SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 15
รายวิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ รหัสวิชา ว31104                                  กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ วทยาศาสตร์
                                                                                                        ิ
โรงเรียนนารายณ์คาผงวิทยา                            ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2555
สาระที่ 7 หน่ วยที่ 7                              เรื่อง โลกของเราและดาวเคราะห์ ต่างๆ             เวลา 2.00 ชั่วโมง
มาตรฐาน ว 7.1 เข้าใจวิวฒนาการของระบบสุ ริยะ กาแล็กซี และเอกภพ การปฏิ สัมพันธ์ภายใน
                                      ั
ระบบสุ ริย ะและผลต่อสิ่ ง มี ชีวิตบนโลก มี ก ระบวนการสื บ เสาะ หาความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์
สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนาความรู ้ไปใช้ประโยชน์
วัน ............. ที.่ .....เดือน.....................พ.ศ. ........... ผู้เขียน/ผู้สอน ครู ศักดิ์อนันต์ อนันตสุ ข
……………………………………………………………………………………………………….
สาระสาคัญ
            โลกของเรามี ฉ ายาว่า “ดาวเคราะห์ สี น้ า เงิ น ” หรื อ “ดาวเคราะห์ มหาสมุ ท ร” เป็ นดาว
เคราะห์ลาดับที่ 3 จากดวงอาทิตย์ ใหญ่เป็ นอันดับที่ 5 และมีความหนาแน่นมากที่สุดในบรรดาดาว
เคราะห์ ท้ ง 9 ดวง โลกเป็ นดาวเคราะห์ ดวงเดี ยวที่ มีอุณหภูมิ และสภาพเหมาะสมที่ สิ่งมีชีวิต
              ั
                                                 ่
สามารถก่อกาเนิดและดารงชีพอยูได้ เป็ นดาวเคราะห์ดวงเดียวที่มีพ้ืนน้ ามากถึง 2 ใน 3 ส่ วน มีดาว
บริ วารที่ เป็ นดวงจันทร์ เพี ย งดวงเดี ย ว นอกจากโลกแล้วการศึก ษาเรื่ องราวข้อเท็จจริ งของดาว
เคราะห์ที่เหลืออีก 8 ดวง จะมีส่วนช่วยทาให้เรามีความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบสุ ริยะมากยิ่งขึ้น

ตัวชี้วด
       ั
           1. สื บค้นและอธิ บายการเกิดและวิวฒนาการของระบบสุ ริยะ กาแล็กซี และเอกภพ
                                            ั

จุดประสงค์ การเรี ยนรู้
        1. อธิ บายการหมุนรอบตัวเอง ตาแหน่ง การโคจรรอบดวงอาทิตย์ของโลก และดาวเคราะห์
ดวงอื่นๆ ได้
        2. อธิบายหลักการสังเกตดาวเคราะห์บนท้องฟ้ าได้

สาระการเรียนรู้
           - เอกภพกาเนิ ด ณ จุดที่เรี ยกว่าบิกแบง เป็ นจุดที่พลังงานเริ่ มเปลี่ ยนเป็ นสสาร เกิ ดเป็ น
อนุภาค ควาร์ก อิเล็กตรอน นิวทริ โน พร้อมปฏิอนุภาค เมื่ออุณหภูมิของเอกภพ ลดต่าลง ควาร์ กจะ
รวมตัวกันเป็ นอนุ ภาคพื้นฐาน คื อโปรตอนและนิ วตรอน ต่อมาโปรตอนและนิ วตรอนรวมตัวกัน
เป็ นนิวเคลียสของฮีเลียม และเกิดเป็ นอะตอมของไฮโดรเจนและฮีเลียม อะตอมของไฮโดรเจนและ
ฮี เลี ยม ซึ่ งเป็ นองค์ประกอบส่ วนใหญ่ของเนบิ วลาดั้ง เดิ ม เนบิ วลาดั้ง เดิ มกระจายอยู่เป็ นหย่อมๆ
กลายเป็ นกาแล็กซี่ ภายในกาแล็กซี่ เกิดเป็ นดาวฤกษ์ ระบบดาวฤกษ์
เนือหา
   ้
         - การหมุนรอบตัวเองและการโคจรของโลก
         - ดาวเคราะห์อื่นๆ ในระบบสุ ริยะ (ดาวเคราะห์วงใน และดาวเคราะห์วงนอก)
         - การสังเกตดาวเคราะห์บนท้องฟ้ า

การจัดกระบวนการเรียนรู้
1. ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน
         1. ครู ทบทวนความรู ้ เรื่ อง ระบบสุ ริยะและดาวบริ วารว่าประกอบด้วยอะไรบ้าง
         2. ครู แจ้งตัวชี้วดให้นกเรี ยนทราบ
                           ั    ั

2. ขั้นสอน/กิจกรรม
 2.1 ขั้นสร้ างความสนใจ
           1. นักเรี ยนตั้งฉายาของโลกตามความคิดเห็ นของนักเรี ยนและเขียนบนกระดาน และร่ วม
อภิปรายแสดงความคิดเห็นฉายาต่างๆ นั้นมีความเหมาะสมกับโลกเพียงใด
           2. ครู อธิ บายแสดงความคิดเห็ นถึ งฉายาของโลกว่าเป็ น ดาวเคราะห์สีน้ าเงิ น โดยใช้ภาพ
โลกประกอบการอธิ บาย ( แนวตอบ โลกเราปกคลุมห่ อหุ้ มด้ วยบรรยากาศ แสงที่ ส่องเข้ าสู่ โลก
แสงสี นาเงินจะกระเจิ งได้ ดีในบรรยากาศของโลก จึ งทาให้ โลกมองเห็นเป็ นสี นาเงิน ประกอบกับ
         ้                                                                         ้
พืนที่ โลก 3 ใน 4 ส่ วนเป็ นพืนมหาสมุทร ซึ่ งหากมองดูโลกจากบนท้ องฟ้ าหรื อนอกอวกาศจะเห็น
  ้                                 ้
โลกเป็ นสี นาเงิน)
               ้
2.2 ขั้นสารวจและค้ นหา
           1. นัก เรี ย นช่ ว ยกัน ยกตัว อย่า ง ปรากฏการณ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น บนโลก สาเหตุ ข องการเกิ ด
ปรากฏการณ์ น้ น และร่ วมกันอภิปรายสรุ ปว่าเกิดจากการที่โลกหมุนรอบตัวเองและโคจรไปรอบ
                   ั
ดวงอาทิตย์
                 แนวตอบ กลางวันและกลางคืนมีอุณหภูมิแตกต่างกัน ทาให้เกิดปรากฏการณ์ธรรมชาติ
เช่น ลม วัฏจักรของน้ า
                 สาหรับเรื่ อง ฤดูกาล ได้แก่ ฤดูร้อน ฤดูฝน ฤดูหนาว เกิดจากโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์
ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นตามฤดูกาลเช่นฟ้ าร้อง ฟ้ าแลบ ฟ้ าผ่า เกิดในฤดูฝน ไฟฟ้ าสถิตเกิดในฤดูหนาว
           2. นักเรี ยนศึกษาลูกโลกจาลอง ที่มีแกนโลกเอียง 23 ½ องศา และตาแหน่งของประเทศ
ต่างๆ บนโลก
           3. ครู สุ่มนักเรี ยน 1 คน สาธิตการหมุนของโลกรอบตัวเอง อธิบายการหมุนรอบตัวเองของ
โลก โดยจะหมุนทวนเข็มนาฬิกา จากทิศตะวันตกไปทิศตะวันออก หมุน 1 รอบ นาน 23 ชัวโมง                 ่
56 นาที หรื อประมาณ 24 ชัวโมง     ่
4. ครู ใ ช้ไฟฉายแทนดวงอาทิ ตย์ ส่ งแสงไปยังลู กโลกจาลอง อธิ บ ายการเกิ ดกลางวัน
กลางคืน และกาหนดให้ 1 วัน มี 24 ชัวโมง  ่
         5. ครู นาครึ่ งทรงกลมสี ดาครอบลูกโลกจาลอง เป็ นส่ วนของด้านมืดของโลก ซึ่ งแทนเวลา
กลางคืน อธิ บายเวลาของแต่ละประเทศที่จะเปลี่ ยนไป ด้านมืดที่มีฝาดาครอบจะอยู่ดานหลังเมื่อ   ้
ตาแหน่งใดบนโลกเคลื่อนที่เข้าสู่ ดานมืดจะเป็ นเวลากลางคืน เมื่อจะออกจากด้านมืดสู่ ดานสว่าง
                                    ้                                                       ้
จะเป็ นตอนใกล้สว่างหรื อใกล้รุ่งเช้า สาธิ ตประกอบการอธิ บายตาแหน่ งที่เป็ นตอนรุ่ งเช้า เที่ยงวัน
พลบค่า และเที่ยงคืน ไปสู่ ขอสรุ ปการกาหนดเวลาของท้องถิ่ น กาหนดให้ 1 วันที่โลกหมุนรอบ
                               ้
ตัวเอง 1 รอบมี 24 ชัวโมง่
         6. ครู ใช้ลูกโลกจาลอง เพื่ออธิ บายการกาหนดเวลาของแต่ละประเทศจะไม่ตรงกันและการ
                                                                       ่
กาหนดเวลาของแต่ละประเทศ จะยึดเส้นลองจิจูดที่ 0 องศา ที่ผานหอดูดาวเมืองกรี นิช ประเทศ
อังกฤษ เป็ นเวลาสากลของโลก (Greenwich Mean Time)
2.3 ขั้นอธิบายและลงข้ อสรุ ป
         1. ครู วางภาพกลุ่มดาวต่างๆ ไว้โดยรอบลูกโลกจาลองที่มีครึ่ งทรงกลมสี ดาครอบลูกโลกซึ่ ง
แสดงการเกิ ดกลางวันกลางคืน สาธิ ตการหมุนของโลกจาลอง ประกอบการอธิ บายการมองเห็ น
กลุ่มดาว ถ้าใช้ตวเราเป็ นตาแหน่ งอ้างอิง เสมือนหยุดนิ่ ง จะมองเห็ นกลุ่มดาวต่างๆ เคลื่อนที่จาก
                    ั
ขอบฟ้ าตะวัน ออกไปขอบฟ้ าตะวัน ตก เราจึ ง เห็ น ดวงดาวต่ า งๆ ขึ้ นทางขอบฟ้ าตะวัน ออก
         2. ครู แ ละนัก เรี ย นร่ ว มกัน อภิ ป รายสรุ ป ผลที่ เ กิ ด จากการหมุ น รอบตัว เองของโลก
             แนวตอบ เกิ ดกลางวัน กลางคืน การกาหนดเวลาของแต่ละท้องถิ่ น และการขึ้น ตก
ของดวงดาวแตกต่างกัน
         3. นักเรี ยนศึกษาการโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์โดยวางลูกโลกจาลอง 4 ลูก ตาแหน่ ง
ต่างๆ ของวันที่ 21 มีนาคม 21 มิถุนายน 21 กันยายนและ 21 ธันวาคม ตามภาพ “การโคจรรอบดวง
อาทิตย์ของโลกทาให้เกิดฤดูกาลและกลางวันกลางคืน” ในหนังสื อเรี ยน แกนนาโลกต้องเอียงไป
ทางเดียวกัน ขนานกันทุกตาแหน่ง นักเรี ยนหมุนโลกไปรอบตัวเอง และร่ วมอภิปรายการเกิดฤดูกาล
ได้ขอสรุ ก 1 ปี มี 365.2422 วัน จึงกาหนดปฏิ ทินได้ตามปี ดาราคติและปี สุ ริยะคติ การเกิ ดฤดูกาล
     ้
บางประเทศมี 4 ฤดูกาล บางประเทศ มี 3 ฤดูกาล บางท้องที่มีเพียง 2 ฤดูกาล
         4. ครู อธิบายการโคจรของดวงจันทร์ รอบโลกที่ใช้เวลา 27.322 วัน ในการหมุนรอบตัวเอง
และโคจรรอบโลก จึงเห็นดวงจันทร์เพียงด้านเดียว และจะเห็นดวงจันทร์เต็มดวงทุกๆ 29 ½ วัน
         5. ครู และนักเรี ยนร่ วมอภิปรายสรุ ป นักเรี ยนบันทึกสรุ ปผลที่เกิ ดจากการโคจรของโลก
รอบดวงอาทิตย์ ที่ทาให้เกิดฤดูกาลปฏิทิน
6. ครู อธิ บายการจัดแบ่งดาวเคราะห์วงในและดาวเคราะห์วงนอก การสังเกตดาวเคราะห์
บนท้องฟ้ า และอธิ บายให้นกเรี ยนเข้าใจว่า ดาวเคราะห์ที่มองเห็นได้ดวยตาเปล่ามี 5 ดวง คือ ดาว
                              ั                                           ้
พุทธ ดาวศุกร์ ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี และดาวเสาร์ ดาวเคราะห์แสงนิ่ ง ดาวฤกษ์แสงกระพริ บ
                            ่
ดาวเคราะห์เคลื่อนที่ไปอยูใกล้เส้นสุ ริยวิถี
2.4 ขั้นขยายความรู้
         ครู ให้นักเรี ยนศึกษาความรู ้ เพิ่มเติ ม เรื่ อง ดาวเคราะห์ วงนอกและดาวเคราะห์วงใน จาก
ใบความรู ้ และทารายงานเกี่ยวกับดาวเคราะห์ต่างๆ

2.5 ขั้นประเมิน
           1. ครู ให้นกเรี ยนแต่ละคนพิจารณาว่าในหัวข้อที่เรี ยนมา และในการปฏิบติกิจกรรมมีจุดใด
                      ั                                                              ั
ที่ ยง เข้าใจไม่ ชัดเจนหรื อยัง มี ขอสงสัย ถ้า มี ครู ช่วยอธิ บายเพิ่ มเติ ม และทดสอบความเข้า ใจของ
     ั                              ้
นักเรี ยนโดยการให้ตอบคาถาม
           2. นัก เรี ย นร่ วมกันแสดงความคิ ดเห็ นถึ ง ประโยชน์ ที่ ไ ด้จากการเรี ย นและการปฏิ บ ติ
                                                                                                  ั
กิจกรรมและการนาความรู ้ท่ีได้ไปใช้ประโยชน์
           3. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันประเมินการจัดกิจกรรมกลุ่ม ว่ามีปัญหา อุปสรรคใดและได้มีการ
แก้ไขอย่างไร ครู ให้คาชมเชยกลุ่มที่ทางานได้ดี ให้กาลังใจและข้อเสนอแนะแก่กลุ่มที่ควรปรับปรุ ง
3. ขั้นสรุ ป
           1. นักเรี ยนอภิปรายผลที่เกิ ดจากการหมุนรอบตัวเองโลก ผลที่เกิดจากการโคจรของโลก
รอบดวงอาทิตย์
           2. นักเรี ยนวาดภาพแสดงตาแหน่ งของโลกและดาวเคราะห์ ดวงๆ ในระบบสุ ริยะและ
เปลี่ยนกันตรวจสอบความถูกต้อง
           3. ครู แนะนานักเรี ยนให้ศึกษาค้นคว้ารายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับโลก และดาวเคราะห์จาก
หนังสื อ วารสาร เอกสาร ในห้องสมุด และหรื อทางอินเตอร์เน็ต

สื่ อและแหล่ งการเรียนรู้
         1. หนังสื อเรี ยนสาระการเรี ยนรู ้พ้ืนฐาน โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ของสถาบันส่ งเสริ ม
การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
         2. เอกสารประกอบการสอน/ใบความรู้
         3. สื่ อสิ่ งพิมพ์และเว็บไซต์ต่างๆ ทางอินเตอร์ เน็ตที่เกี่ยวข้อง
การวัดและประเมินผล
 การวัดผลประเมินผลด้าน                                    วิธีการวัด                              เครื่ องมือวัด                          เกณฑ์การผ่าน
1. ด้านความรู ้ความเข้าใจ                      1.วัดจากแบบสรุ ปความคิด                      1.แบบสรุ ปความคิดรวบ                     1. ทาถูกต้องร้อยละ 70
                                               รวบยอด/ใบงาน/กิจกรรม                         ยอด/ใบงาน/กิจกรรม                        ขึ้นไป
2. ด้านทักษะกระบวนการ                          สังเกตจากการปฏิบติกิจกรรม
                                                                    ั                       แบบสังเกตพฤติกรรมการ                     ได้คะแนนในระดับ 2
                                               ในชั้นเรี ยน                                 ทางาน                                    ขึ้นไป

3. ด้านคุณลักษณะที่พึง                         การสังเกตพฤติกรรมความ                        แบบสังเกตพฤติกรรมความ ได้คะแนนในระดับ 2
ประสงค์                                        สนใจ และตั้งใจเรี ยน                         สนใจและตั้งใจเรี ยน   ขึ้นไป

กิจกรรมเสนอแนะ
       ให้ นัก เรี ย นท าบทปฏิ บ ัติ ก าร เรื่ อ ง โบราณดาราศาสตร์ แ ละธรณี วิ ท ยาจากปราสาท
                                                     ั
ในจังหวัดสุ รินทร์ เพื่อเรี ยนรู ้เรื่ องดาราศาสตร์ กบภูมิปัญญาท้องถิ่น

ความคิดเห็นของผู้บังคับบัญชา

  ความเห็นหัวหน้ากลุ่มสาระ                                      ความเห็นหัวหน้า                                ความเห็นรองผูอานวยการ
                                                                                                                             ้
    การเรี ยนรู้วทยาศาสตร์
                 ิ                                             กลุ่มบริ หารวิชาการ                               กลุ่มบริ หารวิชาการ
  ...................................................   ...................................................   ...................................................
  ...................................................   ...................................................   ...................................................
  ...................................................   ...................................................   ...................................................
ลงชื่อ....................................... ลงชื่อ....................................... ลงชื่อ.......................................
(นางจิรารัตน์ เชื่อมกระโทก)                            (นางเพิมศิริ งามยิง)
                                                                  ่                  ่            (นายประเสริ ฐ สันทอง)

ความเห็นของผู้บริ หารโรงเรี ยน
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
                                                                    ลงชื่อ..........................................................
                                                                                    ( นายทันใจ ชูทรงเดช )
                                                                         ผูอานวยการโรงเรี ยนนารายณ์คาผงวิทยา
                                                                            ้
                                                                        .................../....................../.......................
แบบทดสอบหลังเรี ยน เรื่อง ระบบสุ ริยะ

1. สั ตว์ และพืชบนโลกเจริ ญเติบโตและคงชี วตอยู่ได้ เพราะอาศัยพลังงานจากแสงอาทิตย์ โดยผ่าน
                                              ิ
กระบวนการเปลียนแปลงในข้ อใด
                       ่
           ก พลังงานแสงเป็ นพลังงานเคมี                ค พลังงานความร้อนเป็ นพลังงานกล
           ข พลังงานแสงเป็ นพลังงานไฟฟ้ า              ง พลังงานความร้อนเป็ นพลังงานเคมี
2. ข้ อใดต่ อไปนีกล่าว ผิด
                   ้
           ก ดาวเคราะห์เคลื่อนที่ไปในท้องฟ้ าเมื่อเทียบกับดาวฤกษ์
                                                                   ่
           ข คนบนโลกมีโอกาสที่จะมองเห็นดาวเคราะห์วงใน อยูกลางท้องฟ้ าได้
                              ่                                        ่
           ค ดาวเคราะห์ท่ีอยูใกล้ดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิสูง ส่ วนที่อยูไกลดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิต่า
           ง แสงสว่างจากดาวเคราะห์เกิดจากแสงสะท้อนจากดวงอาทิตย์
3. ข้ อใด ไม่ ถูกต้ อง
   ก พลังงานที่ได้รับจากดวงอาทิตย์มี 2 ประเภทคือ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าและอนุภาคมีประจุ
   ข ทั้งคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าและอนุภาคมีประจุ ใช้เวลาเดินทางถึงบรรยากาศโลกพร้อมกัน
   ค รังสี อลตราไวโอเลตจะถูกดูดกลืนในบรรยากาศเบื้องบนเป็ นส่ วนใหญ่
               ั
   ง อนุภาคมีประจุจะถูกกั้นด้วยสนามแม่เหล็กโลก ทาให้เข้าสู่ ผวโลกได้นอย
                                                                     ิ       ้
4. ข้ อใดต่ อไปนีที่ ไม่ใช่ สมบัติของรังสี อลตราไวโอเลต
                     ้                      ั
           ก ให้แสงเรื องเมื่อกระทบกับสารบางชนิด
           ข ให้พลังงานสู งจนสามารถฆ่าเชื้อโรคในอากาศได้
           ค สามารถสร้างวิตามินอีจากเนื้อเยื่อใต้ผวหนังบางชนิด
                                                     ิ
           ง ทาให้ออกซิ เจนสลายตัวและรวมตัวเป็ นโอโซนในชั้นสตราโตสเฟี ยร์
5. ดวงอาทิตย์ ประกอบด้ วยแก๊ สชนิดใดมากทีสุด       ่
           ก ฮีเลียม                ข คาร์บอน                 ค ยูเรเนียม ง ไฮโดรเจน
6. ข้ อสรุ ปเกี่ยวกับพลังงานจากดวงอาทิตย์ ทมีต่อโลก ข้ อใดถูกต้ อง
                                                ่ี
   1. ปรากฏการณ์เรื อนกระจกเป็ นปรากฏการณ์ที่โลกไม่สามารถส่ งพลังงานความร้อนกลับ
ออกไปนอกโลกได้ตามปกติ
   2. รังสี อินฟราเรดจากดวงอาทิตย์เกือบทั้งหมดถูกสะท้อนออกไปจากบรรยากาศของโลก
   3. ที่บริ เวณศูนย์สูตร พื้นดินและพื้นน้ าต่างได้รับพลังงานความร้อนต่อหน่วยพื้นที่จาก
แสงอาทิตย์ในปริ มาณเท่ากัน
   4. น้ าในมหาสมุทรเมื่ออุณหภูมิลดลงจะลอยตัวสู งขึ้นเบื้องบน เกิดการไหลของน้ าจากที่ที่
อุณหภูมิสูงกว่าไหลมาแทนที่
           ก 1 และ 2               ข 1 และ 3                  ค 2 และ 3              ง 2 และ 4
7. ลมสุ ริยะทีเ่ กิดจากการระเบิดของกลุ่มแก๊ สทีจุดบนดวงอาทิตย์ ได้ ปลดปล่ อยสิ่ งทีมีผลต่ อระบบ
                                                          ่                                       ่
โทรคมนาคมของโลก สิ่ งนั้นคืออะไร
           ก รังสี แกมมา ข สนามแม่เหล็ก                       ค อนุภาคโปรตอน ง รังสี อลตราไวโอเลต   ั
8. จงพิจารณาข้ อความต่ อไปนี้
           1. ลมสุ ริยะ                             3. แสงจากดวงอาทิตย์
           2. สนามแม่เหล็ก                          4. รังสี อลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย์
                                                              ั
ข้ อใดเกียวข้ องกับปรากฏการณ์แสงเหนือ - แสงใต้
         ่
           ก 1 และ 2                     ข 2 และ 3                     ค 3 และ 4                      ง 4 และ 1
9. เพราะเหตุใดในรอบปี หนึ่งๆ จึงเกิดสุ ริยปราคามากกว่ าจัทรุ ปราคา
                                                  ุ
           ก วงโคจรของโลกกว้างกว่าวงโคจรของดวงจันทร์
                                       ่
           ข ตาแหน่งที่โลกจะอยูหน้าและบังดวงจันทร์ มีมากกว่า
                                               ่
           ค ตาแหน่งที่ดวงจันทร์ จะอยูหน้าและบังโลกมีมากกว่า
           ง ระนาบวงโคจรของดวงจันทร์ ส่วนใหญ่อยูบนระนาบวงโคจรของโลก
                                                                 ่
10. การเกิดอุปราคามีความสั มพันธ์ กบวิถีของดวงจันทร์ ตามข้ อใด
                                             ั
           ก สุ ริยปราคาเกิดตอนกลางวันของวันเดือนดับ
                     ุ
           ข จันทรุ ปราคาเกิดตอนกลางคืนของวันเดือนดับ
           ค จันทรุ ปราคาเกิดตอนกลางคืนของวันขึ้น 8 ค่า
           ง สุ ริยปราคาเกิดตอนกลางวันของวันแรม 8 ค่า
                         ุ
11. ข้ อใดเกียวข้ องกับดาวหางมากทีสุด
              ่                            ่
           1. ดาวตก              2. ดาวเคราะห์                3. ก้อนอุกกาบาต               4. ลมสุ ริยะ
           ก 1 และ 2                     ข 1 และ 3                     ค 2 และ 3                      ง 2 และ 4
12. ข้ อใด ไม่ ถูกต้ อง
     ก ดาวหางเป็ นก้อนแก๊สไฮโดรเจนขนาดใหญ่ที่สะท้อนแสงจากดวงอาทิตย์
     ข ลมสุ ริยะผลักดันให้หางของดาวหางชี้ไปในทิศทางที่ตรงข้ามกับดวงอาทิตย์เสมอ
                       ่
     ค แก๊สที่อยูภายในดาวหางอาจจะถูกกระตุนให้วาวแสงได้ เมื่อได้รับรังสี จากดวงอาทิตย์
                                                        ้
     ง นักดาราศาสตร์ สันนิษฐานว่า การสู ญพันธุ์ของไดโนเสาร์ เมื่อ 65 ล้านปี ที่แล้ว อาจมีสาเหตุ
มาจากดาวหางวิงมาชนโลก
                   ่
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
                                  เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง ระบบสุ ริยะ
1) ข.                      2) ข.         3) ข.                4) ค.              5) ง.                6) ข.
7) ข.                      8) ก.         9) ค.                10) ก.             11) ข.               12) ก.
******************************************************************************

More Related Content

What's hot

ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง พลังงานแสง+ป.5+273+dltvscip...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง พลังงานแสง+ป.5+273+dltvscip...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง พลังงานแสง+ป.5+273+dltvscip...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง พลังงานแสง+ป.5+273+dltvscip...Prachoom Rangkasikorn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์Kobwit Piriyawat
 
โครงสร้างรายวิชาดวงดาวบนท้องฟ้า
โครงสร้างรายวิชาดวงดาวบนท้องฟ้าโครงสร้างรายวิชาดวงดาวบนท้องฟ้า
โครงสร้างรายวิชาดวงดาวบนท้องฟ้าkrupornpana55
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศKhwankamon Changwiriya
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะkalita123
 
ส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรมส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรมkrupornpana55
 
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะเล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะmayureesongnoo
 
แผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็กแผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็กNiwat Yod
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียkrupornpana55
 
 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์ สำหรับนักเรีย...
 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์  เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์  สำหรับนักเรีย... ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์  เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์  สำหรับนักเรีย...
 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์ สำหรับนักเรีย...riyanma
 

What's hot (20)

Contentastrounit5
Contentastrounit5Contentastrounit5
Contentastrounit5
 
Astroplan16
Astroplan16Astroplan16
Astroplan16
 
Contentastrounit3
Contentastrounit3Contentastrounit3
Contentastrounit3
 
Contentastrounit2
Contentastrounit2Contentastrounit2
Contentastrounit2
 
Astroplan18
Astroplan18Astroplan18
Astroplan18
 
Contentastrounit1
Contentastrounit1Contentastrounit1
Contentastrounit1
 
เอกสารประกอบการเรียน โลก
เอกสารประกอบการเรียน โลกเอกสารประกอบการเรียน โลก
เอกสารประกอบการเรียน โลก
 
Contentastrounit4
Contentastrounit4Contentastrounit4
Contentastrounit4
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง พลังงานแสง+ป.5+273+dltvscip...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง พลังงานแสง+ป.5+273+dltvscip...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง พลังงานแสง+ป.5+273+dltvscip...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง พลังงานแสง+ป.5+273+dltvscip...
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
 
โครงสร้างรายวิชาดวงดาวบนท้องฟ้า
โครงสร้างรายวิชาดวงดาวบนท้องฟ้าโครงสร้างรายวิชาดวงดาวบนท้องฟ้า
โครงสร้างรายวิชาดวงดาวบนท้องฟ้า
 
ตัวชี้วัด วิทย์ม 3
ตัวชี้วัด วิทย์ม 3ตัวชี้วัด วิทย์ม 3
ตัวชี้วัด วิทย์ม 3
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรมส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรม
 
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะเล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
 
แผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็กแผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็ก
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
 
 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์ สำหรับนักเรีย...
 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์  เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์  สำหรับนักเรีย... ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์  เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์  สำหรับนักเรีย...
 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์ สำหรับนักเรีย...
 

Similar to Astroplan15

04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอกkruannchem
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศJiraporn
 
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4supphawan
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...Kobwit Piriyawat
 
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3srkschool
 
วันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชาวันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชาsuchinmam
 
แผน 2 โลหะ
แผน 2 โลหะแผน 2 โลหะ
แผน 2 โลหะkrupornpana55
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_socPrachoom Rangkasikorn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u4_socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u4_socPrachoom Rangkasikorn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 1-3 หน่วย 4+409+dltvsocp1+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 1-3 หน่วย 4+409+dltvsocp1+T2 p1 3-u4_socแผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 1-3 หน่วย 4+409+dltvsocp1+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 1-3 หน่วย 4+409+dltvsocp1+T2 p1 3-u4_socPrachoom Rangkasikorn
 
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์jariya221
 
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคมการสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคมtanakit pintong
 

Similar to Astroplan15 (20)

Sun
SunSun
Sun
 
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
 
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
 
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3
 
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตรแผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
 
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
 
วันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชาวันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชา
 
แผน 2 โลหะ
แผน 2 โลหะแผน 2 โลหะ
แผน 2 โลหะ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_soc
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u4_socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u4_soc
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 1-3 หน่วย 4+409+dltvsocp1+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 1-3 หน่วย 4+409+dltvsocp1+T2 p1 3-u4_socแผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 1-3 หน่วย 4+409+dltvsocp1+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 1-3 หน่วย 4+409+dltvsocp1+T2 p1 3-u4_soc
 
ม611(แก้)
ม611(แก้)ม611(แก้)
ม611(แก้)
 
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคมการสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
 
ม611(แก้)
ม611(แก้)ม611(แก้)
ม611(แก้)
 

More from SAKANAN ANANTASOOK

เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย SAKANAN ANANTASOOK
 
วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา
วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา
วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา SAKANAN ANANTASOOK
 
ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6
ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6
ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6SAKANAN ANANTASOOK
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง SAKANAN ANANTASOOK
 
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทยการสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทยSAKANAN ANANTASOOK
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานSAKANAN ANANTASOOK
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือSAKANAN ANANTASOOK
 
บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่
บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่
บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่SAKANAN ANANTASOOK
 
สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์
สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์
สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์SAKANAN ANANTASOOK
 
Eratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-version
Eratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-versionEratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-version
Eratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-versionSAKANAN ANANTASOOK
 
Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.
Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.
Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)
TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)
TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)
TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)
TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)
TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)
TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)
TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)
TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)SAKANAN ANANTASOOK
 

More from SAKANAN ANANTASOOK (20)

เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย
 
วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา
วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา
วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา
 
ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6
ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6
ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
 
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทยการสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่
บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่
บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่
 
สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์
สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์
สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์
 
Eratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-version
Eratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-versionEratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-version
Eratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-version
 
Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.
Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.
Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.
 
PISA2015THAILAND
PISA2015THAILANDPISA2015THAILAND
PISA2015THAILAND
 
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
 
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
 
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
 
TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)
TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)
TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)
 
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
 
TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)
TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)
TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)
 
TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)
TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)
TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)
 
TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)
TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)
TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)
 

Astroplan15

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 15 รายวิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ รหัสวิชา ว31104 กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ วทยาศาสตร์ ิ โรงเรียนนารายณ์คาผงวิทยา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2555 สาระที่ 7 หน่ วยที่ 7 เรื่อง โลกของเราและดาวเคราะห์ ต่างๆ เวลา 2.00 ชั่วโมง มาตรฐาน ว 7.1 เข้าใจวิวฒนาการของระบบสุ ริยะ กาแล็กซี และเอกภพ การปฏิ สัมพันธ์ภายใน ั ระบบสุ ริย ะและผลต่อสิ่ ง มี ชีวิตบนโลก มี ก ระบวนการสื บ เสาะ หาความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนาความรู ้ไปใช้ประโยชน์ วัน ............. ที.่ .....เดือน.....................พ.ศ. ........... ผู้เขียน/ผู้สอน ครู ศักดิ์อนันต์ อนันตสุ ข ………………………………………………………………………………………………………. สาระสาคัญ โลกของเรามี ฉ ายาว่า “ดาวเคราะห์ สี น้ า เงิ น ” หรื อ “ดาวเคราะห์ มหาสมุ ท ร” เป็ นดาว เคราะห์ลาดับที่ 3 จากดวงอาทิตย์ ใหญ่เป็ นอันดับที่ 5 และมีความหนาแน่นมากที่สุดในบรรดาดาว เคราะห์ ท้ ง 9 ดวง โลกเป็ นดาวเคราะห์ ดวงเดี ยวที่ มีอุณหภูมิ และสภาพเหมาะสมที่ สิ่งมีชีวิต ั ่ สามารถก่อกาเนิดและดารงชีพอยูได้ เป็ นดาวเคราะห์ดวงเดียวที่มีพ้ืนน้ ามากถึง 2 ใน 3 ส่ วน มีดาว บริ วารที่ เป็ นดวงจันทร์ เพี ย งดวงเดี ย ว นอกจากโลกแล้วการศึก ษาเรื่ องราวข้อเท็จจริ งของดาว เคราะห์ที่เหลืออีก 8 ดวง จะมีส่วนช่วยทาให้เรามีความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบสุ ริยะมากยิ่งขึ้น ตัวชี้วด ั 1. สื บค้นและอธิ บายการเกิดและวิวฒนาการของระบบสุ ริยะ กาแล็กซี และเอกภพ ั จุดประสงค์ การเรี ยนรู้ 1. อธิ บายการหมุนรอบตัวเอง ตาแหน่ง การโคจรรอบดวงอาทิตย์ของโลก และดาวเคราะห์ ดวงอื่นๆ ได้ 2. อธิบายหลักการสังเกตดาวเคราะห์บนท้องฟ้ าได้ สาระการเรียนรู้ - เอกภพกาเนิ ด ณ จุดที่เรี ยกว่าบิกแบง เป็ นจุดที่พลังงานเริ่ มเปลี่ ยนเป็ นสสาร เกิ ดเป็ น อนุภาค ควาร์ก อิเล็กตรอน นิวทริ โน พร้อมปฏิอนุภาค เมื่ออุณหภูมิของเอกภพ ลดต่าลง ควาร์ กจะ รวมตัวกันเป็ นอนุ ภาคพื้นฐาน คื อโปรตอนและนิ วตรอน ต่อมาโปรตอนและนิ วตรอนรวมตัวกัน เป็ นนิวเคลียสของฮีเลียม และเกิดเป็ นอะตอมของไฮโดรเจนและฮีเลียม อะตอมของไฮโดรเจนและ ฮี เลี ยม ซึ่ งเป็ นองค์ประกอบส่ วนใหญ่ของเนบิ วลาดั้ง เดิ ม เนบิ วลาดั้ง เดิ มกระจายอยู่เป็ นหย่อมๆ กลายเป็ นกาแล็กซี่ ภายในกาแล็กซี่ เกิดเป็ นดาวฤกษ์ ระบบดาวฤกษ์
  • 2. เนือหา ้ - การหมุนรอบตัวเองและการโคจรของโลก - ดาวเคราะห์อื่นๆ ในระบบสุ ริยะ (ดาวเคราะห์วงใน และดาวเคราะห์วงนอก) - การสังเกตดาวเคราะห์บนท้องฟ้ า การจัดกระบวนการเรียนรู้ 1. ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน 1. ครู ทบทวนความรู ้ เรื่ อง ระบบสุ ริยะและดาวบริ วารว่าประกอบด้วยอะไรบ้าง 2. ครู แจ้งตัวชี้วดให้นกเรี ยนทราบ ั ั 2. ขั้นสอน/กิจกรรม 2.1 ขั้นสร้ างความสนใจ 1. นักเรี ยนตั้งฉายาของโลกตามความคิดเห็ นของนักเรี ยนและเขียนบนกระดาน และร่ วม อภิปรายแสดงความคิดเห็นฉายาต่างๆ นั้นมีความเหมาะสมกับโลกเพียงใด 2. ครู อธิ บายแสดงความคิดเห็ นถึ งฉายาของโลกว่าเป็ น ดาวเคราะห์สีน้ าเงิ น โดยใช้ภาพ โลกประกอบการอธิ บาย ( แนวตอบ โลกเราปกคลุมห่ อหุ้ มด้ วยบรรยากาศ แสงที่ ส่องเข้ าสู่ โลก แสงสี นาเงินจะกระเจิ งได้ ดีในบรรยากาศของโลก จึ งทาให้ โลกมองเห็นเป็ นสี นาเงิน ประกอบกับ ้ ้ พืนที่ โลก 3 ใน 4 ส่ วนเป็ นพืนมหาสมุทร ซึ่ งหากมองดูโลกจากบนท้ องฟ้ าหรื อนอกอวกาศจะเห็น ้ ้ โลกเป็ นสี นาเงิน) ้ 2.2 ขั้นสารวจและค้ นหา 1. นัก เรี ย นช่ ว ยกัน ยกตัว อย่า ง ปรากฏการณ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น บนโลก สาเหตุ ข องการเกิ ด ปรากฏการณ์ น้ น และร่ วมกันอภิปรายสรุ ปว่าเกิดจากการที่โลกหมุนรอบตัวเองและโคจรไปรอบ ั ดวงอาทิตย์ แนวตอบ กลางวันและกลางคืนมีอุณหภูมิแตกต่างกัน ทาให้เกิดปรากฏการณ์ธรรมชาติ เช่น ลม วัฏจักรของน้ า สาหรับเรื่ อง ฤดูกาล ได้แก่ ฤดูร้อน ฤดูฝน ฤดูหนาว เกิดจากโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นตามฤดูกาลเช่นฟ้ าร้อง ฟ้ าแลบ ฟ้ าผ่า เกิดในฤดูฝน ไฟฟ้ าสถิตเกิดในฤดูหนาว 2. นักเรี ยนศึกษาลูกโลกจาลอง ที่มีแกนโลกเอียง 23 ½ องศา และตาแหน่งของประเทศ ต่างๆ บนโลก 3. ครู สุ่มนักเรี ยน 1 คน สาธิตการหมุนของโลกรอบตัวเอง อธิบายการหมุนรอบตัวเองของ โลก โดยจะหมุนทวนเข็มนาฬิกา จากทิศตะวันตกไปทิศตะวันออก หมุน 1 รอบ นาน 23 ชัวโมง ่ 56 นาที หรื อประมาณ 24 ชัวโมง ่
  • 3. 4. ครู ใ ช้ไฟฉายแทนดวงอาทิ ตย์ ส่ งแสงไปยังลู กโลกจาลอง อธิ บ ายการเกิ ดกลางวัน กลางคืน และกาหนดให้ 1 วัน มี 24 ชัวโมง ่ 5. ครู นาครึ่ งทรงกลมสี ดาครอบลูกโลกจาลอง เป็ นส่ วนของด้านมืดของโลก ซึ่ งแทนเวลา กลางคืน อธิ บายเวลาของแต่ละประเทศที่จะเปลี่ ยนไป ด้านมืดที่มีฝาดาครอบจะอยู่ดานหลังเมื่อ ้ ตาแหน่งใดบนโลกเคลื่อนที่เข้าสู่ ดานมืดจะเป็ นเวลากลางคืน เมื่อจะออกจากด้านมืดสู่ ดานสว่าง ้ ้ จะเป็ นตอนใกล้สว่างหรื อใกล้รุ่งเช้า สาธิ ตประกอบการอธิ บายตาแหน่ งที่เป็ นตอนรุ่ งเช้า เที่ยงวัน พลบค่า และเที่ยงคืน ไปสู่ ขอสรุ ปการกาหนดเวลาของท้องถิ่ น กาหนดให้ 1 วันที่โลกหมุนรอบ ้ ตัวเอง 1 รอบมี 24 ชัวโมง่ 6. ครู ใช้ลูกโลกจาลอง เพื่ออธิ บายการกาหนดเวลาของแต่ละประเทศจะไม่ตรงกันและการ ่ กาหนดเวลาของแต่ละประเทศ จะยึดเส้นลองจิจูดที่ 0 องศา ที่ผานหอดูดาวเมืองกรี นิช ประเทศ อังกฤษ เป็ นเวลาสากลของโลก (Greenwich Mean Time) 2.3 ขั้นอธิบายและลงข้ อสรุ ป 1. ครู วางภาพกลุ่มดาวต่างๆ ไว้โดยรอบลูกโลกจาลองที่มีครึ่ งทรงกลมสี ดาครอบลูกโลกซึ่ ง แสดงการเกิ ดกลางวันกลางคืน สาธิ ตการหมุนของโลกจาลอง ประกอบการอธิ บายการมองเห็ น กลุ่มดาว ถ้าใช้ตวเราเป็ นตาแหน่ งอ้างอิง เสมือนหยุดนิ่ ง จะมองเห็ นกลุ่มดาวต่างๆ เคลื่อนที่จาก ั ขอบฟ้ าตะวัน ออกไปขอบฟ้ าตะวัน ตก เราจึ ง เห็ น ดวงดาวต่ า งๆ ขึ้ นทางขอบฟ้ าตะวัน ออก 2. ครู แ ละนัก เรี ย นร่ ว มกัน อภิ ป รายสรุ ป ผลที่ เ กิ ด จากการหมุ น รอบตัว เองของโลก แนวตอบ เกิ ดกลางวัน กลางคืน การกาหนดเวลาของแต่ละท้องถิ่ น และการขึ้น ตก ของดวงดาวแตกต่างกัน 3. นักเรี ยนศึกษาการโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์โดยวางลูกโลกจาลอง 4 ลูก ตาแหน่ ง ต่างๆ ของวันที่ 21 มีนาคม 21 มิถุนายน 21 กันยายนและ 21 ธันวาคม ตามภาพ “การโคจรรอบดวง อาทิตย์ของโลกทาให้เกิดฤดูกาลและกลางวันกลางคืน” ในหนังสื อเรี ยน แกนนาโลกต้องเอียงไป ทางเดียวกัน ขนานกันทุกตาแหน่ง นักเรี ยนหมุนโลกไปรอบตัวเอง และร่ วมอภิปรายการเกิดฤดูกาล ได้ขอสรุ ก 1 ปี มี 365.2422 วัน จึงกาหนดปฏิ ทินได้ตามปี ดาราคติและปี สุ ริยะคติ การเกิ ดฤดูกาล ้ บางประเทศมี 4 ฤดูกาล บางประเทศ มี 3 ฤดูกาล บางท้องที่มีเพียง 2 ฤดูกาล 4. ครู อธิบายการโคจรของดวงจันทร์ รอบโลกที่ใช้เวลา 27.322 วัน ในการหมุนรอบตัวเอง และโคจรรอบโลก จึงเห็นดวงจันทร์เพียงด้านเดียว และจะเห็นดวงจันทร์เต็มดวงทุกๆ 29 ½ วัน 5. ครู และนักเรี ยนร่ วมอภิปรายสรุ ป นักเรี ยนบันทึกสรุ ปผลที่เกิ ดจากการโคจรของโลก รอบดวงอาทิตย์ ที่ทาให้เกิดฤดูกาลปฏิทิน
  • 4. 6. ครู อธิ บายการจัดแบ่งดาวเคราะห์วงในและดาวเคราะห์วงนอก การสังเกตดาวเคราะห์ บนท้องฟ้ า และอธิ บายให้นกเรี ยนเข้าใจว่า ดาวเคราะห์ที่มองเห็นได้ดวยตาเปล่ามี 5 ดวง คือ ดาว ั ้ พุทธ ดาวศุกร์ ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี และดาวเสาร์ ดาวเคราะห์แสงนิ่ ง ดาวฤกษ์แสงกระพริ บ ่ ดาวเคราะห์เคลื่อนที่ไปอยูใกล้เส้นสุ ริยวิถี 2.4 ขั้นขยายความรู้ ครู ให้นักเรี ยนศึกษาความรู ้ เพิ่มเติ ม เรื่ อง ดาวเคราะห์ วงนอกและดาวเคราะห์วงใน จาก ใบความรู ้ และทารายงานเกี่ยวกับดาวเคราะห์ต่างๆ 2.5 ขั้นประเมิน 1. ครู ให้นกเรี ยนแต่ละคนพิจารณาว่าในหัวข้อที่เรี ยนมา และในการปฏิบติกิจกรรมมีจุดใด ั ั ที่ ยง เข้าใจไม่ ชัดเจนหรื อยัง มี ขอสงสัย ถ้า มี ครู ช่วยอธิ บายเพิ่ มเติ ม และทดสอบความเข้า ใจของ ั ้ นักเรี ยนโดยการให้ตอบคาถาม 2. นัก เรี ย นร่ วมกันแสดงความคิ ดเห็ นถึ ง ประโยชน์ ที่ ไ ด้จากการเรี ย นและการปฏิ บ ติ ั กิจกรรมและการนาความรู ้ท่ีได้ไปใช้ประโยชน์ 3. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันประเมินการจัดกิจกรรมกลุ่ม ว่ามีปัญหา อุปสรรคใดและได้มีการ แก้ไขอย่างไร ครู ให้คาชมเชยกลุ่มที่ทางานได้ดี ให้กาลังใจและข้อเสนอแนะแก่กลุ่มที่ควรปรับปรุ ง 3. ขั้นสรุ ป 1. นักเรี ยนอภิปรายผลที่เกิ ดจากการหมุนรอบตัวเองโลก ผลที่เกิดจากการโคจรของโลก รอบดวงอาทิตย์ 2. นักเรี ยนวาดภาพแสดงตาแหน่ งของโลกและดาวเคราะห์ ดวงๆ ในระบบสุ ริยะและ เปลี่ยนกันตรวจสอบความถูกต้อง 3. ครู แนะนานักเรี ยนให้ศึกษาค้นคว้ารายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับโลก และดาวเคราะห์จาก หนังสื อ วารสาร เอกสาร ในห้องสมุด และหรื อทางอินเตอร์เน็ต สื่ อและแหล่ งการเรียนรู้ 1. หนังสื อเรี ยนสาระการเรี ยนรู ้พ้ืนฐาน โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ของสถาบันส่ งเสริ ม การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) 2. เอกสารประกอบการสอน/ใบความรู้ 3. สื่ อสิ่ งพิมพ์และเว็บไซต์ต่างๆ ทางอินเตอร์ เน็ตที่เกี่ยวข้อง
  • 5. การวัดและประเมินผล การวัดผลประเมินผลด้าน วิธีการวัด เครื่ องมือวัด เกณฑ์การผ่าน 1. ด้านความรู ้ความเข้าใจ 1.วัดจากแบบสรุ ปความคิด 1.แบบสรุ ปความคิดรวบ 1. ทาถูกต้องร้อยละ 70 รวบยอด/ใบงาน/กิจกรรม ยอด/ใบงาน/กิจกรรม ขึ้นไป 2. ด้านทักษะกระบวนการ สังเกตจากการปฏิบติกิจกรรม ั แบบสังเกตพฤติกรรมการ ได้คะแนนในระดับ 2 ในชั้นเรี ยน ทางาน ขึ้นไป 3. ด้านคุณลักษณะที่พึง การสังเกตพฤติกรรมความ แบบสังเกตพฤติกรรมความ ได้คะแนนในระดับ 2 ประสงค์ สนใจ และตั้งใจเรี ยน สนใจและตั้งใจเรี ยน ขึ้นไป กิจกรรมเสนอแนะ ให้ นัก เรี ย นท าบทปฏิ บ ัติ ก าร เรื่ อ ง โบราณดาราศาสตร์ แ ละธรณี วิ ท ยาจากปราสาท ั ในจังหวัดสุ รินทร์ เพื่อเรี ยนรู ้เรื่ องดาราศาสตร์ กบภูมิปัญญาท้องถิ่น ความคิดเห็นของผู้บังคับบัญชา ความเห็นหัวหน้ากลุ่มสาระ ความเห็นหัวหน้า ความเห็นรองผูอานวยการ ้ การเรี ยนรู้วทยาศาสตร์ ิ กลุ่มบริ หารวิชาการ กลุ่มบริ หารวิชาการ ................................................... ................................................... ................................................... ................................................... ................................................... ................................................... ................................................... ................................................... ................................................... ลงชื่อ....................................... ลงชื่อ....................................... ลงชื่อ....................................... (นางจิรารัตน์ เชื่อมกระโทก) (นางเพิมศิริ งามยิง) ่ ่ (นายประเสริ ฐ สันทอง) ความเห็นของผู้บริ หารโรงเรี ยน ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ลงชื่อ.......................................................... ( นายทันใจ ชูทรงเดช ) ผูอานวยการโรงเรี ยนนารายณ์คาผงวิทยา ้ .................../....................../.......................
  • 6. แบบทดสอบหลังเรี ยน เรื่อง ระบบสุ ริยะ 1. สั ตว์ และพืชบนโลกเจริ ญเติบโตและคงชี วตอยู่ได้ เพราะอาศัยพลังงานจากแสงอาทิตย์ โดยผ่าน ิ กระบวนการเปลียนแปลงในข้ อใด ่ ก พลังงานแสงเป็ นพลังงานเคมี ค พลังงานความร้อนเป็ นพลังงานกล ข พลังงานแสงเป็ นพลังงานไฟฟ้ า ง พลังงานความร้อนเป็ นพลังงานเคมี 2. ข้ อใดต่ อไปนีกล่าว ผิด ้ ก ดาวเคราะห์เคลื่อนที่ไปในท้องฟ้ าเมื่อเทียบกับดาวฤกษ์ ่ ข คนบนโลกมีโอกาสที่จะมองเห็นดาวเคราะห์วงใน อยูกลางท้องฟ้ าได้ ่ ่ ค ดาวเคราะห์ท่ีอยูใกล้ดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิสูง ส่ วนที่อยูไกลดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิต่า ง แสงสว่างจากดาวเคราะห์เกิดจากแสงสะท้อนจากดวงอาทิตย์ 3. ข้ อใด ไม่ ถูกต้ อง ก พลังงานที่ได้รับจากดวงอาทิตย์มี 2 ประเภทคือ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าและอนุภาคมีประจุ ข ทั้งคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าและอนุภาคมีประจุ ใช้เวลาเดินทางถึงบรรยากาศโลกพร้อมกัน ค รังสี อลตราไวโอเลตจะถูกดูดกลืนในบรรยากาศเบื้องบนเป็ นส่ วนใหญ่ ั ง อนุภาคมีประจุจะถูกกั้นด้วยสนามแม่เหล็กโลก ทาให้เข้าสู่ ผวโลกได้นอย ิ ้ 4. ข้ อใดต่ อไปนีที่ ไม่ใช่ สมบัติของรังสี อลตราไวโอเลต ้ ั ก ให้แสงเรื องเมื่อกระทบกับสารบางชนิด ข ให้พลังงานสู งจนสามารถฆ่าเชื้อโรคในอากาศได้ ค สามารถสร้างวิตามินอีจากเนื้อเยื่อใต้ผวหนังบางชนิด ิ ง ทาให้ออกซิ เจนสลายตัวและรวมตัวเป็ นโอโซนในชั้นสตราโตสเฟี ยร์ 5. ดวงอาทิตย์ ประกอบด้ วยแก๊ สชนิดใดมากทีสุด ่ ก ฮีเลียม ข คาร์บอน ค ยูเรเนียม ง ไฮโดรเจน 6. ข้ อสรุ ปเกี่ยวกับพลังงานจากดวงอาทิตย์ ทมีต่อโลก ข้ อใดถูกต้ อง ่ี 1. ปรากฏการณ์เรื อนกระจกเป็ นปรากฏการณ์ที่โลกไม่สามารถส่ งพลังงานความร้อนกลับ ออกไปนอกโลกได้ตามปกติ 2. รังสี อินฟราเรดจากดวงอาทิตย์เกือบทั้งหมดถูกสะท้อนออกไปจากบรรยากาศของโลก 3. ที่บริ เวณศูนย์สูตร พื้นดินและพื้นน้ าต่างได้รับพลังงานความร้อนต่อหน่วยพื้นที่จาก แสงอาทิตย์ในปริ มาณเท่ากัน 4. น้ าในมหาสมุทรเมื่ออุณหภูมิลดลงจะลอยตัวสู งขึ้นเบื้องบน เกิดการไหลของน้ าจากที่ที่ อุณหภูมิสูงกว่าไหลมาแทนที่ ก 1 และ 2 ข 1 และ 3 ค 2 และ 3 ง 2 และ 4
  • 7. 7. ลมสุ ริยะทีเ่ กิดจากการระเบิดของกลุ่มแก๊ สทีจุดบนดวงอาทิตย์ ได้ ปลดปล่ อยสิ่ งทีมีผลต่ อระบบ ่ ่ โทรคมนาคมของโลก สิ่ งนั้นคืออะไร ก รังสี แกมมา ข สนามแม่เหล็ก ค อนุภาคโปรตอน ง รังสี อลตราไวโอเลต ั 8. จงพิจารณาข้ อความต่ อไปนี้ 1. ลมสุ ริยะ 3. แสงจากดวงอาทิตย์ 2. สนามแม่เหล็ก 4. รังสี อลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย์ ั ข้ อใดเกียวข้ องกับปรากฏการณ์แสงเหนือ - แสงใต้ ่ ก 1 และ 2 ข 2 และ 3 ค 3 และ 4 ง 4 และ 1 9. เพราะเหตุใดในรอบปี หนึ่งๆ จึงเกิดสุ ริยปราคามากกว่ าจัทรุ ปราคา ุ ก วงโคจรของโลกกว้างกว่าวงโคจรของดวงจันทร์ ่ ข ตาแหน่งที่โลกจะอยูหน้าและบังดวงจันทร์ มีมากกว่า ่ ค ตาแหน่งที่ดวงจันทร์ จะอยูหน้าและบังโลกมีมากกว่า ง ระนาบวงโคจรของดวงจันทร์ ส่วนใหญ่อยูบนระนาบวงโคจรของโลก ่ 10. การเกิดอุปราคามีความสั มพันธ์ กบวิถีของดวงจันทร์ ตามข้ อใด ั ก สุ ริยปราคาเกิดตอนกลางวันของวันเดือนดับ ุ ข จันทรุ ปราคาเกิดตอนกลางคืนของวันเดือนดับ ค จันทรุ ปราคาเกิดตอนกลางคืนของวันขึ้น 8 ค่า ง สุ ริยปราคาเกิดตอนกลางวันของวันแรม 8 ค่า ุ 11. ข้ อใดเกียวข้ องกับดาวหางมากทีสุด ่ ่ 1. ดาวตก 2. ดาวเคราะห์ 3. ก้อนอุกกาบาต 4. ลมสุ ริยะ ก 1 และ 2 ข 1 และ 3 ค 2 และ 3 ง 2 และ 4 12. ข้ อใด ไม่ ถูกต้ อง ก ดาวหางเป็ นก้อนแก๊สไฮโดรเจนขนาดใหญ่ที่สะท้อนแสงจากดวงอาทิตย์ ข ลมสุ ริยะผลักดันให้หางของดาวหางชี้ไปในทิศทางที่ตรงข้ามกับดวงอาทิตย์เสมอ ่ ค แก๊สที่อยูภายในดาวหางอาจจะถูกกระตุนให้วาวแสงได้ เมื่อได้รับรังสี จากดวงอาทิตย์ ้ ง นักดาราศาสตร์ สันนิษฐานว่า การสู ญพันธุ์ของไดโนเสาร์ เมื่อ 65 ล้านปี ที่แล้ว อาจมีสาเหตุ มาจากดาวหางวิงมาชนโลก ่ --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง ระบบสุ ริยะ 1) ข. 2) ข. 3) ข. 4) ค. 5) ง. 6) ข. 7) ข. 8) ก. 9) ค. 10) ก. 11) ข. 12) ก. ******************************************************************************