle) และกล้ามเนื้อตามยาว (Longitudinal muscle) โดยมีเดือย (Setae) ที่ยื่นออกมาจากผนังลาตัวช่วยบังคับทิศทางใน การเคลื่อนไหวและใช้จิกดินเอาไว้เพื่อไม่ให้ส่วนท้ายของลาตัว เคลื่อนที่ กล้ามเนื้อวงจะหดตัว ส่วนกล้ามเนื้อตามยาว จะคลายตัว ทาให้ลาตัวของ ไส้เดือนยืดยาวออกไป จากนั้นจะใช้เดือย (Setae) กับส่วนหน้าสุด ของปล้องแรกยึดส่วนหน้า ของลาตัวเอาไว้กับดิน เมื่อกล้ามเนื้อตามยาว หดตัว ดึงส่วนท้ายกลับมาข้างหน้า กล้ามเนื้อวง ก็จะคล้ายตัว ไส้เดือน ดินจึงเคลื่อนที่ไปข้างหน้าได้
  • 13. • กล้ามเนื้อทั้ง 2 ชุด จะทางานร่วมกัน แต่เป็นไปในแนวตรงข้ามคือ ในขณะที่กล้ามเนื้อวง (Circular muscle) หดตัว กล้ามเนื้อ ตามยาว (Longitudinal muscle) จะคลายตัว (ไส้เดือนดินจะมี ขนาดเล็กลงแต่ยาว ออกไป) แต่กล้ามเนื้อวงคลายตัว กล้ามเนื้อตามยาว หดตัวจะทาให้ ไส้เดือนดินมีลาตัวใหญ่ขึ้นแต่สั้นลงทาให้เกิดการดึง ส่วนท้ายมาทาง ข้างหน้า • ถ้าไส้เดือนเคลื่อนที่ไปข้างหน้าจะเกิดคลื่น การหดตัวของกล้ามเนื้อ ไป ด้านหลัง (ด้านท้าย) แต่ถ้าไส้เดือนเคลื่อนที่ถอยหลังจะเกิดการหดตัว ของกล้ามเนื้อไปด้านหน้า (Peristalsis)
  • 14.
  • 15. • 5. แมลง (insect) • แมลงเป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังแต่แมลงมีโครงร่างภายนอก (exoskeleton) ซึ่งเป็นสารพวกไคทินมีลักษณะเป็นโพรงเกาะกัน ด้วยข้อต่อซึ่งเป็นเยื่อที่งอได้ การเคลื่อนไหวเกิดจากทางานสลับกันของ กล้ามเนื้อเฟล็กเซอร์ (flexor) และเอ็กเทนเซอร์ (extensor) การทางานของกล้ามเนื้อทั้ง 2 ชุดเป็นการทางานสภาวะตรงกันข้ามคือ กล้ามเนื้อเฟล็กเซอร์หดตัว กล้ามเนื้อเอ็กเทนเซอร์จะคลายตัวทาให้งอขา เข้า และกล้ามเนื้อเฟล็กเซอร์คลายตัว กล้ามเนื้อเอ็กเทนเซอร์จะหดตัว ทาให้เหยียดขาออก
  • 16. การบินของแมลงกล้ามเนื้อยึดเปลือกหุ้มส่วนอกหดตัว กล้ามเนื้อ ตามยาวจะคลายตัว เปลือกหุ้มส่วนอกเคลื่อนลง ทาให้ปีกยกขึ้น และกล้ามเนื้อยึดเปลือกหุ้มส่วนอกคลายตัว กล้ามเนื้อตามยาวจะ หดตัว เปลือกหุ้มส่วนอกเคลื่อนขึ้น ทาให้ปีกกดลง
  • 17. การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง • 1. ปลา • มีรูปร่างแบนเพรียวบาง มีเมือก มีเกล็ด เพื่อช่วยลดแรงเสียดทาน เมื่อ กล้ามเนื้อที่ยึดติดกับกระดูกสันหลังด้านใดด้านหนึ่งหดตัว(เริ่มจากส่วน หัวมาทางหาง) ทาให้เกิดการโบกพัดของครีบหาง(cadal fin) ดันให้ ตัวพุ่งไปข้างหน้าโดยมีครีบหลัง(drosal fin) ช่วยในการทรงตัว ไม่ให้เสียทิศทาง เมื่อกล้ามเนื้อที่ยึดติดกระดูกสันหลังด้านหนึ่งหดตัว (เริ่มจากส่วนหัวมาทางส่วนหาง) ครีบอก(pectoral fin) และครีบ ตะโพก (pelvicfin) ทาหน้าที่ช่วยพยุงลาตัวปลา และช่วยให้เกิดการ เคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
  • 18.
  • 19. • 2. นก • นกมีกระดูกที่กลวง ทาให้ตัวเบา และอัดตัวกันแน่น ทาให้นกมีขนาดเล็ก และรูปร่างเพรียวลมจึงเคลื่อนตัวไปในอากาศได้ดี • นกมีกล้ามเนื้อที่ใช้ในการขยับปีกโดยกล้ามเนื้อนี้จะยึดอยู่ระหว่างโคนปีก กับกระดูกอก (keel or sternum) กล้ามเนื้อคู่หนึ่ง ทาหน้าที่เป็น กล้ามเนื้อยกปีก (levater muscle) คือ กล้ามเนื้อเพกทอราลิสไม เนอร์ (pectorlis minor) และกล้ามเนื้ออีกคู่มีขนาดใหญ่มาก ทา หน้าที่ ในการหุบปีกลง (depresser muscle) คือ กล้ามเนื้อ เพกทอราลิสเมเจอร์ (pectorralis major)
  • 20. • การทางานของกล้ามเนื้อคู่นี้คือขณะที่นกกดปีกลง กล้ามเนื้อเพกทอรา ลิสเมเจอร์จะหดตัว ส่วนเพกทอราลิสไมเนอร์จะคลายตัวขณะที่นกยก ปีกขึ้น และกล้ามเนื้อเพกทอราลิสไมเนอร์จะหดตัวขณะที่กล้ามเนื้อ เพกทอราลิสเมเจอร์จะคลายตัวสลับกันไป
  • 21. • 3. คน • การเคลื่อนที่ของคนเป็นการเคลื่อนไหว ที่เกิดจากระบบโครงกระดูกและ ระบบกล้ามเนื้อ สัตว์มีกระดูกสันหลังทุกชนิดมีระบบโครงกระดูกที่ คล้ายกัน มีจานวน 206 ชิ้น แบ่งออกเป็น 2 พวก คือ • 1. กระดูกแกน (Axial skeleton) หมายถึงกระดูกที่เป็นแกนหลัก ของร่างกาย มีจานวน 80 ชิ้น ได้แก่ กระดูกหัวกะโหลกศีรษะ 29 ชิ้น กระดูกสันหลัง 26 ชิ้น กระดูกซีโครง 24 ชิ้น และกระดูกหน้าอก 1 ชิ้น • 2. กระดูกรยางค์ (Appendicular skeleton) หมายถึง กระดูก ที่ยื่นออกมาจากกระดูกแกน มีจานวน126 ชิ้น ได้แก่ กระดูกแขนข้างละ 30 ชิ้น กระดูกขาข้างละ 30 ชิ้น กระดูกสะบัก ข้างละ 2 ชิ้น กระดูกเชิง กรานข้างละ 1 ชิ้น
  • 22. เอ็นเชื่อมกระดูก 1. เอ็นที่ยึดระหว่างกล้ามเนื้อกับกระดูก เรียกว่า เอ็นยึดกระดูก หรือ เทนดอน (tendon) 2. เอ็นที่ยึดระหว่างกระดูกกับกระดูก เรียกว่า เอ็นยึดข้อ หรือ ลิกกาเมนท์ (ligament) 3. เอ็นที่ยึดระหว่างกล้ามเนื้อน่องกับ กระดูกส้นเท้า เรียกว่า เอ็นร้อยหวาย
  • 23. • ข้อต่อ (joint) • ข้อต่อ หมายถึง จุดหรือบริเวณที่กระดูกตั้งแต่ 2 หรือมากกว่า 2 ชิ้นขึ้น ไปมาต่อกัน ซึ่งมีทั้งข้อต่อชนิดที่เคลื่อนไหวไม่ได้ (immovable joint) เช่น กะโหลกศีรษะ และข้อต่อที่เคลื่อนไหวได้ (movable joint) เช่น ข้อมือ ข้อเท้า ข้อศอก ต้นแขนกับสะบัก และต้นแขกับเชิง กราน
  • 24. • ประเภทของกล้ามเนื้อ • กล้ามเนื้อในร่างกายของคนเราแบ่งเป็น 3 ประเภทตามที่อยู่ รูปร่าง ตาแหน่ง และการทางาน ดังนี้ • 1.กล้ามเนื้อลาย(striated muscle) เป็นกล้ามเนื้อที่เกาะติดกับ กระดูก มีลักษณะเป็นแถบลายขาวๆดาๆสลับกัน เซลล์ของกล้ามเนื้อลาย จะประกอบเป็นมัดยาวๆเซลล์หนึ่งมีหลานนิวเคลียส การทางานของ กล้ามเนื้อประเภทนี้ถูกควบคุมด้วยระบบประสาทส่วนกลาง สามารถให้ บังคับทางานตามคาสั่งได้ จึงเรียกกล้ามเนื้อประเภทนี่อีกชื่อหนึ่งว่า กล้ามเนื้อที่อยู่ภายใต้อานาจจิตใจ(voluntary muscle)ซึ่งได้แก่ กล้ามเนื้อแขน กล้ามเนื้อขา
  • 25. • 2.กล้ามเนื้อเรียบ(smooth muscle)เป็นเซลล์กล้ามเนื้อที่มี ลักษณะแบนยาวแหลมหัวแหลมท้ายแหลม ไม่มีลาย ภายในเซลล์มี นิวเคลียสอันเดียวอยู่ตรงกลางกล้ามเนื้อ ประเภทนี้จะควบคุมการ เคลื่อนไหวของอวัยวะภายใน เช่น ระบบย่อยอาหาร ระบบไหลเวียน โลหิต ระบบขับถ่านปัสสาวะ และระบบสืบพันธุ์ กล้ามเนื้อประเภทนี้ถูก ควบคมโดยระบบประสาทอัตโนมัติร่างกายไม่สามารถควบคุมการ ทางานได้ เพราะไม่ได้อยู่ในอานาจของจิตใจ จึงเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า กล้ามเนื้อที่อยู่นอกอานาจจิตใจ (involuntary muscle)เซลล์ กล้ามเนื้อประเภทนี้ ได้แก่ ผนังกระเพราะอาหาร ผนังลาไส้ กล้ามเนื้อหู รูดที่ม่านตา
  • 26. • 3.กล้ามเนื้อหัวใจ(cardiac muscle)พบเฉพาะบริเวณ หัวใจเท่านั้น เซลล์กล้ามเนื้อ ประเภทนี้มีลักษณะเป็นลาย พาดขวาง และมีนิวเคลียส หลายอันเหมือนกล้ามเนื้อลาย แต่เป็นกล้ามเนื้อที่อยู่นอก อานาจจิตใจ และถูกควบคุม โดยระบบประสาทอัตโนมัติ เช่นเดียวกับกล้ามเนื้อเรียบ
  • 27. โครงสร้างและการทางานของกล้ามเนื้อยึดกระดูก • กล้ามเนื้อยึดกระดูกแต่ละมัดประกอบด้วยเส้นใยกล้ามเนื้อ(muscle fiber) หรือเซลล์กล้ามเนื้อ (muscle cell) ภายในเส้นใย กล้ามเนื้อประกอบด้วยเส้นใยกล้ามเนื้อเล็ก (myofibrils) มีลักษณะ เป็นท่อนยาวเรียงซ้อนกันเส้นใยกล้ามเนื้อเล็กเหล่านี้จะอยู่รวมกันเป็น มัดเส้นใยกล้ามเนื้อเล็กประกอบด้วย ไมโครฟิลาเมนท์ 2 ชนิดคือ ชนิด บาง ซึ่งเป็นสายโปรตีนแอกทิน (act in) และชนิดหนาซึ่งเป็นสาย โปรตีนไมโอซิน (myosin) แอกทินและไมโอซินเรียงตัวขนานกัน
  • 28.
  • 29. ♥..แบบฝึกหัด..♥ • 1. อะมีบาใช้โครงสร้างใดในการเคลื่อนที่ ก. เท้าเทียม ข. ซีเลีย ค. ไมโครทูบูล ง. แพลเจลลัม • 2. จากสมบัติของไซโทรพลาสซึมเปลี่ยนจากเจลเป็นโซล จากโซลเป็น เจล เนื่องจาก ก. การรวมตัวของโปรตีนแอกทิน ข. การสลายตัวของไมโครฟิลาเมนต์ ค. การแยกตัวและการรวมตัวของโปรตีนแอกทิน ง. การแยกตัวของโปรตีนแอกทิน
  • 30. • 3. โครงสร้างของอะมีบาในข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ ก. การแยกตัวและการรวมตัวของโปรตีนแอกทิน ข. ไซโทรพลาซึม ค. ไซโทรพลาสซึม ง. นิวเคลียส • 4. การยื่นเท้าเทียมของอะมีบาเกิดขึ้นได้อย่างไร ก. การไหลของเอนโดรพลาซึม ข. การไหลของเอ็กโทรพลาซึม ค. การหดตัวของเจล ง. การหดตัวของโซล
  • 31. 5. จงเรียงลาดับกลไกการเคลื่อนที่ของอะมีบา 1. การยื่นเยื่อหุ้มเซลล์ออกไป 2. การเปลี่ยนไซโทรพลาซึมจากโซลเป็นเจลและจากเจลเป็นโซล 3. การแยกตัวและการรวมตัวของโปรตีนแอกทิน 4. การไหลของเอนโดรพลาซึมออกไปด้านนอก ก. 4 3 2 1 ข. 3 1 4 2 ค. 1 2 3 4 ง. 2 4 1 3
  • 32. • 6. การเคลื่อนที่ของหมึกโดยการหดตัวของกล้ามเนื้อระบบท่อพ่นน้า เรียกว่า ก. แอมพูลลา ข. ไซฟอน ค. มาดรีโพไรด์ ง. ทิวบ์ฟีท • 7. แมงกะพรุนซึ่งอยู่ในไฟลัมซีเลนเทอราตา มีลักษณะการเคลื่อนที่ อย่างไร ก. การพุ่งตัว ข. การยืดตัว ค. การหดตัว ง. การสลายตัว
  • 33. • 8. ระบบท่อของดาวทะเลประกอบด้วย ก. มาดรีโพไรต์ ข. ทิวบ์ฟีท ค. แอมพูลลา ง. ถูกทั้ง ก. และ ข. • 9. แมงกะพรุนมีของเหลวอะไรที่แทรกอยู่ระหว่างเนื้อเยื่อชั้นนอกอละ เนื้อเยื่อชั้นใน ก. มาดรีโพไรต์ ข. มีโซเลีย ค. แอมพูลลา ง. ทิวบ์ฟีท
  • 34. • 10. โครงสร้างเล็กๆ ที่ยื่นออกจากผนังลาตัวของไส้เดือนคืออะไร ก. เดือย ข. แขน ค. หาง ง. หู • 11. กล้ามเนื้อของปลาประกอบด้วย 2 ชนิด คือ ก. กล้ามเนื้อยึด กล้ามเนื้อยก ข. กล้ามเนื้อหดตัว กล้ามเนื้อยึด ค. กล้ามเนื้อคลายตัว กล้ามเนื้อหดตัว ง. กล้ามเนื้อคลายตัว กล้ามเนื้อยก
  • 35. • 12. เสือชีต้าสามารถวิ่งได้เร็วที่สุดกี่กิโลเมตรต่อชั่วโมง ก. 120 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ข. 90 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ค. 100 กิโลเมตรต่อชั่งโมง ง. 110 กิโลเมตรต่อชั่วโมง • 13. กล้ามเนื้อของสัตว์มีกระดูกสันหลังประกอบด้วยกล้ามเนื้อ อะไรบ้าง ก. กล้ามเนื้อยึดกระดูก ข. กล้ามเนื้อหัวใจ ค. กล้ามเนื้อเรียบ ง. ถูกทุกข้อ
  • 36. • 14. ไขกระดูกแดงทาหน้าที่อะไร ก. สร้างเซลล์เม็ดเลือดแดง ข. สร้างเซลล์เม็ดเลือดขาว ค. ซ่อมแซมเซลล์เม็ดเลือด ง. รักษาบารุงเซลล์เม็ดเลือด • 15. ข้อใดเป็นกระดูกแกนทั้งหมด ก. ซี่โครง , สะบัก , ก้นกบ , เชิงกราน ข. กระดูกสันหลัง , สะบัก , เชิงกราน , กระเบนเหน็บ ค. กระเบนเหน็บ , ซี่โครง , กะโหลกศรีษะ , ก้นกบ ง. เชิงกราน , กระเบนเหน็บ , ก้นกบ
  • 37. • 16. ข้อต่อที่เคลื่อนไหวไม่ได้นอกจากพบที่กะโหลกศรีษะแล้วยังพบที่ใด อีก ก. กระดูกกระเบนเหน็บกับกระดูกเชิงกราน ข. กระดูกสันหลังกับกระดูกสันหลัง ค. กระดูกสันหลังกับกระดูกซี่โครง ง. กระดูกซี่โครงกับกระดูกหน้าอก • 17. ข้อต่อที่หัวเข่าเป็นข้อต่อลักษณะใด ก. ลูกกลมในเบ้า ข. บานพับ ค. เดือย ง. อานม้า
  • 38. • 18. กระดูกข้อต่อต่างๆยึดติดกันได้ต้องอาศัยสิ่งใดเป็นหลัก ก. พังผืด ข. เอ็นยึดกระดูก ค. เอ็นยึดกล้ามเนื้อ ง. เอ็นยึดข้อ • 19. ข้อต่อที่หัวไหล่มีลักษณะเหมือนข้อต่อแบบใด ก. บานพับ ข. ลูกกลมในเบ้า ค. อานม้า ง. เดือย
  • 40. ♥...เฉลยจ้า...♥ • การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 1. ก. เท้าเทียม 2. ค. การแยกตัวและการรวมตัวของโปรตีนแอกทิน 3. ง. นิวเคลียส 4. ก. การไหลของเอนโดรพลาซึม 5. ก. 4 3 2 1 การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง 6. ข. ไซฟอน 7. ค. การหดตัว 8. ง. ทั้ง ก. และ ค. 9. ข. มีโซเลีย 10. ก. เดือย
  • 41. • 7.3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง 11. ค. กล้ามเนื้อคลายตัว กล้ามเนื้อหดตัว 12. ค. 110 กิโลเมตรต่อชั่วโมง 13. ง. ถูกทุกข้อ 14. ก. สร้างเซลล์เม็ดเลือดแดง 15. ค. กระเบนเหน็บ , ซี่โครง , กะโหลกศรีษะ , ก้นกบ 16. ก. กระดูกกระเบนเหน็บกับกระดูกเชิงกราน 17. ข. บานพับ 18. ง. เอ็นยึดข้อ 19. ข. ลูกกลมในเบ้า 20. ข. 2 ชนิด