SlideShare a Scribd company logo
1 of 42
Download to read offline
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำาหรับโรงเรียนปลายทาง
54
๑. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกันและกัน
ในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหาวิเคราะห์ สรุปและใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศ
อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด
ป. ๑/๑ แยกแยะสิ่งต่างๆ รอบตัวที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึ้น
ป. ๑/๒ ระบุความสัมพันธ์ของตำาแหน่ง ระยะ ทิศ ของสิ่งต่างๆ รอบตัว
ป. ๑/๓ ระบุทิศหลักและที่ตั้งของสิ่งต่างๆ
ป. ๑/๔ ใช้แผนผังง่ายๆ ในการแสดงตำาแหน่งของสิ่งต่างๆ ในห้องเรียน
ป. ๑/๕ สังเกตและบอกการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศในรอบวัน
มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์
วัฒนธรรม มีจิตสำานึก และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ตัวชี้วัด
ป. ๑/๑ บอกสิ่งต่างๆ ที่เกิดตามธรรมชาติที่ส่งผลต่อความเป็นอยู่ของมนุษย์
ป. ๑/๒ สังเกตและเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมที่อยู่รอบตัว
ป. ๑/๓ มีส่วนร่วมในการจัดระเบียบสิ่งแวดล้อมที่บ้านและชั้นเรียน
๒. จุดประสงค์การเรียนรู้
๑. นักเรียนบอกตำาแหน่งที่ตั้งลักษณะและองค์ประกอบของโรงเรียน และแยกแยะสิ่งต่างๆ ได้
๒. นักเรียนสามารถบอกทิศแผนผังของโรงเรียน และสามารถบอกทิศ สังเกตจดจำาสิ่งรอบตัวของโรงเรียนได้
๓. เห็นประโยชน์ในเรื่องความรู้เกี่ยวกับแผนผังต่างๆ ใช้แผนผังง่ายๆ บอกที่ตั้งห้องเรียนได้
๔. นักเรียนทำางานร่วมกันตามกระบวนการกลุ่มได้
๕. นักเรียนช่วยกันรักษาสิ่งแวดล้อม ทั้งที่บ้านและโรงเรียนได้
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีดีด้วยพระบารมีฯ
เรื่อง สิ่งแวดล้อมโรงเรียนของเรา ระยะเวลาในการสอน ๓ ชั่วโมงป.๑-๓
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒
55
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง
ฝึกสมาธิก่อนเรียน ๑ - ๒ นาที
	๑.	 นักเรียนร่วมกันร้องเพลง “โรงเรียนของเราน่าอยู่” และ “เพลงประจำ�
โรงเรียน” อภิปรายเกี่ยวกับความหมายของเนื้อเพลง
	๒.	 นักเรียนเดินชมโรงเรียน สร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะ รูปร่าง
ส่วนใดใช้เป็นประโยชน์ใช้สอยอะไรบ้าง ฝึกวิธีการวัดพื้นที่
		หมายเหตุ	 ควรเตรียมข้อมูลตามผังความคิดโดยให้เด็ก/ครูเตรียมมาก่อน
	 เรียน
	๓.	 แบ่งนักเรียนเป็น ๔ กลุ่ม สำ�รวจสถานที่ต่างๆ ของโรงเรียน และบันทึก
ลงในใบงานที่ ๑
		กลุ่มที่ ๑	 ลักษณะที่ตั้งของโรงเรียน (ทิศ อาณาเขต บริเวณ)
		กลุ่มที่ ๒	อาคารที่ตั้งบนพื้นที่ของโรงเรียน
		กลุ่มที่ ๓	จำ�นวนห้องเรียนและประโยชน์ใช้สอย
		กลุ่มที่ ๔	สิ่งแวดล้อมและพื้นที่ใช้สอยบริเวณรอบอาคารเรียน
	๔.	 กลุ่มต่างๆ รายงานผลการสำ�รวจตามที่ใบงานกำ�หนด มีครูช่วยเสริม
	๕.	 ครูแสดงแผนผังของโรงเรียนเพื่อเสริมความรู้ความเข้าใจและฝึกการสังเกต
ลักษณะรูปร่างเปรียบกับรูปทรงเรขาคณิต เช่นอาคารเรียนมีลักษณะรูปร่าง
เป็นทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้าส ี่เหลี่ยมจัตุรัส จดจำ�สิ่งที่อยู่โดยรอบอาคารเรียน
	๖.	 นักเรียนร่วมกันบอกชื่ออาคารที่ตั้งภายในพื้นที่ของโรงเรียนพร้อมทั้งห้อง
ที่ใช้ประโยชน์ที่สำ�คัญ ห้องเรียน ห้องสมุด ห้องพยาบาล ฯลฯ โดยใช้
กระดาษสีเป็นสัญลักษณ์แสดงประโยชน์ใช้สอย
		 เช่น	 ห้องเรียน	 ใช้กระดาษสีเหลือง
			 ห้องพยาบาล	 ใช้กระดาษสีเขียว
กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
แผนภูมิเพลง
บริเวณโรงเรียน
สำ�รวจสิ่งแวดล้อมบริเวณ
โรงเรียน
ใบงาน
แผนผังโรงเรียน
กระดาษแผ่นใหญ่
องค์ประกอบ
โรงเรียนของเรา
ที่ตั้ง
แผนผัง สถานที่
สำ�คัญๆ
๓.	สาระสำ�คัญ
	 ๑.	สิ่งแวดล้อมรอบตัวเรามีความสำ�คัญอย่างไร
	 ๒.	ตำ�แหน่ง ระยะ ทิศ ของสิ่งต่างๆ รอบตัวมีความสัมพันธ์อย่างไร
	 ๓.	แผนผังของห้องเรียน
	 ๔.	มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
	 ๕.	การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม
๔.	กระบวนการจัดการเรียนรู้
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
56
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
			 ห้องพลศึกษา	 ใช้กระดาษสีม่วง
			 ห้องสมุด	 ใช้กระดาษสีฟ้า
			 ห้องอาหาร	 ใช้กระดาษสีชมพู
		หรือ ครูจะให้นักเรียนออกมาเขียนชื่อกำ�กับลงในผังหรือให้นักเรียนออก
มาระบายสีห้องบนแผนผังก็ย่อมทำ�ได้
	๗.	 นักเรียนรู้จักทิศต่างๆ วิธีสังเกตทิศสำ�คัญจากธรรมชาติ เช่น พระอาทิตย์
จะขึ้นทางทิศตะวันออก ฝึกให้ศึกษาค้นคว้าทิศตะวันตก ทิศเหนือ ทิศใต้
	๘.	 ครูแสดงแผนผังหุ่นจำ�ลองของโรงเรียน ให้นักเรียนร่วมกันพิจารณาเขต
ที่ตั้งของโรงเรียนตามหัวข้อ
		 โรงเรียนหันหน้าไปสู่ทิศตะวันออก........................................................................................
		 มีอาณาเขตติดต่อกับสิ่งก่อสร้าง..................................................................................................
		 ด้านหลังของโรงเรียนเป็นทิศ........................................................................................................
		 มีอาณาเขตติดต่อกับ.............................................................................................................................
		 ทิศเหนือของโรงเรียนมีอาณาเขตติดต่อกับ.........................................................................
		 ทิศใต้ของโรงเรียนมีอาณาเขตติดต่อกับ................................................................................
	๙.	 ครูนำ�ภาพถ่ายสถานที่ต่างๆ ของโรงเรียนให้นักเรียนทายสถานที่ว่าเป็น
อะไร ส่วนไหนของโรงเรียน ให้นักเรียนบรรยายแนะนำ�ทางไปสถานที่
อาคารและส่วนต่างๆ ตามภาพ
	๑๐.	 นักเรียนร่วมกันจัดทำ�ผัง หุ่นจำ�ลองอาคารโรงเรียนของตน
	๑๑.	 นักเรียนร่วมกันสรุปประโยชน์ของความรู้เรื่องแผนผังและนำ�ไปใช้ในชีวิต
ประจำ�วัน และทำ�แผนผังความคิด (Mind Mapping) เรื่อง ประโยชน์ ของ
แผนผัง แผนที่ใช้ในชีวิตประจำ�วัน
	๑๒.	นักเรียนร่วมกันจัดทำ�หุ่นจำ�ลอง แผนผังโรงเรียน (ใช้กระบะทรายและ
ดินนํ้ามัน เศษวัสดุท้องถิ่นที่เหลือใช้)
	๑๓.	 นักเรียนช่วยกันคิดกิจกรรม รักษาสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน คิดคำ�ขวัญ
และช่วยกันเขียนข้อความเพื่อประชาสัมพันธ์
แผนภูมิ ทิศ
อุปกรณ์บอกทิศ
หุ่นจำ�ลอง โรงเรียน
แผนภูมิ
ภาพถ่าย
อุปกรณ์จัดทำ�หุ่นจำ�ลอง
แผนภูมิ “ผังความคิด”
กระบะทราย
กระดาษเขียนคำ�ขวัญ
ข้อทดสอบและสมุดบันทึก
พฤติกรรมนักเรียนรายบุคคล
๕.	สื่อและแหล่งการเรียนรู้
	 ๑.	ภาพถ่ายสถานที่ อาคาร กิจกรรมต่างๆ ของโรงเรียน
	 ๒.	แผนผังแสดงที่ตั้ง ทิศ ขนาด อาคารเรียน
	 ๓.	หุ่นจำ�ลองโรงเรียน
โรงเรียนให้อะไร
เราจะให้อะไร
กับโรงเรียน
สถานที่
อาคารเรียน
อาคาร
กิจกรรมอื่นๆ
แผนผัง หุ่นจำ�ลอง
ประวัติโรงเรียน
สีประจำ�โรงเรียน
เพลงประจำ�
โรงเรียน
ต้นไม้ประจำ�
โรงเรียน
โรงเรียนของเรา
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒
57
	 ๔.	หนังสือค้นคว้า
	 ๕.	เนื้อเพลงประจำ�โรงเรียน โรงเรียนของเรา
	 ๖.	ใบงาน
๖.	การวัดผลประเมินผล
	 ๑.	สังเกตพฤติกรรมจากการร่วมกิจกรรมในกลุ่ม ความสนใจ ความกระตือรือร้น
	 ๒.	ทดสอบความรู้จากการรายงาน ทำ�แบบทดสอบหนังสือเรียน (ใบงาน)
๗.	บันทึกผลหลังการสอน
..............................................................................................................................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................................................................................................................
๘.	ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะผู้บริหาร
..............................................................................................................................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................................................................................................................
๙.	ภาคผนวก
..............................................................................................................................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................................................................................................................
w w w w w w w w
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำาหรับโรงเรียนปลายทาง
58
๑. สาระการเรียนรู้
๑. ความหมายของคำาว่า วานนี้ พรุ่งนี้ ความหมายของคำาว่า อดีต ปัจจุบัน อนาคต เข้าใจการแบ่งช่วงเวลา
วัน เดือน ปี
๒. ความหมายของข้อมูลและแหล่งข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับโรงเรียน
– ลักษณะของข้อมูลแต่ละประเภท เช่น ภาพถ่าย เอกสาร เครื่องมือ เครื่องใช้ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ
โรงเรียน
– รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับโรงเรียน รู้วิธีการจัดกลุ่มข้อมูลอย่างเป็นระบบ อย่างง่ายๆ
๒. จุดประสงค์การเรียนรู้
๑. นักเรียนบอกหรืออธิบายความหมายได้ สามารถแบ่งเวลา วานนี้ วันนี้ พรุ่งนี้ วัน เดือน ปี ตามแบบสากล
และแบบไทย
๒. รู้จักคุณค่าของเวลาที่สัมพันธ์กับการดำาเนินชีวิต สร้างปฏิทินเพื่อวางแผนการทำางาน
๓. รู้ความหมาย สืบค้นข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับโรงเรียน โดยแยกประเภทของข้อมูลว่าเป็นเอกสาร รูปภาพ
คำาบอกเล่า ฯลฯ
๔. รู้และเล่าประวัติความเป็นมาของโรงเรียนที่ตนเองศึกษาอยู่ จากข้อมูลที่สืบค้นหามาได้
๓. กระบวนการจัดการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีดีด้วยพระบารมีฯ
เรื่อง สิ่งแวดล้อมโรงเรียนของเรา ระยะเวลาในการสอน ๓ ชั่วโมง
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
๑. นักเรียนนำาปฏิทินแบบและขนาดต่างๆ ซึ่งได้มาจากราชการ ธนาคาร
ห้างร้าน จัดทำาขึ้นโดยของชำาร่วยปีใหม่
สนทนาเกี่ยวกับแบบ รูปร่าง ขนาด การแจงรายละเอียดของ
ปฏิทินนั้นๆ เช่น บางฉบับจะบอก วันขึ้น แรม วันหยุดราชการ เดือน
สากล-ไทย ฯลฯ
๒. นักเรียนช่วยสร้างแบบฟอร์มปฏิทินประจำาเดือนที่นักเรียนกำาลังเรียน
เนื้อหาของเวลาซักถามว่า วันนี้เป็นวันอะไร วันที่เท่าไร ทดลองให้
ปฏิทินต่างๆ
(แบบไทยและสากล)
– หนังสือ : มนุษย์กับ
สิ่งแวดล้อม
วิเคราะห์
– มนุษย์สัมพันธ์กับ
ป.๑-๓
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒
59
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
นักเรียนเติมตัวเลขวันที่ ทวนขึ้น และใช้คำ�ว่า “วานนี้” และเติมตัวเลข
วันที่หลังวันนี้ใช้คำ�ว่า “พรุ่งนี้”
			 ทดสอบจากปฏิทิน โดยสมมติวันใดวันหนึ่งเป็นวันนี้และนักเรียน
ตอบวันพรุ่งนี้ วันมะรืนนี้ วันนี้ วานนี้ พรุ่งนี้ และโยงไปถึง อดีต
ปัจจุบัน อนาคต
	๓.	 นักเรียนออกมาเล่าเรื่องของตนเองจากอดีต จนถึงปัจจุบัน และความหวัง
ในอนาคตโดยมีครูช่วยซักถาม
			 ครูสรุปความหมาย ความรู้ความเข้าใจในการใช้เวลา
	๔.	 เล่นเกมโดยนำ�ปฏิทิน พ.ศ. ต่างๆ มาแสดง คือปี ๒๕๔๔ ปี ๒๕๔๕
และทายปัญหา เช่น วันที่ ๕ เดือนพฤศจิกายน ปี ๒๕๔๔ เป็นวันอะไร
และวันที่ ๕ เดือนพฤศจิกายน ปี ๒๕๔๕ เป็นวันอะไร และถ้าวันที่ ๕
เดือนพฤศจิกายน ปี ๒๕๔๖ จะเป็นวันอะไร แบ่งกลุ่มนักเรียนค้นหา
ใครค้นได้ครูให้รางวัล
	๕.	 นักเรียนร่วมกันศึกษาและอ่านปฏิทินที่บอกข้างขึ้นข้างแรม (แบบไทย)
ในปฏิทินสากล แสดงตารางเปรียบเทียบการเรียกชื่อเดือนแบบไทยกับ
แบบสากล
	๖.	 นักเรียนสนทนาประโยชน์การเรียนรู้ช่วงเวลา วันนี้ วานนี้ พรุ่งนี้
เดือนก่อน เดือนนี้ เดือนหน้า ปีนี้ ปีก่อน ปีหน้า อดีต อนาคต ปัจจุบัน
เพื่อนำ�มาใช้ในการศึกษาประวัติศาสตร์และวางแผนงานกิจกรรมของ
ตนเอง
	๗.	 นักเรียนร่วมกันจัดทำ�ปฏิทินรายสัปดาห์ จัดป้ายนิเทศเรื่อง วันแม่ เพื่อ
เป็นตัวอย่าง
	๘.	 แบ่งกลุ่มนักเรียนจัดทำ�ปฏิทินรายสัปดาห์ตามใบงานที่กำ�หนด
	๙.	 กลุ่มรายงานการจัดทำ�ปฏิทินหน้าชั้นเรียน ร่วม สรุป
	๑๐.	 นักเรียนเล่นเกมรู้จักเพื่อน โดยใช้วิธีให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลจากตัวเพื่อน
ด้วยการสัมภาษณ์ประวัติเพื่อนให้มากที่สุดเท่าที่จะทำ�ได้และบันทึกไว้
ตามกำ�หนดเวลา
			 ตัวอย่าง เพื่อนที่สัมภาษณ์ชื่ออะไร ชื่อเล่นว่าอะไร เกิดที่ไหน
เกิดเมื่อไร วันไหน ชอบกินอะไร รสอย่างไร ชอบสีอะไร มาโรงเรียนด้วย
วิธีใด ฯลฯ
	 		 เมื่อถึงเวลากำ�หนด ครูถามทดสอบว่าใครจำ�ข้อมูลของเพื่อนได้
มากกว่า เช่น ถามว่า “ใครเอ่ย เกิดวันจันทร์?” ถ้าแดงบอกชื่อเพื่อนที่
สัมภาษณ์มา ได้ถูกต้องและมากที่สุด ถือว่าเป็นผู้ชนะ ค้นหาข้อมูล
ได้มากและแม่นยำ�
สิ่งแวดล้อมอย่างไร
–	 ประโยชน์ที่มนุษย์ได้รับ
จากสิ่งแวดล้อม
–	 อาหาร
ที่อยู่อาศัย
เครื่องนุ่งห่ม
ยารักษาโรค
ปฏิทิน พ.ศ. ต่างๆ
ปฏิทินแบบไทย มีข้างขึ้น แรม
–	 กระดาษทำ�ปฏิทิน
–	 ป้ายนิเทศ
แผนภูมิวิธีเล่นเกม
–	 ทรัพยากรจากสิ่งแวดล้อม
เช่นนํ้ามันแร่ธาตุโลหะต่างๆ
มาพัฒนาประเทศ อำ�นวย
ความสะดวก
–	 มนุษย์ใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
อย่างฟุ่มเฟือยไม่คุ้มค่า
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
60

กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
	๑๑.	 นักเรียนสนทนาเกี่ยวกับความหมาย ความสำ�คัญ และวิธีการสืบค้นหา
ข้อมูลทางประวัติศาสตร์ ยกตัวอย่างประกอบความรู้ ความเข้าใจ และ
ร่วมกันจัดทำ�ผังความคิด
ความสำ�คัญข้อมูล
อนุรักษ์
ประเพณี
รูปภาพ
คำ�บอกเล่า
เทคโนโลยี
เอกสาร
วัตถุ
แหล่งข้อมูล
บุคคล
ห้องสมุด
พิพิธภัณฑ์
สำ�รวจ
สังเกต



	๑๒.	แบ่งนักเรียนเป็น ๔ กลุ่ม ให้จัดหาข้อมูลโรงเรียนของเราในอดีตจนถึง
ปัจจุบัน การจัดอาคารเรียน บริเวณโรงเรียนเพื่อรักษาสิ่งแวดล้อม
		 ใช้วิธีการแสวงหาข้อมูลด้วยการ
		 ๑.	 สัมภาษณ์และคำ�บอกเล่าจากบุคคล
		 ๒.	สำ�รวจศึกษาข้อมูลที่เป็นวัตถุ เอกสาร
		 ๓.	 สังเกตการแสดงออกด้านประเพณีวัฒนธรรมต่างๆ
		 ๔.	 สังเกตด้านสิ่งแวดล้อม บริเวณอาคารสถานที่และการอนุรักษ์
ทำ�ให้รู้เรื่องราวในอดีต
สัมภาษณ์
หลักฐาน
ข้อมูลทาง
ประวัติศาสตร์
วิธีการแสวงหา
ข้อมูล
ประเภทข้อมูล
คอมพิวเตอร์
อินเทอร์เน็ต
โบราณสถาน
โบราณวัตถุ
–	 การมีทรัพยากรธรรมชาติ
มากมาย ทำ�ให้มนุษย์เริ่ม
นำ�เทคโนโลยีมาช่วยเพื่อจะได้
นำ�ทรัพยากรมาใช้ประโยชน์
มากที่สุด
–	 ข้อมูลต่างๆ จากห้องสมุด
–	 จากคอมพิวเตอร์
–	 จากวีดิทัศน์
–	 ภาพ
–	 สมุด
ปัจจัยที่ทำ�ให้สิ่งแวดล้อมเสื่อม
โทรม

ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒
61
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
		กลุ่มที่ ๑	 หาข้อมูลประวัติความเป็นมาของโรงเรียนของเรา
		กลุ่มที่ ๒	 เครื่องหมาย ธงประจำ�โรงเรียน *คำ�ขวัญหรือคติพจน์ประจำ�
	 โรงเรียน เพลงประจำ�โรงเรียน
		กลุ่มที่ ๓	 กิจกรรมประเพณีวัฒนธรรมวันสำ�คัญของโรงเรียน และ
	 การอนุรักษ์ แต่ละกลุ่มจะต้องบอกวิธีการหาข้อมูลกำ�กับด้วย
		กลุ่มที่ ๔	 กิจกรรมเกี่ยวกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และใช้ทรัพยากร
	 ให้คุ้มค่า
	๑๓.	 กลุ่มรายงานการศึกษาค้นคว้าครูให้ความช่วยเหลือซักถามเพื่อให้รายงาน
สมบูรณ์
	๑๔.	 นักเรียนร่วมร้องเพลงประจำ�โรงเรียน
	๑๕.	นักเรียนร่วมกันจัดทำ�แผนภูมินิเทศ แสดงหลักฐานข้อมูลประวัติศาสตร์
เรื่อง “โรงเรียนของเรา” และการอนุรักษ์ประเพณีของโรงเรียน
	๑๖.	 นักเรียนทำ�แบบทดสอบหลังบทเรียน
๑.	การเพิ่มจำ�นวนประชากร
๒.	ความก้าวหน้าทางวิทยา-
ศาสตร์ และเทคโนโลยี
๓.	การขยายตัวทางเศรษฐกิจ
อุตสาหกรรม
๔.	พฤติกรรมของมนุษย์
–	 แผนภูมิ
ข้อทดสอบ
สมุดบันทึกพฤติกรรม
นักเรียนรายบุคคล
๔.	สื่อและแหล่งการเรียนรู้
	 ๑.	ภาพประวัติโรงเรียน กิจกรรม ฯลฯ
	 ๒.	เพลงประจำ�โรงเรียน
	 ๓.	แผนภูมิ ผังความคิด
	 ๔.	ปฏิทินแบบไทย สากล
	 ๕.	แผ่นตารางการจัดทำ�ปฏิทินรายสัปดาห์เพื่อวางแผนงาน
	 ๖.	ตารางการเรียกเดือนแบบไทยและแบบสากล
	 ๗.	วิทยากร อาจจะเป็นครูผู้มีความรู้เกี่ยวกับประวัติของโรงเรียน หรือครูอาวุโสที่เชิญมา
	 ๘.	แบบทดสอบหลังบทเรียน
๕.	การวัดผลประเมินผล
	 ๑.	สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก การเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม
	 ๒.	ทดสอบความรู้ความเข้าใจจากการซักถาม การรายงาน
	 ๓.	ตรวจแบบทดสอบหลังบทเรียน
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
62
๖.	บันทึกผลหลังการสอน
	 ๑.	 ดูจากความรู้ ความเข้าใจในเรื่องที่เรียนรู้
	 ๒.		การแสดงความคิดเห็น การพูด
	 ๓.		พฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลง รายคน
๗.	ภาคผนวก
ประวัติโรงเรียนวังไกลกังวล
w w w w w w w w
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ร. ๘
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบัน
โรงเรียนวังไกลกังวล
ฝ่ายประถม และมัธยม
ประธานคณะกรรมการบริหาร
คุณขวัญแก้ว วัชโรทัย
คณะทำ�งาน
โรงเรียนวังไกลกังวล
ปฐมวัยจนจบอุดมศึกษา ความเป็นมา
คณะกรรมการบริหาร
โรงเรียนวังไกลกังวล
สถานที่ตั้ง







โรงเรียน
วังไกลกังวล
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒
63
ภาคผนวก
ภายในโรงเรียนควรคำานึงถึงสิ่งแวดล้อมและการเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างสมดุล
ทรัพยากรธรรมชาติที่สำาคัญ คือ
๑. อากาศ มีอยู่รอบตัว แต่ช่วยให้อากาศดีได้ด้วยการปลูกต้นไม้ ไม้ใหญ่กรองอากาศ สร้างออกซิเจน
ลดการใช้เครื่องปรับอากาศลง
๒. นำ้า เช่นเดียวกับอากาศ นำ้ามีการหมุนเวียนเป็นวัฏจักร จึงควรมีที่เก็บกักนำ้าไว้ใช้ และนำานำ้าที่ใช้แล้วมา
หมุนเวียนใช้รดนำ้าต้นไม้ ควรใช้นำ้าอย่างประหยัด เพราะนำ้าอาจขาดแคลนได้ โดยเฉพาะในเมืองที่เป็นแหล่งท่องเที่ยว
ถ้าไม่มีมาตรการที่เข้มงวดปล่อยให้ใช้นำ้า ทิ้งนำ้ากันอย่างไม่คิดไตร่ตรอง และวางแผนการใช้นำ้าที่ดี
๓. ดิน พื้นที่ผิวโลกประกอบด้วยพื้นนำ้าสามในสี่ส่วน และเป็นดินเพียง ๑ ใน ๔ ส่วน พื้นดินเป็นแหล่ง
ปัจจัยสี่ของมนุษย์ เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด เป็นแหล่งผลิตอาหาร ดังนั้น ภายในบริเวณโรงเรียนจึง
ควรมีส่วนสาธิตการใช้ดินที่ถูกต้องคุ้มค่า มีการทำาปุ๋ยธรรมชาติ ให้ดินฟื้นคืนสภาพเดิม
๔. ปาไม้ เป็นทรัพยากรธรรมชาติชนิดหมุนเวียน เป็นแหล่งอาหาร ยา ปัจจัย ๔ ควรสอนเด็กให้รักและดูแล
ป่าไม้ให้อุดมสมบูรณ์
๕. พลังงาน แหล่งสำาคัญที่สุด คือ ดวงอาทิตย์
w w w w w w w w
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำาหรับโรงเรียนปลายทาง
64
๑. สาระการเรียนรู้
๑. สัญลักษณ์ของโรงเรียนและสิ่งต่างๆ ที่แสดงถึงความเป็นมาของโรงเรียน
๒. ความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน (โดยศึกษาจากประวัติความเป็นมา)
๓. ขนมธรรมเนียมประเพณี ศิลปวัฒนธรรมที่โรงเรียนสร้างสรรค์ขึ้นหรือประวัติมาแต่อดีตถึงปัจจุบัน เช่น
การจัดงานวันคล้ายวันเกิดของโรงเรียน การหล่อเทียนพรรษา การแสดงประเภทต่างๆ
๔. ผลงานที่เป็นภูมิปัญญาของบุคลากรในโรงเรียน การทอผ้า ฯลฯ
๒. จุดประสงค์การเรียนรู้
๑. บอกและอธิบายขนบธรรมเนียมประเพณีของโรงเรียน
๒. เข้าร่วมกิจกรรมช่วยเหลืองานโรงเรียนตามสมควร
๓. มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า
๓. กระบวนการจัดการเรียนรู้
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
ฝึกสมาธิ ๑ - ๒ นาที ก่อนเรียน และสนทนาถึง กฎ กติกา ควรปฏิบัติใน
ห้องเรียน และการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า
๑. นักเรียนร่วมกันร้องเพลงประจำาโรงเรียนครูอธิบายความหมายของเนื้อเพลง
๒. ทบทวนประวัติความเป็นมาของโรงเรียนโดยย่อ
๓. นำาภาพกิจกรรมของโรงเรียน และสนทนาซักถามทายปัญหาภาพ ความ
รู้และประสบการณ์ด้วยคำาถาม ภาพถ่ายเกี่ยวกับกิจกรรมอะไร นักเรียน
รู้จักภาพนี้หรือไม่ ทำาเมื่อไร นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมกับงานของโรงเรียน
อะไรบ้าง
๔. นักเรียนร่วมกันจัดทำาผังความคิด (Mind Mapping) “กิจกรรมที่สำาคัญ
ของโรงเรียน” ที่เคยปฏิบัติตามขนบธรรมเนียมของโรงเรียน
๕. แบ่งนักเรียนเป็น ๕ กลุ่ม ศึกษาค้นคว้าหลักฐานข้อมูลทางประวัติศาสตร์
– แผนภูมิเพลง
– การจัดสภาพสิ่งแวดล้อม
ในโรงเรียนตามโครงการ
พระราชดำาริ เพื่อให้เด็ก
เรียนรู้จากประสบการณ์
ได้ปฏิบัติจริง
แผนภูมิ “ผังความคิด”
ภาพของโรงเรียน
กิจกรรมต่างๆ ส่งเสริม
ทรัพยากรธรรมชาติ
ป.๑-๓
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีดีด้วยพระบารมีฯ
เรื่อง สิ่งแวดล้อมโรงเรียนของเรา ระยะเวลาในการสอน ๓ ชั่วโมง
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒
65
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
(ส๔.๑ข้อ๒)เรื่อง“วันสำ�คัญที่โรงเรียนจัดกิจกรรมตามขนบธรรมเนียม
ประเพณี”
		กลุ่มที่ ๑	 วันเกิดโรงเรียน
		กลุ่มที่ ๒	วันสำ�คัญทางศาสนา
			 –	 วันมาฆบูชา
		กลุ่มที่ ๓	วันสำ�คัญของชาติ
			 –	 วันเฉลิมพระชนมพรรษา (๕ ธ.ค.) วันพ่อแห่งชาติ
		กลุ่มที่ ๔	วันสำ�คัญตามขนบธรรมเนียมประเพณีของชาติ
			 –	 วันขึ้นปีใหม่
		กลุ่มที่ ๕	การอนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณีของโรงเรียน มีการจัดงาน
		 และกิจกรรม
	๖.	 ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งผู้แทนออกมารายงานหน้าชั้นเรียน
	๗.	 เติมเต็มด้วยการจัดกิจกรรมการแสดงบทบาทสมมติวันสำ�คัญต่างๆ
	๘.	 เชิญวิทยากร (ศิษย์เก่า) พูดเรื่องความภาคภูมิใจในการชนะการประกวด
ผลงาน งานประเพณีของโรงเรียน
	๙.	 นักเรียนร่วมจัดนิทรรศการและทำ�บททดสอบหลังบทเรียนรายบุคคล
สิ่งแวดล้อม
–	 โรงเรียนที่ดีควรมีการบริหาร
จัดการเรื่องการอนุรักษ์
สิ่งแวดล้อม สอดคล้องกับ
การเรียนการสอน
–	 การอนุรักษ์ทรัพยากร
ธรรมชาติในโรงเรียน
๑.	การใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ประหยัดที่สุด
๒.	การหมุนเวียนนำ�ทรัพยากร
ที่ใช้แล้วมาใช้ใหม่ เช่น
กระดาษ นํ้า ขยะ ฯลฯ
๓.	บูรณะและฟื้นฟูส่วนที่
เสื่อมโทรม
๔.	การใช้สิ่งอื่นทดแทน
๕.	การหาทรัพยากรธรรมชาติ
เพิ่มเติม
๖.	ลดอันตรายจากสารพิษ
๔.	สื่อและแหล่งการเรียนรู้
	 ๑.	ภาพเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมที่สำ�คัญของโรงเรียน
	 ๒.	วิทยากร เอกสารประวัติความเป็นมา กิจกรรมของโรงเรียน
	 ๓.	อุปกรณ์เพื่อจัดทำ�งานศิลป์ นิทรรศการ เช่น กระดาษวาดเขียนสีเมจิก ภาพกิจกรรมของโรงเรียน
	 ๔.	ใบงาน แบบทดสอบหลังบทเรียน
๕.	การวัดผลประเมินผล
	 ๑.	ด้านความรู้ ซักถาม ทดสอบความรู้จากใบงาน
	 ๒.	สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการทำ�งานกลุ่ม การเอาใจใส่และความตั้งใจการทำ�งาน
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
66
๖.	บันทึกผลหลังการสอน
..............................................................................................................................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................................................................................................................
๗.	ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะผู้บริหาร
..............................................................................................................................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................................................................................................................
๘.	ภาคผนวก เนื้อหา - สาระ ใบงาน และผังมโนทัศน์ หรือผังความคิด
..............................................................................................................................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................................................................................................................
w w w w w w w w
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒
67
๑. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกันและกัน
ในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหาวิเคราะห์ รูปและใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศอย่าง
มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด
ป. ๓/๑ ใช้แผนที่ แผนผัง และภาพถ่ายในการหาข้อมูลทางภูมิศาสตร์ในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ป. ๓/๒ เขียนแผนผังง่ายๆ เพื่อแสดงตำาแหน่งที่ตั้งของสถานที่สำาคัญในบริเวณโรงเรียนและชุมชน
มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์
วัฒนธรรม มีจิตสำานึก และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ตัวชี้วัด
ป. ๓/๑ เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมในชุมชนจากอดีตถึงปัจจุบัน
ป. ๓/๒ ตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมในชุมชน
๒. สาระสำาคัญ
สภาพแวดล้อมในชุมชน การประกอบอาชีพที่เป็นผลมาจากสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ
สาระการเรียนรู้
ความรู้
๑. แผนที่ แผนผัง และภาพถ่าย
๒. สภาพแวดล้อมในชุมชนในอดีตและปัจจุบัน
๓. มลพิษที่เกิดจากการกระทำาของมนุษย์
ป.๑-๓
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีดีด้วยพระบารมีฯ
เรื่อง สิ่งแวดล้อมโรงเรียนของเรา ระยะเวลาในการสอน ๓ ชั่วโมง
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
68
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
ฝึกสมาธิ ๑ - ๒ นาที ก่อนเรียน สนทนาถึงกฎ กติกา ควรปฏิบัติในห้องเรียน
และการใช้ทรัพยากรให้คุ้มค่า
	๑.	 นักเรียนร่วมร้องเพลงประจำ�โรงเรียน และสรุปสาระ (ความหมาย) ของ
เนื้อเพลงเพื่อเกิดความซาบซึ้งและความภาคภูมิใจโรงเรียนของตน
	๒.	 ครูนำ�รางวัล เช่น ถ้วยรางวัล ประกาศนียบัตร โล่ ฯลฯ ซึ่งโรงเรียนได้้รับ
จากการประกวดผลงานหรือหน่วยงานมอบในโอกาสต่างๆ ให้นักเรียน
ได้ดู และร่วมแสดงความคิดเห็นหรือ ครูนำ�นักเรียนเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์
	๓.	 นักเรียนเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์โรงเรียนเพื่อรัับทราบการพัฒนา เปลี่ยนแปลง
โรงเรียน ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง
	๔.	 เชิญวิทยากรให้ความรู้เกี่ยวกับการพััฒนาเปลี่ยนแปลง ปัจจัยที่มีผลต่อ
การพัฒนาการเปลี่ยนแปลงของโรงเรียน (อาจเป็นครูอาวุโส หรือศิษย์เก่า
ฯลฯ)
	๕.	 นักเรียนร่วมจัดทำ�ผังความคิด (Mind Mapping) เรื่อง “ปัจจัยที่มีผลต่อ
การพัฒนาเปลี่ยนแปลงโรงเรียนของเรา” (ดูภาคผนวก) สิ่งแวดล้อมเป็น
ปัจจัยที่ทำ�ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงหรือไม่
สารานุกรมไทยสำ�หรับ
เยาวชนฯ เล่มที่ ๑๙
แผนภูมิเพลง
ถ้วยรางวัล
วิทยากร
กระดาษแผนภูมิ
๓.	สาระการเรียนรู้
	 ๑.	วิธีการทางประวัติศาสตร์อย่างง่ายๆ ที่ใช้ในการศึกษาประวัติความเป็นมาของโรงเรียน การรวบรวมข้อมูล
มานำ�เสนอในลักษณะประวัติของโรงเรียน
	 ๒.	ประวัติความเป็นมาของโรงเรียน สภาพของโรงเรียนในอดีตและปัจจุบัน
	 ๓.	สาเหตุและผลงานของการพัฒนา การก่อตั้ง และการดำ�รงอยู่ของโรงเรียน
	 ๔.	เหตุการณ์สำ�คัญที่สร้างชื่อเสียงให้กับโรงเรียน และสร้างความภาคภูมิใจให้้แก่นักเรียน
	 ๕.	ปัจจัยที่มีผลต่อพัฒนาการเปลี่ยนแปลงของโรงเรียน สภาพแวดล้อมในอดีต - ปัจจุบัน
	 ๖.	สิ่งที่เป็นความภาคภูมิใจของโรงเรียน
	 ๗.	แผนที่ แผนผัง ภาพถ่าย
	 ๘.	มลพิษที่เกิดจากการกระทำ�ของมนุษย์
จุดประสงค์การเรียนรู้
	 ๑.	บอกและอธิบายเหตุผลการเลือกตั้งทำ�เลที่ตั้ง และการพัฒนาโรงเรียน
	 ๒.	บอกสิ่งที่เป็นความภาคภูมิใจของโรงเรียนตนเองได้
	 ๓.	กลุ่มนักเรียนทำ�งานร่วมกัน ตามกระบวนการกลุ่มได้
	 ๔.	มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า
๔.	กระบวนการจัดการเรียนรู้
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒
69
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
	๖.	 แบ่งนักเรียนเป็น ๕ กลุ่ม ศึกษาค้นคว้าและรายงาน โดยใช้กระบวนการ
ทางประวัติศาสตร์ (อธิบายทบทวนกระบวนการ) ดังนี้
		กลุ่มที่ ๑	 โรงเรียนของเราจากอดีต-ปัจจุบัน
		กลุ่มที่ ๒	ศึกษาสภาพแวดล้อมบริเวณโรงเรียนและโดยรอบ จากอดีต -
ปัจจุบัน
		กลุ่มที่ ๓	สิ่งที่ทำ�ให้เราได้รับความภาคภูมิใจในโรงเรียนของเรา
		กลุ่มที่ ๔	ทำ�อย่างไรจะให้โรงเรียนของเราเจริญรุ่งเรืองหรือการมีส่วนร่วม
ในโรงเรียน
		กลุ่มที่ ๕	การอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีที่ดีงามในโรงเรียน และมลพิษ
ที่เกิดจากการกระทำ�ของมนุษย์
	๗.	 นักเรียนส่งตัวแทนกลุ่มรายงานการศึกษาค้นคว้า (ครูเติมเต็็มเพื่อให้เกิด
ความรู้้ ความเข้าใจ และความซาบซึ้ง คล้้อยตามที่จะเป็นแนวทางปฏิบััติ
ต่อไป)
		 พร้อมทั้งเขียนแผนผัง และแผนที่ประกอบ
	๘.	 นักเรียนจัดให้มีการแสดงบทบาทสมมติตามหัวข้อเรื่อง
		 ก.	“เด็กดีมีมารยาทอย่างไร”
		 ข.	มลพิษในโรงเรียนและโดยรอบเกิดขึ้นได้อย่างไร
	๙.	 นักเรียนสรุปเนื้อหาสาระย่อและร่วมกันจัดเพิ่มเติม ผังความคิด (Mind
Mapping) ให้สมบูรณ์
	๑๐.	 แบ่งกลุ่มนักเรียนประกวดภาพวาดให้หัวข้อเรื่อง “กิจกรรมดีเด่นของ
โรงเรียนที่ทำ�ให้ฉันภูมิใจ” พร้อมการบรรยาย
	๑๑.	 กลุ่มนักเรียนจัดกิจกรรม “มารยาทไทยควรอนุรักษ์” และ “การอนุรักษ์
สิ่งแวดล้อมในโรงเรียน”
	๑๒.	แสดงภาพ จัดนิทรรศการ
	๑๓.	 นักเรียนทำ�แบบทดสอบหลังบทเรียน และช่วยกันเขียนแผนผังความคิด
เกี่ยวกับ “สิ่งแวดล้อมในโรงเรียนของเรา”
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
มีการจัดสวน
สนามเด็กเล่น
การเก็บรักษา
และการดูแล
การซ่อมแซม
และปลูกซ่อม อย่างมีประสิทธิภาพ
อำ�นวยประโยชน์
ต่อครูและนักเรียน
ใช้อย่างประหยัด
สงวนรักษา
การจัดการ
สนามเด็กเล่น
ฯลฯ
ภาพกิจกรรม
แผนภูมิ
สมุดบันทึกพฤติกรรมนักเรียน
ข้อทดสอบ
–	 การแยกขยะในโรงเรียนมี
ความจำ�เป็นยิ่ง ที่ทุกคนจะ
ต้องปลูกฝังจิตสำ�นึกให้
รู้คุณค่าการหมุนเวียน นำ�
ทรัพยากรมาใช้ใหม่และ
เป็นการอนุรักษ์นํ้า ดิน
อากาศ ไปพร้อมกัน
สิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้น
โดยธรรมชาติ
บรรยากาศ
ทุ่งหญ้า
นํ้า
ดิน
สิ่งมีชีวิต
พืช สัตว์
แร่ธาตุ
ภูเขา
ทะเล
ป่าไม้
สิ่งแวดล้อม
ที่มนุษย์สร้าง
ถนน
ส่วนต่างๆ
อาคาร
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
70
๕.	สื่อและแหล่งการเรียนรู้
	 ๑.	เพลงประจำ�โรงเรียน
	 ๒.	ภาพกิจกรรมการประกวด, แผนที่, แผนผัง
	 ๓.	วิทยากร
	 ๔.	ถ้วยรางวัล ประกาศนียบัตรชมเชยรางวัลต่างๆ ที่โรงเรียนนำ�นักเรียนชนะการประกวด
	 ๕.	อุปกรณ์การวาดภาพ กระดาษ สีชอล์ก
	 ๖.	เอกสารหนังสือเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของโรงเรียน เพลงประจำ�โรงเรียน
๖.	การวัดผลประเมินผล
	 ๑.	ทดสอบความรู้ความเข้าใจด้วยการซักถาม การรายงาน และตรวจใบงานทดสอบหลังบทเรียน
	 ๒.	ด้านทักษะและคุณธรรม สังเกตจากพฤติกรรมแสดงออก
๗.	บันทึกผลหลังการสอน
	 –	รักโรงเรียน
	 –	ตั้งใจเรียน มีความประพฤติดี เป็นเด็กดี
	 –	รักษาสมบัติ ส่วนรวม
	 –	รักษาสิ่งแวดล้อม ฯลฯ
๘.	ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะผู้บริหาร
มีการบริหาร - จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง และอย่างมีส่วนร่วม
๙. ภาคผนวก เนื้อหา - สาระ ผังความคิด (Mind Mapping)
ตัวอย่าง
ใช้สนามหญ้าอย่างรู้คุณค่าใช้นํ้า - ไฟอย่างประหยัด
ใช้พลังงานทดแทน
ช่วยกันปลูกและดูแลต้นไม้
เกิดความคิดเชิงอนุรักษ์
ช่วยกันแยกขยะ
นำ�ทรัพยากรมาใช้ใหม่
ทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม
ในโรงเรียนของเรา
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒
71
๑. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
ส ๒.๑ ข้อ ๑ (๑) เข้าใจและปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยในฐานะสมาชิกที่ดีของโรงเรียน
ข้อ ๒ (๑) เข้าใจและปฏิบัติตามบทบาท หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ ในฐานะสมาชิกที่ดีของโรงเรียน
ข้อ ๓ (๑) เชื่อฟังและปฏิบัติตามการอบรมสั่งสอนของโรงเรียน
๒. สาระการเรียนรู้
๑. การเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยโดยในฐานะสมาชิกที่ดีของโรงเรียน
๒. เข้าใจและปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ ของตนเองในฐานะสมาชิกที่ดีของโรงเรียน
๓. กระบวนการขัดเกลาของโรงเรียน ข้อตกลง กติกา กฎระเบียบของการอยู่ร่วมกันในโรงเรียน
๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๑. นักเรียนรู้ ปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ในฐานะเป็นสมาชิกที่ดีของโรงเรียน
๒. นักเรียนมีความซาบซึ้ง ภูมิใจในการปฏิบัติตนสร้างชื่อเสียงให้แก่โรงเรียน
๓. นักเรียนเห็นคุณค่าและยอมรับความสามารถของตนเองและเพื่อนผู้อื่นในโรงเรียน
๔. กระบวนการจัดการเรียนรู้
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
ฝึกสมาธิ ๑ - ๒ นาที สนทนาถึงมารยาท ข้อตกลงในการอยู่ร่วมกัน
๑. นักเรียนร่วมสนทนา ยกตัวอย่างนักเรียนที่แต่งกายเรียบร้อยถูกระเบียบ
ของโรงเรียนนักเรียนที่มาโรงเรียนตรงเวลาซักถามการเดินทางมา - กลับ
โรงเรียน และนักเรียนที่ช่วยพ่อแม่และครูทำางาน และการอนุรักษ์
สิ่งแวดล้อม
๒. ครูนำาโล่ ถ้วยรางวัล ประกาศเกียรติคุณ ภาพถ่าย เพื่อแสดงว่าโรงเรียน
มีสมาชิกที่ดี นักเรียนเคารพต่อกฎกติกา ก่อให้เกิดความสามัคคีในการ
ปฏิบัติงาน จนโรงเรียนได้รับชื่อเสียงที่ดี
นักเรียนที่แต่งกายเรียบร้อย
โล่ ถ้วยรางวัล
ป.๑-๓
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีดีด้วยพระบารมีฯ
เรื่อง สิ่งแวดล้อมโรงเรียนของเรา ระยะเวลาในการสอน ๑ ชั่วโมง
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
72
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
	๓.	 นักเรียนเล่นเกมเกี่ยวกับการตั้งกฎกติกาการยอมรับในกฎกติกาที่กำ�หนด
เช่น
		 –	 เกมเป่ายิงฉุบ หรือ โอน้อยออก
		 –	 เกมเก้าอี้ดนตรี
		 –	 เกมทายถูกได้แต้ม (ตามรายการในทีวีจริงใจหรือไก่กา ฯลฯ) โดย
	 การให้ร่วมกันตั้งกฎกติกา ระเบียบการเล่นไว้
	๔.	 ครูเล่านิทาน เรื่อง นกกระจาบ ฯลฯ เพื่อแสดงให้เห็นว่าการอยู่ร่วมกัน
ด้วยความสุขจะต้องปฏิบัติตนตามกฎกติกาที่ร่วมกันกำ�หนดทั้งสิ้น
	๕.	 ให้นักเรียนทำ�แบบสำ�รวจตนเอง (ใบงานที่ ๑)
	๖.	 นักเรียนช่วยกันสรุป ชมเชยนักเรียนที่ทำ�คะแนนสูงสุด อธิบายลักษณะ
ของผู้ที่กระทำ�ปฏิบัติว่าเป็นคนประเภทใด
	๗.	 นักเรียนช่วยกันพิจารณาเพื่อนที่ช่วยรักษาความสะอาด ประหยัดนํ้า - ไฟ
ปลูกต้นไม้ ดูแลต้นไม้ มีมารยาทและกิริยาดี สมควรได้รับคำ�ชมเชย
หรือไม่
	๘.	 ครูจัดกิจกรรมการเลือกประธานชั้น รองประธานชั้น และกรรมการ
สิ่งแวดล้อม โดยมีกระบวนการ
		 –	 เสนอชื่อผู้เข้ารับการเลือกตั้ง โดยทุกคนช่วยกันเขียนคุณสมบัติ
		 –	 ผู้ได้รับการเสนอชื่อจะต้องได้รับการยอมรับจากเพื่อนๆ เป็นคะแนน
	 เสียงข้างมาก
		 –	 ผู้ได้รับการเสนอชื่อออกมาแจ้งคุณสมบัติที่ดีของตนเอง เพื่อสมควร
	 ได้รับการเลือกตั้ง
		 –	 จัดให้มีการเลือกเสนอชื่อกรรมการจัดการเลือกตั้ง
		 –	 พิธีการเลือกตั้ง
		 –	 ประกาศผล
	๘.	 นักเรียนที่ได้รับการเลือกตั้งออกมาแสดงความคิดเห็น (โดยมีครูสังเกต
พฤติกรรม)
	๙.	 นักเรียนร่วมกันอภิปรายและวิเคราะห์ วิจารณ์ วิธีการเลือกตั้งเป็นวิถีทาง
ประชาธิปไตย ชี้ให้เห็นถึงกฎกติกาของสังคม และการยอมรับซึ่งกัน
และกัน ก่อให้เกิดประโยชน์ความสันติสุขของสังคม
	๑๐.	 นักเรียนร่วมกันวางกฎกติกา และระเบียบเพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติตนต่อ
โรงเรียนตามผังความคิด(รวมเรื่องการรักษาสิ่งแวดล้อมและใช้ทรัพยากร
อย่างประหยัดและคุ้มค่าไว้ด้วย)
	๑๑.	 แบ่งนักเรียนเป็น ๔ กลุ่ม ศึกษาค้นคว้าจากหนังสือหรือสอบถามความรู้
จากวิทยากรเรื่อง วิธีการปฏิบัติตนตามกฎกติกา ระเบียบของโรงเรียนที่
วางไว้
แผนภูมิและกติกา
–	 การบำ�บัดนํ้าเสียประกอบ
ด้วย ๔ ขั้นตอน
๑.	การบำ�บัดนํ้าเสียทางกายภาพ
แยกของแข็งโดยใช้ตะแกรง
แยกขยะ
๒.	การบำ�บัดนํ้าเสียทางชีวภาพ
ย่อยสารอินทรีย์ในนํ้า โดย
อาศัยจุลินทรีย์ (ปุ๋ยชีวภาพ)
แผนภูมิ ภาพ
สารานุกรมไทย ฯลฯ เล่มที่ ๑๙
–	 การจัดการนํ้าทิ้งจากโรงเรียน
๑.	ลดไขมัน แยกนํ้ามันจากครัว
๒.	ทำ�ให้สารอินทรีย์ตกตะกอน
แผนภูมิการเลือกตั้ง
คำ�ถาม :-
–	 นักเรียนคิดว่าหัวหน้า/
	 ประธานชั้น/รองประธานชั้น
	 มีหน้าที่อย่างไร
–	 ทำ�ไมจึงต้องเลือกประธานฯ
แผนภูมิคุณสมบัติผู้นำ�ตาม
ลักษณะประชาธิปไตย
แสดงความคิดเห็น :-
ให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น
–	 การปรับปรุง/ตกแต่ง
	 ห้องเรียน
–	 รวบรวมความคิดเห็น
–	 ปฏิบัติตามความคิดเห็น
การรักษาสภาพแหล่งนํ้า
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒
73
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
		กลุ่มที่ ๑	 ระเบียบวินัยดี
		กลุ่มที่ ๒	ประพฤติเรียบร้อย
		กลุ่มที่ ๓	รักษาชื่อเสียงของโรงเรียน
		กลุ่มที่ ๔	รักษาสิ่งแวดล้อมและใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า ช่วยเหลืองาน
โรงเรียน โดยให้นักเรียนผู้แทนกลุ่มจับสลากหัวข้อ
	๑๒.	ผู้แทนกลุ่มรายงานผลการศึกษาค้นคว้าตามหัวข้อที่กำ�หนด
	๑๓.	 นักเรียนร่วมร้องเพลงที่ครูแต่งเนื้อร้องทำ�นองมาเป็นตัวอย่าง “เรามาช่วย
กันทำ�ความสะอาด” และส่งเสริมการรักษาสิ่งแวดล้อม
	๑๔.	 นักเรียนได้แสดงออกความสามารถในการแต่งเนื้อร้องและทำ�นอง “การ
ปฏิบัติตนตามกฎ กติกาของโรงเรียน” เท่าที่จะทำ�ได้
	๑๕.	นักเรียนร่วมสนทนาถึงกระบวนการปฏิบัติตนตามระบอบประชาธิปไตย
ในโรงเรียน และจัดทำ�ผังความคิด (ภาคผนวก)
	๑๖.	 จัดให้มีการโต้วาทีหรือแซววาที หรือจัดกิจกรรมให้ปฏิบัติงานร่วมกัน
	๑๗.	นักเรียนทำ�แบบทดสอบหลังบทเรียน (ใบงาน)
–	 ปลูกจิตสำ�นึกทุกคนให้รักษา
ความสะอาดของแหล่งนํ้า
ในชุมชน
–	 ให้ความรู้ประชาสัมพันธ์
–	 ให้ทุกคนตระหนักถึงผลเสีย
จากภาวะมลพิษของแหล่งนํ้า
คำ�ถาม :-
–	 ทำ�ไมจึงต้องทำ�ตามความคิด
	 เห็นส่วนใหญ่
–	 นักเรียนชอบทำ�ตามบังคับ
หรือไม่ เพราะเหตุใด
ข้อทดสอบ
สมุดบันทึกพฤติกรรมนักเรียน
๕.	สื่อและแหล่งการเรียนรู้
	 ๑.	อุปกรณ์ของจริง นักเรียน โล่ ถ้วยรางวัล ฯลฯ
	 ๒.	หนังสือค้นคว้า
	 ๓.	วิทยากร
	 ๔.	ภาพการแสดงความเคารพ
	 ๕.	เพลง (ตัวอย่าง) ทำ�ความสะอาด
๖.	การวัดผลประเมินผล
	 ๑.	สังเกตการมีส่วนร่วมในกิจกรรม
	 ๒.	ทดสอบความรู้จากการรายงานและตอบคำ�ถาม ทำ�แบบทดสอบหลังบทเรียน (รายงาน)
๗.	บันทึกผลหลังการสอน
	 ๑.	ดูการปฏิบัติรายบุคคล และกระบวนการกลุ่ม
	 ๒.	การแสดงความคิดเห็น และการปฏิบัติ (สอดคล้องกันหรือไม่)
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
74
๘.	ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะผู้บริหาร
	 ๑.	กำ�หนดแนวทางปฏิบัติร่วมกันให้ชัดเจน
	 ๒.	ให้ทุกคนมีส่วนร่วม
	 ๓.	คุณธรรม จริยธรรม
๙.	ภาคผนวก เนื้อหา - สาระ ใบงาน
คุณภาพชีวิตใช้นํ้า - ไฟอย่างประหยัด
ยึดหลักพอเพียง
เกิดความสมดุล รักษาและสงวนธรรมชาติ
แยกขยะ
ทำ�ปุ๋ยคุณภาพ
w w w w w w w w
แนวคิดในการดูแลรักษา
ทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒
75
๑. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกันและกันใน
ระบบของธรรมชาติ ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ สรุปและใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศ
อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด
ป. ๑/๑ แยกแยะสิ่งต่างๆ รอบตัวที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึ้น
ป. ๑/๒ ระบุความสัมพันธ์ของตำาแหน่ง ระยะ ทิศ ของสิ่งต่างๆ รอบตัว
ป. ๑/๓ ระบุทิศหลักและที่ตั้งของสิ่งต่างๆ
ป. ๑/๔ ใช้แผนผังง่ายๆ ในการแสดงตำาแหน่งของสิ่งต่างๆ ในห้องเรียน
ป. ๑/๕ สังเกตและบอกการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศในรอบวัน
มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์
วัฒนธรรม มีจิตสำานึก และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ตัวชี้วัด
ป. ๑/๑ บอกสิ่งต่างๆ ที่เกิดตามธรรมชาติที่ส่งผลต่อความเป็นอยู่ของมนุษย์
ป. ๑/๒ สังเกตและเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมที่อยู่รอบตัว
ป. ๑/๓ มีส่วนร่วมในการจัดระเบียบสิ่งแวดล้อมที่บ้านและชั้นเรียน
๒. จุดประสงค์การเรียนรู้
๑. นักเรียนรู้ประวัติ หน้าที่ และความสำาคัญของบุคคลในโรงเรียน
๒. นัักเรียนสามารถยกตัวอย่างบุคคลสำาคัญในโรงเรียนที่นำามาประพฤติปฏิบััติตาม
๓. บอกสิ่งต่างๆ ที่เกิดตามธรรมชาติ และส่งผลต่อความเป็นอยู่ของมนุษย์ได้
๔. สังเกตความเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมได้
๕. ร่วมในการจัดระเบียบสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนได้
ป.๑-๓
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีดีด้วยพระบารมีฯ
เรื่อง สิ่งแวดล้อมโรงเรียนของเรา ระยะเวลาในการสอน ๓ ชั่วโมง
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
76
๓.	สาระสำ�คัญ
	 ๑.	สิ่งแวดล้อมรอบตัวเรามีความสำ�คัญอย่างไร
	 ๒.	ตำ�แหน่ง ระยะ ทิศ ของสิ่งต่างๆ รอบตัวมีความสัมพันธ์อย่างไร
	 ๓.	แผนผังของห้องเรียน
	 ๔.	มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
	 ๕.	การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม
๔.	กระบวนการจัดการเรียนรู้
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
ฝึกสมาธิก่อนเรียน ๑ - ๒ นาที ฝึกสวดมนต์ สนทนาเกี่ยวกับการอนุรักษ์
สิ่งแวดล้อมและใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า
	๑.	 ทบทวนความรู้เกี่ยวกับวิธีการแสวงหาข้อมูล และนำ�ข้อมูลเกี่ยวกับโรง-
เรียน เช่น ภาพถ่ายเกี่ยวกับอาคารเรียน ส่วนต่างๆ ของบริเวณโรงเรียน
ในอดีต ให้นักเรียนดูร่วมอภิปรายเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมด้วย
	๒.	 นักเรียนอ่านประวัติความเป็นมา ผู้ก่อตั้ง และบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับ
โรงเรียน
	๓.	 บุคลากรที่สำ�คััญของโรงเรียน ประกอบด้วย บุคลากร ๒ ฝ่าย คือ
		 ๑.	บุคลากรภายนอกโรงเรียน
		 ๒.	บุคลากรภายในโรงเรียน
			 แนะนำ�ให้นักเรียนรู้จักบุคลากรผู้อุปการะโรงเรียน กรรมการการ
ศึกษา และบุคคลที่เกี่ยวข้องกับโรงเรียน ให้นักเรียนรู้จัก (จากภาพ) โดย
เล่าประวัติ ความช่วยเหลือ การสนับสนุน พัฒนา และตั้งคำ�ถามสืบค้น
ข้อมูล
			 สนทนาซักถามเกี่ยวกับบุคลากรในโรงเรียน ความสำ�คัญ หน้าที่ของ
บุคลากรในโรงเรียน ครูใหญ่ ครูประจำ�ชัั้น ครูพิเศษ
	๔.	 นำ�ผังความคิด (Mind Mapping) องค์ประกอบบุคลากรโรงเรียนเพื่อ
ทบทวน ความรู้เดิม
	๕.	 นำ�ภาพบุคลากรที่สำ�คัญ ทำ�คุณประโยชน์ สมควรที่นำ�มาประพฤติ
ปฏิบัติตาม ให้นัักเรียนดู แนะนำ�ชีวประวัติอย่างย่อ เช่น ผู้ก่อตั้งโรงเรียน
ผู้อุปการคุณโรงเรียน กรรมการสถานศึกษา
	๖.	 แบ่งนักเรียนเป็น ๔ กลุ่ม ศึกษาค้นคว้าชีวประวัติ ผลงานของบุคคลที่
นักเรียนเห็นว่ามีความสำ�คัญต่อโรงเรียน โดยใช้วิธีการ “ค้นหาข้อมูลทาง
ประวัติศาสตร์” และศึกษาความเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม
	๗.	 กลุ่มรายงานผลการศึกษาค้นคว้า ครูร่วมสรุปและให้ความรู้เพิ่มเติม
ประวัติโรงเรียน และผู้ก่อตั้ง
โรงเรียนและภาพ
ภาพบุคลากรในโรงเรียน
แผนภูมิ
แผนภูมิ
ภาพถ่าย
แผนภูมิ
ประวัติโรงเรียน
ความเป็นมา
ผู้ก่อตั้ง
บุคลากร ให้อะไรกับ
ชุมชน
วัตถุประสงค์
ผู้ก่อตั้งโรงเรียน
บุคลากรภายนอก บุคลากรภายใน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒
77
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
๕.	สื่อและแหล่งการเรียนรู้
	 ๑.	ภาพถ่ายเกี่ยวกับโรงเรียน อาคารเรียน บริเวณโรงเรียน และสภาพแวดล้อมในอดีต
	 ๒.	ภาพถ่ายบุคคลสำ�คัญของโรงเรียน
	 ๓.	วิทยากร
	 ๔.	เอกสาร ประวัติโรงเรียน
	 ๕.	ผังความคิดเกี่ยวกับบุคลากรของโรงเรียน
	 ๖.	กระดาษเขียนแผนภูมิ สีเมจิก
	๘.	 นักเรียนร่วมกันจัดทำ�แผนภูมิชีวประวัติบุคคลสำ�คัญของ “โรงเรียนของ
เรา” และเปรียบเทียบสภาพแวดล้อมของโรงเรียนในอดีตกับปัจจุบัน
	๙.	 นักเรียนเขียนเรียงความเรื่อง “เราช่วยโรงเรียนของเราให้เจริญอย่างไร”
หรือ “ความประทับใจบุคคลสำ�คัญของโรงเรียนเรา” หรือ “เรารักษาสิ่ง
แวดล้อม ในโรงเรียนของเรา”
	๑๐.	 ครูเชิญบุคลากรที่สำ�คัญของโรงเรียน เล่าเรื่องความเป็นมาของโรงเรียน
(ประวัติ) และบุคคลที่มีส่วนช่วยให้โรงเรียนเจริญรุ่งเรือง และสภาพ-
แวดล้อมที่เปลี่ยนไป และช่วยกันจัดระเบียบสิ่งแวดล้อม
	๑๑.	 นักเรียนทำ�แบบทดสอบหลังบทเรียน
แผนภูมิ
วิทยากร
ข้อทดสอบ
สมุดบันทึกพฤติกรรมนักเรียน
บุคลากรที่เกี่ยวข้อง
ประวัติ
แนวคิด วัตถุประสงค์
ผลงาน
ความจงรักภักดี
ต่อสถาบันฯ
คุณภาพ:
- การตรงต่อเวลา
- ความสามัคคี
ฯลฯ
กิจกรรมวันสำ�คัญ
การปฏิบัติตาม
ข้อตกลงและระเบียบ
การรักษาสิ่งแวดล้อม
ในโรงเรียนและใกล้เคียง
การปฏิบัติตนต่อครูและเพื่อน
ฯลฯ
การพูด
การแต่งกาย
วัฒนธรรมในโรงเรียน
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
78
๖.	การวัดผลประเมินผล
	 ๑.	ทดสอบความรู้ ความเข้าใจจากการซักถาม การรายงาน
	 ๒.	สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วม ร่วมในงานกลุ่ม การศึกษาค้นคว้า
	 ๓.	ตรวจแบบทดสอบหลังบทเรียน
๗.	บันทึกผลหลังการสอน
	 ๑.	ความสนใจ และความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนของเรา
	 ๒.	แนวคิดของนักเรียน และความคิดเห็น
	 ๓.	โรงเรียนในปัจจุบันมีความสำ�คัญต่อชุมชน/สังคม
๘.	ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะผู้บริหาร
	 –	มีการจัดการเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่ส่งเสริม และสอดคล้องกับประวัติ ความเป็นมา และ
หลักสูตรในปัจจุบัน
๙. ภาคผนวก
	 ๑.	บุคคลสำ�คัญของโรงเรียน
	 ๒.	แบบทดสอบหลังบทเรียน
ตัวอย่าง
บุคคลสำ�คัญของโรงเรียนวังไกลกังวล
บุคคลภายนอก
	 ๑.	ผู้ก่อตั้งโรงเรียน
	 ๒.	กรรมการศึกษา
ผู้เกี่ยวข้อง
(ความเป็นมา)
ผู้ก่อตั้งโรงเรียน
ผู้บริหารโรงเรียน
คณะทำ�งาน
(อนุกรรมการต่างๆ)
บุคลากรในโรงเรียน
กรรมการ
สมาคมผู้ปกครอง กรรมการ
อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
กรรมการศิษย์เก่า
เครือข่ายผู้ปกครอง
กรรมการสถานศึกษา
โรงเรียนของเรา
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u4_soc

More Related Content

What's hot

วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
Ni Aslan
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
Kobwit Piriyawat
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
Aroonswat
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
Mam Chongruk
 
แผนการจัดประสบการณ์ ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
แผนการจัดประสบการณ์   ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์แผนการจัดประสบการณ์   ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
แผนการจัดประสบการณ์ ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
krutitirut
 
แผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกร
แผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกรแผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกร
แผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกร
kruuni
 
แผนการสอนเรื่องสัตว์บก
แผนการสอนเรื่องสัตว์บกแผนการสอนเรื่องสัตว์บก
แผนการสอนเรื่องสัตว์บก
krusupap
 

What's hot (18)

วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
Ptt 5 บท
Ptt 5  บทPtt 5  บท
Ptt 5 บท
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
 
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบวิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
 
แผนการจัดประสบการณ์ ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
แผนการจัดประสบการณ์   ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์แผนการจัดประสบการณ์   ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
แผนการจัดประสบการณ์ ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
 
ป.5
ป.5ป.5
ป.5
 
แผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกร
แผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกรแผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกร
แผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกร
 
แผนการสอนเรื่องสัตว์บก
แผนการสอนเรื่องสัตว์บกแผนการสอนเรื่องสัตว์บก
แผนการสอนเรื่องสัตว์บก
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง น้ำ ฟ้า ดวงดาว+ป.5+273+dl...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง น้ำ  ฟ้า  ดวงดาว+ป.5+273+dl...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง น้ำ  ฟ้า  ดวงดาว+ป.5+273+dl...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง น้ำ ฟ้า ดวงดาว+ป.5+273+dl...
 
ตัวอย่างแผนการสอน
ตัวอย่างแผนการสอนตัวอย่างแผนการสอน
ตัวอย่างแผนการสอน
 
วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์
วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์
วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์
 
วิธีสอนวิทยาศาสตร์
วิธีสอนวิทยาศาสตร์วิธีสอนวิทยาศาสตร์
วิธีสอนวิทยาศาสตร์
 
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
 
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u4_soc

กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
supphawan
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
Jiraporn
 
แผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียแผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดีย
krupornpana55
 
นำเสนอผลการใช้หลักสูตร
นำเสนอผลการใช้หลักสูตรนำเสนอผลการใช้หลักสูตร
นำเสนอผลการใช้หลักสูตร
Aor_1234
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u4_soc (20)

กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-socแผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u04-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u04-soc
 
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
 
เล่มที่ 1เผยแพร่
เล่มที่ 1เผยแพร่ เล่มที่ 1เผยแพร่
เล่มที่ 1เผยแพร่
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Astroplan15
Astroplan15Astroplan15
Astroplan15
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Astroplan10
Astroplan10Astroplan10
Astroplan10
 
แผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียแผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดีย
 
Astroplan12
Astroplan12Astroplan12
Astroplan12
 
บทที่ 3.ใหม่
บทที่ 3.ใหม่บทที่ 3.ใหม่
บทที่ 3.ใหม่
 
นำเสนอผลการใช้หลักสูตร
นำเสนอผลการใช้หลักสูตรนำเสนอผลการใช้หลักสูตร
นำเสนอผลการใช้หลักสูตร
 
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
 
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
 

More from Prachoom Rangkasikorn

More from Prachoom Rangkasikorn (20)

129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
 
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
 
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
 
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
 
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
 
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
 
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
 
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
 
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
 
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
 
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
 
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
 
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
 
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
 
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
 
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
 
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
 
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
 
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
 
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
 

แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u4_soc

  • 1. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำาหรับโรงเรียนปลายทาง 54 ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกันและกัน ในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหาวิเคราะห์ สรุปและใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศ อย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด ป. ๑/๑ แยกแยะสิ่งต่างๆ รอบตัวที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึ้น ป. ๑/๒ ระบุความสัมพันธ์ของตำาแหน่ง ระยะ ทิศ ของสิ่งต่างๆ รอบตัว ป. ๑/๓ ระบุทิศหลักและที่ตั้งของสิ่งต่างๆ ป. ๑/๔ ใช้แผนผังง่ายๆ ในการแสดงตำาแหน่งของสิ่งต่างๆ ในห้องเรียน ป. ๑/๕ สังเกตและบอกการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศในรอบวัน มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์ วัฒนธรรม มีจิตสำานึก และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ตัวชี้วัด ป. ๑/๑ บอกสิ่งต่างๆ ที่เกิดตามธรรมชาติที่ส่งผลต่อความเป็นอยู่ของมนุษย์ ป. ๑/๒ สังเกตและเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมที่อยู่รอบตัว ป. ๑/๓ มีส่วนร่วมในการจัดระเบียบสิ่งแวดล้อมที่บ้านและชั้นเรียน ๒. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. นักเรียนบอกตำาแหน่งที่ตั้งลักษณะและองค์ประกอบของโรงเรียน และแยกแยะสิ่งต่างๆ ได้ ๒. นักเรียนสามารถบอกทิศแผนผังของโรงเรียน และสามารถบอกทิศ สังเกตจดจำาสิ่งรอบตัวของโรงเรียนได้ ๓. เห็นประโยชน์ในเรื่องความรู้เกี่ยวกับแผนผังต่างๆ ใช้แผนผังง่ายๆ บอกที่ตั้งห้องเรียนได้ ๔. นักเรียนทำางานร่วมกันตามกระบวนการกลุ่มได้ ๕. นักเรียนช่วยกันรักษาสิ่งแวดล้อม ทั้งที่บ้านและโรงเรียนได้ แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีดีด้วยพระบารมีฯ เรื่อง สิ่งแวดล้อมโรงเรียนของเรา ระยะเวลาในการสอน ๓ ชั่วโมงป.๑-๓
  • 2. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒ 55 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง ฝึกสมาธิก่อนเรียน ๑ - ๒ นาที ๑. นักเรียนร่วมกันร้องเพลง “โรงเรียนของเราน่าอยู่” และ “เพลงประจำ� โรงเรียน” อภิปรายเกี่ยวกับความหมายของเนื้อเพลง ๒. นักเรียนเดินชมโรงเรียน สร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะ รูปร่าง ส่วนใดใช้เป็นประโยชน์ใช้สอยอะไรบ้าง ฝึกวิธีการวัดพื้นที่ หมายเหตุ ควรเตรียมข้อมูลตามผังความคิดโดยให้เด็ก/ครูเตรียมมาก่อน เรียน ๓. แบ่งนักเรียนเป็น ๔ กลุ่ม สำ�รวจสถานที่ต่างๆ ของโรงเรียน และบันทึก ลงในใบงานที่ ๑ กลุ่มที่ ๑ ลักษณะที่ตั้งของโรงเรียน (ทิศ อาณาเขต บริเวณ) กลุ่มที่ ๒ อาคารที่ตั้งบนพื้นที่ของโรงเรียน กลุ่มที่ ๓ จำ�นวนห้องเรียนและประโยชน์ใช้สอย กลุ่มที่ ๔ สิ่งแวดล้อมและพื้นที่ใช้สอยบริเวณรอบอาคารเรียน ๔. กลุ่มต่างๆ รายงานผลการสำ�รวจตามที่ใบงานกำ�หนด มีครูช่วยเสริม ๕. ครูแสดงแผนผังของโรงเรียนเพื่อเสริมความรู้ความเข้าใจและฝึกการสังเกต ลักษณะรูปร่างเปรียบกับรูปทรงเรขาคณิต เช่นอาคารเรียนมีลักษณะรูปร่าง เป็นทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้าส ี่เหลี่ยมจัตุรัส จดจำ�สิ่งที่อยู่โดยรอบอาคารเรียน ๖. นักเรียนร่วมกันบอกชื่ออาคารที่ตั้งภายในพื้นที่ของโรงเรียนพร้อมทั้งห้อง ที่ใช้ประโยชน์ที่สำ�คัญ ห้องเรียน ห้องสมุด ห้องพยาบาล ฯลฯ โดยใช้ กระดาษสีเป็นสัญลักษณ์แสดงประโยชน์ใช้สอย เช่น ห้องเรียน ใช้กระดาษสีเหลือง ห้องพยาบาล ใช้กระดาษสีเขียว กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง แผนภูมิเพลง บริเวณโรงเรียน สำ�รวจสิ่งแวดล้อมบริเวณ โรงเรียน ใบงาน แผนผังโรงเรียน กระดาษแผ่นใหญ่ องค์ประกอบ โรงเรียนของเรา ที่ตั้ง แผนผัง สถานที่ สำ�คัญๆ ๓. สาระสำ�คัญ ๑. สิ่งแวดล้อมรอบตัวเรามีความสำ�คัญอย่างไร ๒. ตำ�แหน่ง ระยะ ทิศ ของสิ่งต่างๆ รอบตัวมีความสัมพันธ์อย่างไร ๓. แผนผังของห้องเรียน ๔. มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม ๕. การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม ๔. กระบวนการจัดการเรียนรู้
  • 3. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 56 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง ห้องพลศึกษา ใช้กระดาษสีม่วง ห้องสมุด ใช้กระดาษสีฟ้า ห้องอาหาร ใช้กระดาษสีชมพู หรือ ครูจะให้นักเรียนออกมาเขียนชื่อกำ�กับลงในผังหรือให้นักเรียนออก มาระบายสีห้องบนแผนผังก็ย่อมทำ�ได้ ๗. นักเรียนรู้จักทิศต่างๆ วิธีสังเกตทิศสำ�คัญจากธรรมชาติ เช่น พระอาทิตย์ จะขึ้นทางทิศตะวันออก ฝึกให้ศึกษาค้นคว้าทิศตะวันตก ทิศเหนือ ทิศใต้ ๘. ครูแสดงแผนผังหุ่นจำ�ลองของโรงเรียน ให้นักเรียนร่วมกันพิจารณาเขต ที่ตั้งของโรงเรียนตามหัวข้อ โรงเรียนหันหน้าไปสู่ทิศตะวันออก........................................................................................ มีอาณาเขตติดต่อกับสิ่งก่อสร้าง.................................................................................................. ด้านหลังของโรงเรียนเป็นทิศ........................................................................................................ มีอาณาเขตติดต่อกับ............................................................................................................................. ทิศเหนือของโรงเรียนมีอาณาเขตติดต่อกับ......................................................................... ทิศใต้ของโรงเรียนมีอาณาเขตติดต่อกับ................................................................................ ๙. ครูนำ�ภาพถ่ายสถานที่ต่างๆ ของโรงเรียนให้นักเรียนทายสถานที่ว่าเป็น อะไร ส่วนไหนของโรงเรียน ให้นักเรียนบรรยายแนะนำ�ทางไปสถานที่ อาคารและส่วนต่างๆ ตามภาพ ๑๐. นักเรียนร่วมกันจัดทำ�ผัง หุ่นจำ�ลองอาคารโรงเรียนของตน ๑๑. นักเรียนร่วมกันสรุปประโยชน์ของความรู้เรื่องแผนผังและนำ�ไปใช้ในชีวิต ประจำ�วัน และทำ�แผนผังความคิด (Mind Mapping) เรื่อง ประโยชน์ ของ แผนผัง แผนที่ใช้ในชีวิตประจำ�วัน ๑๒. นักเรียนร่วมกันจัดทำ�หุ่นจำ�ลอง แผนผังโรงเรียน (ใช้กระบะทรายและ ดินนํ้ามัน เศษวัสดุท้องถิ่นที่เหลือใช้) ๑๓. นักเรียนช่วยกันคิดกิจกรรม รักษาสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน คิดคำ�ขวัญ และช่วยกันเขียนข้อความเพื่อประชาสัมพันธ์ แผนภูมิ ทิศ อุปกรณ์บอกทิศ หุ่นจำ�ลอง โรงเรียน แผนภูมิ ภาพถ่าย อุปกรณ์จัดทำ�หุ่นจำ�ลอง แผนภูมิ “ผังความคิด” กระบะทราย กระดาษเขียนคำ�ขวัญ ข้อทดสอบและสมุดบันทึก พฤติกรรมนักเรียนรายบุคคล ๕. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ ๑. ภาพถ่ายสถานที่ อาคาร กิจกรรมต่างๆ ของโรงเรียน ๒. แผนผังแสดงที่ตั้ง ทิศ ขนาด อาคารเรียน ๓. หุ่นจำ�ลองโรงเรียน โรงเรียนให้อะไร เราจะให้อะไร กับโรงเรียน สถานที่ อาคารเรียน อาคาร กิจกรรมอื่นๆ แผนผัง หุ่นจำ�ลอง ประวัติโรงเรียน สีประจำ�โรงเรียน เพลงประจำ� โรงเรียน ต้นไม้ประจำ� โรงเรียน โรงเรียนของเรา
  • 4. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒ 57 ๔. หนังสือค้นคว้า ๕. เนื้อเพลงประจำ�โรงเรียน โรงเรียนของเรา ๖. ใบงาน ๖. การวัดผลประเมินผล ๑. สังเกตพฤติกรรมจากการร่วมกิจกรรมในกลุ่ม ความสนใจ ความกระตือรือร้น ๒. ทดสอบความรู้จากการรายงาน ทำ�แบบทดสอบหนังสือเรียน (ใบงาน) ๗. บันทึกผลหลังการสอน .............................................................................................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................................................................................. ๘. ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะผู้บริหาร .............................................................................................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................................................................................. ๙. ภาคผนวก .............................................................................................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................................................................................. w w w w w w w w
  • 5. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำาหรับโรงเรียนปลายทาง 58 ๑. สาระการเรียนรู้ ๑. ความหมายของคำาว่า วานนี้ พรุ่งนี้ ความหมายของคำาว่า อดีต ปัจจุบัน อนาคต เข้าใจการแบ่งช่วงเวลา วัน เดือน ปี ๒. ความหมายของข้อมูลและแหล่งข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับโรงเรียน – ลักษณะของข้อมูลแต่ละประเภท เช่น ภาพถ่าย เอกสาร เครื่องมือ เครื่องใช้ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ โรงเรียน – รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับโรงเรียน รู้วิธีการจัดกลุ่มข้อมูลอย่างเป็นระบบ อย่างง่ายๆ ๒. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. นักเรียนบอกหรืออธิบายความหมายได้ สามารถแบ่งเวลา วานนี้ วันนี้ พรุ่งนี้ วัน เดือน ปี ตามแบบสากล และแบบไทย ๒. รู้จักคุณค่าของเวลาที่สัมพันธ์กับการดำาเนินชีวิต สร้างปฏิทินเพื่อวางแผนการทำางาน ๓. รู้ความหมาย สืบค้นข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับโรงเรียน โดยแยกประเภทของข้อมูลว่าเป็นเอกสาร รูปภาพ คำาบอกเล่า ฯลฯ ๔. รู้และเล่าประวัติความเป็นมาของโรงเรียนที่ตนเองศึกษาอยู่ จากข้อมูลที่สืบค้นหามาได้ ๓. กระบวนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีดีด้วยพระบารมีฯ เรื่อง สิ่งแวดล้อมโรงเรียนของเรา ระยะเวลาในการสอน ๓ ชั่วโมง กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง ๑. นักเรียนนำาปฏิทินแบบและขนาดต่างๆ ซึ่งได้มาจากราชการ ธนาคาร ห้างร้าน จัดทำาขึ้นโดยของชำาร่วยปีใหม่ สนทนาเกี่ยวกับแบบ รูปร่าง ขนาด การแจงรายละเอียดของ ปฏิทินนั้นๆ เช่น บางฉบับจะบอก วันขึ้น แรม วันหยุดราชการ เดือน สากล-ไทย ฯลฯ ๒. นักเรียนช่วยสร้างแบบฟอร์มปฏิทินประจำาเดือนที่นักเรียนกำาลังเรียน เนื้อหาของเวลาซักถามว่า วันนี้เป็นวันอะไร วันที่เท่าไร ทดลองให้ ปฏิทินต่างๆ (แบบไทยและสากล) – หนังสือ : มนุษย์กับ สิ่งแวดล้อม วิเคราะห์ – มนุษย์สัมพันธ์กับ ป.๑-๓ แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
  • 6. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒ 59 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง นักเรียนเติมตัวเลขวันที่ ทวนขึ้น และใช้คำ�ว่า “วานนี้” และเติมตัวเลข วันที่หลังวันนี้ใช้คำ�ว่า “พรุ่งนี้” ทดสอบจากปฏิทิน โดยสมมติวันใดวันหนึ่งเป็นวันนี้และนักเรียน ตอบวันพรุ่งนี้ วันมะรืนนี้ วันนี้ วานนี้ พรุ่งนี้ และโยงไปถึง อดีต ปัจจุบัน อนาคต ๓. นักเรียนออกมาเล่าเรื่องของตนเองจากอดีต จนถึงปัจจุบัน และความหวัง ในอนาคตโดยมีครูช่วยซักถาม ครูสรุปความหมาย ความรู้ความเข้าใจในการใช้เวลา ๔. เล่นเกมโดยนำ�ปฏิทิน พ.ศ. ต่างๆ มาแสดง คือปี ๒๕๔๔ ปี ๒๕๔๕ และทายปัญหา เช่น วันที่ ๕ เดือนพฤศจิกายน ปี ๒๕๔๔ เป็นวันอะไร และวันที่ ๕ เดือนพฤศจิกายน ปี ๒๕๔๕ เป็นวันอะไร และถ้าวันที่ ๕ เดือนพฤศจิกายน ปี ๒๕๔๖ จะเป็นวันอะไร แบ่งกลุ่มนักเรียนค้นหา ใครค้นได้ครูให้รางวัล ๕. นักเรียนร่วมกันศึกษาและอ่านปฏิทินที่บอกข้างขึ้นข้างแรม (แบบไทย) ในปฏิทินสากล แสดงตารางเปรียบเทียบการเรียกชื่อเดือนแบบไทยกับ แบบสากล ๖. นักเรียนสนทนาประโยชน์การเรียนรู้ช่วงเวลา วันนี้ วานนี้ พรุ่งนี้ เดือนก่อน เดือนนี้ เดือนหน้า ปีนี้ ปีก่อน ปีหน้า อดีต อนาคต ปัจจุบัน เพื่อนำ�มาใช้ในการศึกษาประวัติศาสตร์และวางแผนงานกิจกรรมของ ตนเอง ๗. นักเรียนร่วมกันจัดทำ�ปฏิทินรายสัปดาห์ จัดป้ายนิเทศเรื่อง วันแม่ เพื่อ เป็นตัวอย่าง ๘. แบ่งกลุ่มนักเรียนจัดทำ�ปฏิทินรายสัปดาห์ตามใบงานที่กำ�หนด ๙. กลุ่มรายงานการจัดทำ�ปฏิทินหน้าชั้นเรียน ร่วม สรุป ๑๐. นักเรียนเล่นเกมรู้จักเพื่อน โดยใช้วิธีให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลจากตัวเพื่อน ด้วยการสัมภาษณ์ประวัติเพื่อนให้มากที่สุดเท่าที่จะทำ�ได้และบันทึกไว้ ตามกำ�หนดเวลา ตัวอย่าง เพื่อนที่สัมภาษณ์ชื่ออะไร ชื่อเล่นว่าอะไร เกิดที่ไหน เกิดเมื่อไร วันไหน ชอบกินอะไร รสอย่างไร ชอบสีอะไร มาโรงเรียนด้วย วิธีใด ฯลฯ เมื่อถึงเวลากำ�หนด ครูถามทดสอบว่าใครจำ�ข้อมูลของเพื่อนได้ มากกว่า เช่น ถามว่า “ใครเอ่ย เกิดวันจันทร์?” ถ้าแดงบอกชื่อเพื่อนที่ สัมภาษณ์มา ได้ถูกต้องและมากที่สุด ถือว่าเป็นผู้ชนะ ค้นหาข้อมูล ได้มากและแม่นยำ� สิ่งแวดล้อมอย่างไร – ประโยชน์ที่มนุษย์ได้รับ จากสิ่งแวดล้อม – อาหาร ที่อยู่อาศัย เครื่องนุ่งห่ม ยารักษาโรค ปฏิทิน พ.ศ. ต่างๆ ปฏิทินแบบไทย มีข้างขึ้น แรม – กระดาษทำ�ปฏิทิน – ป้ายนิเทศ แผนภูมิวิธีเล่นเกม – ทรัพยากรจากสิ่งแวดล้อม เช่นนํ้ามันแร่ธาตุโลหะต่างๆ มาพัฒนาประเทศ อำ�นวย ความสะดวก – มนุษย์ใช้ทรัพยากรธรรมชาติ อย่างฟุ่มเฟือยไม่คุ้มค่า
  • 7. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 60  กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง ๑๑. นักเรียนสนทนาเกี่ยวกับความหมาย ความสำ�คัญ และวิธีการสืบค้นหา ข้อมูลทางประวัติศาสตร์ ยกตัวอย่างประกอบความรู้ ความเข้าใจ และ ร่วมกันจัดทำ�ผังความคิด ความสำ�คัญข้อมูล อนุรักษ์ ประเพณี รูปภาพ คำ�บอกเล่า เทคโนโลยี เอกสาร วัตถุ แหล่งข้อมูล บุคคล ห้องสมุด พิพิธภัณฑ์ สำ�รวจ สังเกต    ๑๒. แบ่งนักเรียนเป็น ๔ กลุ่ม ให้จัดหาข้อมูลโรงเรียนของเราในอดีตจนถึง ปัจจุบัน การจัดอาคารเรียน บริเวณโรงเรียนเพื่อรักษาสิ่งแวดล้อม ใช้วิธีการแสวงหาข้อมูลด้วยการ ๑. สัมภาษณ์และคำ�บอกเล่าจากบุคคล ๒. สำ�รวจศึกษาข้อมูลที่เป็นวัตถุ เอกสาร ๓. สังเกตการแสดงออกด้านประเพณีวัฒนธรรมต่างๆ ๔. สังเกตด้านสิ่งแวดล้อม บริเวณอาคารสถานที่และการอนุรักษ์ ทำ�ให้รู้เรื่องราวในอดีต สัมภาษณ์ หลักฐาน ข้อมูลทาง ประวัติศาสตร์ วิธีการแสวงหา ข้อมูล ประเภทข้อมูล คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต โบราณสถาน โบราณวัตถุ – การมีทรัพยากรธรรมชาติ มากมาย ทำ�ให้มนุษย์เริ่ม นำ�เทคโนโลยีมาช่วยเพื่อจะได้ นำ�ทรัพยากรมาใช้ประโยชน์ มากที่สุด – ข้อมูลต่างๆ จากห้องสมุด – จากคอมพิวเตอร์ – จากวีดิทัศน์ – ภาพ – สมุด ปัจจัยที่ทำ�ให้สิ่งแวดล้อมเสื่อม โทรม 
  • 8. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒ 61 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง กลุ่มที่ ๑ หาข้อมูลประวัติความเป็นมาของโรงเรียนของเรา กลุ่มที่ ๒ เครื่องหมาย ธงประจำ�โรงเรียน *คำ�ขวัญหรือคติพจน์ประจำ� โรงเรียน เพลงประจำ�โรงเรียน กลุ่มที่ ๓ กิจกรรมประเพณีวัฒนธรรมวันสำ�คัญของโรงเรียน และ การอนุรักษ์ แต่ละกลุ่มจะต้องบอกวิธีการหาข้อมูลกำ�กับด้วย กลุ่มที่ ๔ กิจกรรมเกี่ยวกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และใช้ทรัพยากร ให้คุ้มค่า ๑๓. กลุ่มรายงานการศึกษาค้นคว้าครูให้ความช่วยเหลือซักถามเพื่อให้รายงาน สมบูรณ์ ๑๔. นักเรียนร่วมร้องเพลงประจำ�โรงเรียน ๑๕. นักเรียนร่วมกันจัดทำ�แผนภูมินิเทศ แสดงหลักฐานข้อมูลประวัติศาสตร์ เรื่อง “โรงเรียนของเรา” และการอนุรักษ์ประเพณีของโรงเรียน ๑๖. นักเรียนทำ�แบบทดสอบหลังบทเรียน ๑. การเพิ่มจำ�นวนประชากร ๒. ความก้าวหน้าทางวิทยา- ศาสตร์ และเทคโนโลยี ๓. การขยายตัวทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม ๔. พฤติกรรมของมนุษย์ – แผนภูมิ ข้อทดสอบ สมุดบันทึกพฤติกรรม นักเรียนรายบุคคล ๔. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ ๑. ภาพประวัติโรงเรียน กิจกรรม ฯลฯ ๒. เพลงประจำ�โรงเรียน ๓. แผนภูมิ ผังความคิด ๔. ปฏิทินแบบไทย สากล ๕. แผ่นตารางการจัดทำ�ปฏิทินรายสัปดาห์เพื่อวางแผนงาน ๖. ตารางการเรียกเดือนแบบไทยและแบบสากล ๗. วิทยากร อาจจะเป็นครูผู้มีความรู้เกี่ยวกับประวัติของโรงเรียน หรือครูอาวุโสที่เชิญมา ๘. แบบทดสอบหลังบทเรียน ๕. การวัดผลประเมินผล ๑. สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก การเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม ๒. ทดสอบความรู้ความเข้าใจจากการซักถาม การรายงาน ๓. ตรวจแบบทดสอบหลังบทเรียน
  • 9. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 62 ๖. บันทึกผลหลังการสอน ๑. ดูจากความรู้ ความเข้าใจในเรื่องที่เรียนรู้ ๒. การแสดงความคิดเห็น การพูด ๓. พฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลง รายคน ๗. ภาคผนวก ประวัติโรงเรียนวังไกลกังวล w w w w w w w w พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ร. ๘ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบัน โรงเรียนวังไกลกังวล ฝ่ายประถม และมัธยม ประธานคณะกรรมการบริหาร คุณขวัญแก้ว วัชโรทัย คณะทำ�งาน โรงเรียนวังไกลกังวล ปฐมวัยจนจบอุดมศึกษา ความเป็นมา คณะกรรมการบริหาร โรงเรียนวังไกลกังวล สถานที่ตั้ง        โรงเรียน วังไกลกังวล
  • 10. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒ 63 ภาคผนวก ภายในโรงเรียนควรคำานึงถึงสิ่งแวดล้อมและการเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างสมดุล ทรัพยากรธรรมชาติที่สำาคัญ คือ ๑. อากาศ มีอยู่รอบตัว แต่ช่วยให้อากาศดีได้ด้วยการปลูกต้นไม้ ไม้ใหญ่กรองอากาศ สร้างออกซิเจน ลดการใช้เครื่องปรับอากาศลง ๒. นำ้า เช่นเดียวกับอากาศ นำ้ามีการหมุนเวียนเป็นวัฏจักร จึงควรมีที่เก็บกักนำ้าไว้ใช้ และนำานำ้าที่ใช้แล้วมา หมุนเวียนใช้รดนำ้าต้นไม้ ควรใช้นำ้าอย่างประหยัด เพราะนำ้าอาจขาดแคลนได้ โดยเฉพาะในเมืองที่เป็นแหล่งท่องเที่ยว ถ้าไม่มีมาตรการที่เข้มงวดปล่อยให้ใช้นำ้า ทิ้งนำ้ากันอย่างไม่คิดไตร่ตรอง และวางแผนการใช้นำ้าที่ดี ๓. ดิน พื้นที่ผิวโลกประกอบด้วยพื้นนำ้าสามในสี่ส่วน และเป็นดินเพียง ๑ ใน ๔ ส่วน พื้นดินเป็นแหล่ง ปัจจัยสี่ของมนุษย์ เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด เป็นแหล่งผลิตอาหาร ดังนั้น ภายในบริเวณโรงเรียนจึง ควรมีส่วนสาธิตการใช้ดินที่ถูกต้องคุ้มค่า มีการทำาปุ๋ยธรรมชาติ ให้ดินฟื้นคืนสภาพเดิม ๔. ปาไม้ เป็นทรัพยากรธรรมชาติชนิดหมุนเวียน เป็นแหล่งอาหาร ยา ปัจจัย ๔ ควรสอนเด็กให้รักและดูแล ป่าไม้ให้อุดมสมบูรณ์ ๕. พลังงาน แหล่งสำาคัญที่สุด คือ ดวงอาทิตย์ w w w w w w w w
  • 11. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำาหรับโรงเรียนปลายทาง 64 ๑. สาระการเรียนรู้ ๑. สัญลักษณ์ของโรงเรียนและสิ่งต่างๆ ที่แสดงถึงความเป็นมาของโรงเรียน ๒. ความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน (โดยศึกษาจากประวัติความเป็นมา) ๓. ขนมธรรมเนียมประเพณี ศิลปวัฒนธรรมที่โรงเรียนสร้างสรรค์ขึ้นหรือประวัติมาแต่อดีตถึงปัจจุบัน เช่น การจัดงานวันคล้ายวันเกิดของโรงเรียน การหล่อเทียนพรรษา การแสดงประเภทต่างๆ ๔. ผลงานที่เป็นภูมิปัญญาของบุคลากรในโรงเรียน การทอผ้า ฯลฯ ๒. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. บอกและอธิบายขนบธรรมเนียมประเพณีของโรงเรียน ๒. เข้าร่วมกิจกรรมช่วยเหลืองานโรงเรียนตามสมควร ๓. มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า ๓. กระบวนการจัดการเรียนรู้ กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง ฝึกสมาธิ ๑ - ๒ นาที ก่อนเรียน และสนทนาถึง กฎ กติกา ควรปฏิบัติใน ห้องเรียน และการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า ๑. นักเรียนร่วมกันร้องเพลงประจำาโรงเรียนครูอธิบายความหมายของเนื้อเพลง ๒. ทบทวนประวัติความเป็นมาของโรงเรียนโดยย่อ ๓. นำาภาพกิจกรรมของโรงเรียน และสนทนาซักถามทายปัญหาภาพ ความ รู้และประสบการณ์ด้วยคำาถาม ภาพถ่ายเกี่ยวกับกิจกรรมอะไร นักเรียน รู้จักภาพนี้หรือไม่ ทำาเมื่อไร นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมกับงานของโรงเรียน อะไรบ้าง ๔. นักเรียนร่วมกันจัดทำาผังความคิด (Mind Mapping) “กิจกรรมที่สำาคัญ ของโรงเรียน” ที่เคยปฏิบัติตามขนบธรรมเนียมของโรงเรียน ๕. แบ่งนักเรียนเป็น ๕ กลุ่ม ศึกษาค้นคว้าหลักฐานข้อมูลทางประวัติศาสตร์ – แผนภูมิเพลง – การจัดสภาพสิ่งแวดล้อม ในโรงเรียนตามโครงการ พระราชดำาริ เพื่อให้เด็ก เรียนรู้จากประสบการณ์ ได้ปฏิบัติจริง แผนภูมิ “ผังความคิด” ภาพของโรงเรียน กิจกรรมต่างๆ ส่งเสริม ทรัพยากรธรรมชาติ ป.๑-๓ แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีดีด้วยพระบารมีฯ เรื่อง สิ่งแวดล้อมโรงเรียนของเรา ระยะเวลาในการสอน ๓ ชั่วโมง
  • 12. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒ 65 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง (ส๔.๑ข้อ๒)เรื่อง“วันสำ�คัญที่โรงเรียนจัดกิจกรรมตามขนบธรรมเนียม ประเพณี” กลุ่มที่ ๑ วันเกิดโรงเรียน กลุ่มที่ ๒ วันสำ�คัญทางศาสนา – วันมาฆบูชา กลุ่มที่ ๓ วันสำ�คัญของชาติ – วันเฉลิมพระชนมพรรษา (๕ ธ.ค.) วันพ่อแห่งชาติ กลุ่มที่ ๔ วันสำ�คัญตามขนบธรรมเนียมประเพณีของชาติ – วันขึ้นปีใหม่ กลุ่มที่ ๕ การอนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณีของโรงเรียน มีการจัดงาน และกิจกรรม ๖. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งผู้แทนออกมารายงานหน้าชั้นเรียน ๗. เติมเต็มด้วยการจัดกิจกรรมการแสดงบทบาทสมมติวันสำ�คัญต่างๆ ๘. เชิญวิทยากร (ศิษย์เก่า) พูดเรื่องความภาคภูมิใจในการชนะการประกวด ผลงาน งานประเพณีของโรงเรียน ๙. นักเรียนร่วมจัดนิทรรศการและทำ�บททดสอบหลังบทเรียนรายบุคคล สิ่งแวดล้อม – โรงเรียนที่ดีควรมีการบริหาร จัดการเรื่องการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม สอดคล้องกับ การเรียนการสอน – การอนุรักษ์ทรัพยากร ธรรมชาติในโรงเรียน ๑. การใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ประหยัดที่สุด ๒. การหมุนเวียนนำ�ทรัพยากร ที่ใช้แล้วมาใช้ใหม่ เช่น กระดาษ นํ้า ขยะ ฯลฯ ๓. บูรณะและฟื้นฟูส่วนที่ เสื่อมโทรม ๔. การใช้สิ่งอื่นทดแทน ๕. การหาทรัพยากรธรรมชาติ เพิ่มเติม ๖. ลดอันตรายจากสารพิษ ๔. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ ๑. ภาพเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมที่สำ�คัญของโรงเรียน ๒. วิทยากร เอกสารประวัติความเป็นมา กิจกรรมของโรงเรียน ๓. อุปกรณ์เพื่อจัดทำ�งานศิลป์ นิทรรศการ เช่น กระดาษวาดเขียนสีเมจิก ภาพกิจกรรมของโรงเรียน ๔. ใบงาน แบบทดสอบหลังบทเรียน ๕. การวัดผลประเมินผล ๑. ด้านความรู้ ซักถาม ทดสอบความรู้จากใบงาน ๒. สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการทำ�งานกลุ่ม การเอาใจใส่และความตั้งใจการทำ�งาน
  • 13. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 66 ๖. บันทึกผลหลังการสอน .............................................................................................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................................................................................. ๗. ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะผู้บริหาร .............................................................................................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................................................................................. ๘. ภาคผนวก เนื้อหา - สาระ ใบงาน และผังมโนทัศน์ หรือผังความคิด .............................................................................................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................................................................................. w w w w w w w w
  • 14. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒ 67 ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกันและกัน ในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหาวิเคราะห์ รูปและใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศอย่าง มีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด ป. ๓/๑ ใช้แผนที่ แผนผัง และภาพถ่ายในการหาข้อมูลทางภูมิศาสตร์ในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ป. ๓/๒ เขียนแผนผังง่ายๆ เพื่อแสดงตำาแหน่งที่ตั้งของสถานที่สำาคัญในบริเวณโรงเรียนและชุมชน มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์ วัฒนธรรม มีจิตสำานึก และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ตัวชี้วัด ป. ๓/๑ เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมในชุมชนจากอดีตถึงปัจจุบัน ป. ๓/๒ ตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมในชุมชน ๒. สาระสำาคัญ สภาพแวดล้อมในชุมชน การประกอบอาชีพที่เป็นผลมาจากสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ สาระการเรียนรู้ ความรู้ ๑. แผนที่ แผนผัง และภาพถ่าย ๒. สภาพแวดล้อมในชุมชนในอดีตและปัจจุบัน ๓. มลพิษที่เกิดจากการกระทำาของมนุษย์ ป.๑-๓ แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีดีด้วยพระบารมีฯ เรื่อง สิ่งแวดล้อมโรงเรียนของเรา ระยะเวลาในการสอน ๓ ชั่วโมง
  • 15. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 68 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง ฝึกสมาธิ ๑ - ๒ นาที ก่อนเรียน สนทนาถึงกฎ กติกา ควรปฏิบัติในห้องเรียน และการใช้ทรัพยากรให้คุ้มค่า ๑. นักเรียนร่วมร้องเพลงประจำ�โรงเรียน และสรุปสาระ (ความหมาย) ของ เนื้อเพลงเพื่อเกิดความซาบซึ้งและความภาคภูมิใจโรงเรียนของตน ๒. ครูนำ�รางวัล เช่น ถ้วยรางวัล ประกาศนียบัตร โล่ ฯลฯ ซึ่งโรงเรียนได้้รับ จากการประกวดผลงานหรือหน่วยงานมอบในโอกาสต่างๆ ให้นักเรียน ได้ดู และร่วมแสดงความคิดเห็นหรือ ครูนำ�นักเรียนเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ ๓. นักเรียนเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์โรงเรียนเพื่อรัับทราบการพัฒนา เปลี่ยนแปลง โรงเรียน ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง ๔. เชิญวิทยากรให้ความรู้เกี่ยวกับการพััฒนาเปลี่ยนแปลง ปัจจัยที่มีผลต่อ การพัฒนาการเปลี่ยนแปลงของโรงเรียน (อาจเป็นครูอาวุโส หรือศิษย์เก่า ฯลฯ) ๕. นักเรียนร่วมจัดทำ�ผังความคิด (Mind Mapping) เรื่อง “ปัจจัยที่มีผลต่อ การพัฒนาเปลี่ยนแปลงโรงเรียนของเรา” (ดูภาคผนวก) สิ่งแวดล้อมเป็น ปัจจัยที่ทำ�ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ สารานุกรมไทยสำ�หรับ เยาวชนฯ เล่มที่ ๑๙ แผนภูมิเพลง ถ้วยรางวัล วิทยากร กระดาษแผนภูมิ ๓. สาระการเรียนรู้ ๑. วิธีการทางประวัติศาสตร์อย่างง่ายๆ ที่ใช้ในการศึกษาประวัติความเป็นมาของโรงเรียน การรวบรวมข้อมูล มานำ�เสนอในลักษณะประวัติของโรงเรียน ๒. ประวัติความเป็นมาของโรงเรียน สภาพของโรงเรียนในอดีตและปัจจุบัน ๓. สาเหตุและผลงานของการพัฒนา การก่อตั้ง และการดำ�รงอยู่ของโรงเรียน ๔. เหตุการณ์สำ�คัญที่สร้างชื่อเสียงให้กับโรงเรียน และสร้างความภาคภูมิใจให้้แก่นักเรียน ๕. ปัจจัยที่มีผลต่อพัฒนาการเปลี่ยนแปลงของโรงเรียน สภาพแวดล้อมในอดีต - ปัจจุบัน ๖. สิ่งที่เป็นความภาคภูมิใจของโรงเรียน ๗. แผนที่ แผนผัง ภาพถ่าย ๘. มลพิษที่เกิดจากการกระทำ�ของมนุษย์ จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. บอกและอธิบายเหตุผลการเลือกตั้งทำ�เลที่ตั้ง และการพัฒนาโรงเรียน ๒. บอกสิ่งที่เป็นความภาคภูมิใจของโรงเรียนตนเองได้ ๓. กลุ่มนักเรียนทำ�งานร่วมกัน ตามกระบวนการกลุ่มได้ ๔. มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า ๔. กระบวนการจัดการเรียนรู้
  • 16. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒ 69 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง ๖. แบ่งนักเรียนเป็น ๕ กลุ่ม ศึกษาค้นคว้าและรายงาน โดยใช้กระบวนการ ทางประวัติศาสตร์ (อธิบายทบทวนกระบวนการ) ดังนี้ กลุ่มที่ ๑ โรงเรียนของเราจากอดีต-ปัจจุบัน กลุ่มที่ ๒ ศึกษาสภาพแวดล้อมบริเวณโรงเรียนและโดยรอบ จากอดีต - ปัจจุบัน กลุ่มที่ ๓ สิ่งที่ทำ�ให้เราได้รับความภาคภูมิใจในโรงเรียนของเรา กลุ่มที่ ๔ ทำ�อย่างไรจะให้โรงเรียนของเราเจริญรุ่งเรืองหรือการมีส่วนร่วม ในโรงเรียน กลุ่มที่ ๕ การอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีที่ดีงามในโรงเรียน และมลพิษ ที่เกิดจากการกระทำ�ของมนุษย์ ๗. นักเรียนส่งตัวแทนกลุ่มรายงานการศึกษาค้นคว้า (ครูเติมเต็็มเพื่อให้เกิด ความรู้้ ความเข้าใจ และความซาบซึ้ง คล้้อยตามที่จะเป็นแนวทางปฏิบััติ ต่อไป) พร้อมทั้งเขียนแผนผัง และแผนที่ประกอบ ๘. นักเรียนจัดให้มีการแสดงบทบาทสมมติตามหัวข้อเรื่อง ก. “เด็กดีมีมารยาทอย่างไร” ข. มลพิษในโรงเรียนและโดยรอบเกิดขึ้นได้อย่างไร ๙. นักเรียนสรุปเนื้อหาสาระย่อและร่วมกันจัดเพิ่มเติม ผังความคิด (Mind Mapping) ให้สมบูรณ์ ๑๐. แบ่งกลุ่มนักเรียนประกวดภาพวาดให้หัวข้อเรื่อง “กิจกรรมดีเด่นของ โรงเรียนที่ทำ�ให้ฉันภูมิใจ” พร้อมการบรรยาย ๑๑. กลุ่มนักเรียนจัดกิจกรรม “มารยาทไทยควรอนุรักษ์” และ “การอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อมในโรงเรียน” ๑๒. แสดงภาพ จัดนิทรรศการ ๑๓. นักเรียนทำ�แบบทดสอบหลังบทเรียน และช่วยกันเขียนแผนผังความคิด เกี่ยวกับ “สิ่งแวดล้อมในโรงเรียนของเรา” การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน มีการจัดสวน สนามเด็กเล่น การเก็บรักษา และการดูแล การซ่อมแซม และปลูกซ่อม อย่างมีประสิทธิภาพ อำ�นวยประโยชน์ ต่อครูและนักเรียน ใช้อย่างประหยัด สงวนรักษา การจัดการ สนามเด็กเล่น ฯลฯ ภาพกิจกรรม แผนภูมิ สมุดบันทึกพฤติกรรมนักเรียน ข้อทดสอบ – การแยกขยะในโรงเรียนมี ความจำ�เป็นยิ่ง ที่ทุกคนจะ ต้องปลูกฝังจิตสำ�นึกให้ รู้คุณค่าการหมุนเวียน นำ� ทรัพยากรมาใช้ใหม่และ เป็นการอนุรักษ์นํ้า ดิน อากาศ ไปพร้อมกัน สิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้น โดยธรรมชาติ บรรยากาศ ทุ่งหญ้า นํ้า ดิน สิ่งมีชีวิต พืช สัตว์ แร่ธาตุ ภูเขา ทะเล ป่าไม้ สิ่งแวดล้อม ที่มนุษย์สร้าง ถนน ส่วนต่างๆ อาคาร
  • 17. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 70 ๕. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ ๑. เพลงประจำ�โรงเรียน ๒. ภาพกิจกรรมการประกวด, แผนที่, แผนผัง ๓. วิทยากร ๔. ถ้วยรางวัล ประกาศนียบัตรชมเชยรางวัลต่างๆ ที่โรงเรียนนำ�นักเรียนชนะการประกวด ๕. อุปกรณ์การวาดภาพ กระดาษ สีชอล์ก ๖. เอกสารหนังสือเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของโรงเรียน เพลงประจำ�โรงเรียน ๖. การวัดผลประเมินผล ๑. ทดสอบความรู้ความเข้าใจด้วยการซักถาม การรายงาน และตรวจใบงานทดสอบหลังบทเรียน ๒. ด้านทักษะและคุณธรรม สังเกตจากพฤติกรรมแสดงออก ๗. บันทึกผลหลังการสอน – รักโรงเรียน – ตั้งใจเรียน มีความประพฤติดี เป็นเด็กดี – รักษาสมบัติ ส่วนรวม – รักษาสิ่งแวดล้อม ฯลฯ ๘. ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะผู้บริหาร มีการบริหาร - จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง และอย่างมีส่วนร่วม ๙. ภาคผนวก เนื้อหา - สาระ ผังความคิด (Mind Mapping) ตัวอย่าง ใช้สนามหญ้าอย่างรู้คุณค่าใช้นํ้า - ไฟอย่างประหยัด ใช้พลังงานทดแทน ช่วยกันปลูกและดูแลต้นไม้ เกิดความคิดเชิงอนุรักษ์ ช่วยกันแยกขยะ นำ�ทรัพยากรมาใช้ใหม่ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ในโรงเรียนของเรา
  • 18. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒ 71 ๑. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ส ๒.๑ ข้อ ๑ (๑) เข้าใจและปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยในฐานะสมาชิกที่ดีของโรงเรียน ข้อ ๒ (๑) เข้าใจและปฏิบัติตามบทบาท หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ ในฐานะสมาชิกที่ดีของโรงเรียน ข้อ ๓ (๑) เชื่อฟังและปฏิบัติตามการอบรมสั่งสอนของโรงเรียน ๒. สาระการเรียนรู้ ๑. การเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยโดยในฐานะสมาชิกที่ดีของโรงเรียน ๒. เข้าใจและปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ ของตนเองในฐานะสมาชิกที่ดีของโรงเรียน ๓. กระบวนการขัดเกลาของโรงเรียน ข้อตกลง กติกา กฎระเบียบของการอยู่ร่วมกันในโรงเรียน ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. นักเรียนรู้ ปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ในฐานะเป็นสมาชิกที่ดีของโรงเรียน ๒. นักเรียนมีความซาบซึ้ง ภูมิใจในการปฏิบัติตนสร้างชื่อเสียงให้แก่โรงเรียน ๓. นักเรียนเห็นคุณค่าและยอมรับความสามารถของตนเองและเพื่อนผู้อื่นในโรงเรียน ๔. กระบวนการจัดการเรียนรู้ กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง ฝึกสมาธิ ๑ - ๒ นาที สนทนาถึงมารยาท ข้อตกลงในการอยู่ร่วมกัน ๑. นักเรียนร่วมสนทนา ยกตัวอย่างนักเรียนที่แต่งกายเรียบร้อยถูกระเบียบ ของโรงเรียนนักเรียนที่มาโรงเรียนตรงเวลาซักถามการเดินทางมา - กลับ โรงเรียน และนักเรียนที่ช่วยพ่อแม่และครูทำางาน และการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม ๒. ครูนำาโล่ ถ้วยรางวัล ประกาศเกียรติคุณ ภาพถ่าย เพื่อแสดงว่าโรงเรียน มีสมาชิกที่ดี นักเรียนเคารพต่อกฎกติกา ก่อให้เกิดความสามัคคีในการ ปฏิบัติงาน จนโรงเรียนได้รับชื่อเสียงที่ดี นักเรียนที่แต่งกายเรียบร้อย โล่ ถ้วยรางวัล ป.๑-๓ แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีดีด้วยพระบารมีฯ เรื่อง สิ่งแวดล้อมโรงเรียนของเรา ระยะเวลาในการสอน ๑ ชั่วโมง
  • 19. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 72 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง ๓. นักเรียนเล่นเกมเกี่ยวกับการตั้งกฎกติกาการยอมรับในกฎกติกาที่กำ�หนด เช่น – เกมเป่ายิงฉุบ หรือ โอน้อยออก – เกมเก้าอี้ดนตรี – เกมทายถูกได้แต้ม (ตามรายการในทีวีจริงใจหรือไก่กา ฯลฯ) โดย การให้ร่วมกันตั้งกฎกติกา ระเบียบการเล่นไว้ ๔. ครูเล่านิทาน เรื่อง นกกระจาบ ฯลฯ เพื่อแสดงให้เห็นว่าการอยู่ร่วมกัน ด้วยความสุขจะต้องปฏิบัติตนตามกฎกติกาที่ร่วมกันกำ�หนดทั้งสิ้น ๕. ให้นักเรียนทำ�แบบสำ�รวจตนเอง (ใบงานที่ ๑) ๖. นักเรียนช่วยกันสรุป ชมเชยนักเรียนที่ทำ�คะแนนสูงสุด อธิบายลักษณะ ของผู้ที่กระทำ�ปฏิบัติว่าเป็นคนประเภทใด ๗. นักเรียนช่วยกันพิจารณาเพื่อนที่ช่วยรักษาความสะอาด ประหยัดนํ้า - ไฟ ปลูกต้นไม้ ดูแลต้นไม้ มีมารยาทและกิริยาดี สมควรได้รับคำ�ชมเชย หรือไม่ ๘. ครูจัดกิจกรรมการเลือกประธานชั้น รองประธานชั้น และกรรมการ สิ่งแวดล้อม โดยมีกระบวนการ – เสนอชื่อผู้เข้ารับการเลือกตั้ง โดยทุกคนช่วยกันเขียนคุณสมบัติ – ผู้ได้รับการเสนอชื่อจะต้องได้รับการยอมรับจากเพื่อนๆ เป็นคะแนน เสียงข้างมาก – ผู้ได้รับการเสนอชื่อออกมาแจ้งคุณสมบัติที่ดีของตนเอง เพื่อสมควร ได้รับการเลือกตั้ง – จัดให้มีการเลือกเสนอชื่อกรรมการจัดการเลือกตั้ง – พิธีการเลือกตั้ง – ประกาศผล ๘. นักเรียนที่ได้รับการเลือกตั้งออกมาแสดงความคิดเห็น (โดยมีครูสังเกต พฤติกรรม) ๙. นักเรียนร่วมกันอภิปรายและวิเคราะห์ วิจารณ์ วิธีการเลือกตั้งเป็นวิถีทาง ประชาธิปไตย ชี้ให้เห็นถึงกฎกติกาของสังคม และการยอมรับซึ่งกัน และกัน ก่อให้เกิดประโยชน์ความสันติสุขของสังคม ๑๐. นักเรียนร่วมกันวางกฎกติกา และระเบียบเพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติตนต่อ โรงเรียนตามผังความคิด(รวมเรื่องการรักษาสิ่งแวดล้อมและใช้ทรัพยากร อย่างประหยัดและคุ้มค่าไว้ด้วย) ๑๑. แบ่งนักเรียนเป็น ๔ กลุ่ม ศึกษาค้นคว้าจากหนังสือหรือสอบถามความรู้ จากวิทยากรเรื่อง วิธีการปฏิบัติตนตามกฎกติกา ระเบียบของโรงเรียนที่ วางไว้ แผนภูมิและกติกา – การบำ�บัดนํ้าเสียประกอบ ด้วย ๔ ขั้นตอน ๑. การบำ�บัดนํ้าเสียทางกายภาพ แยกของแข็งโดยใช้ตะแกรง แยกขยะ ๒. การบำ�บัดนํ้าเสียทางชีวภาพ ย่อยสารอินทรีย์ในนํ้า โดย อาศัยจุลินทรีย์ (ปุ๋ยชีวภาพ) แผนภูมิ ภาพ สารานุกรมไทย ฯลฯ เล่มที่ ๑๙ – การจัดการนํ้าทิ้งจากโรงเรียน ๑. ลดไขมัน แยกนํ้ามันจากครัว ๒. ทำ�ให้สารอินทรีย์ตกตะกอน แผนภูมิการเลือกตั้ง คำ�ถาม :- – นักเรียนคิดว่าหัวหน้า/ ประธานชั้น/รองประธานชั้น มีหน้าที่อย่างไร – ทำ�ไมจึงต้องเลือกประธานฯ แผนภูมิคุณสมบัติผู้นำ�ตาม ลักษณะประชาธิปไตย แสดงความคิดเห็น :- ให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น – การปรับปรุง/ตกแต่ง ห้องเรียน – รวบรวมความคิดเห็น – ปฏิบัติตามความคิดเห็น การรักษาสภาพแหล่งนํ้า
  • 20. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒ 73 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง กลุ่มที่ ๑ ระเบียบวินัยดี กลุ่มที่ ๒ ประพฤติเรียบร้อย กลุ่มที่ ๓ รักษาชื่อเสียงของโรงเรียน กลุ่มที่ ๔ รักษาสิ่งแวดล้อมและใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า ช่วยเหลืองาน โรงเรียน โดยให้นักเรียนผู้แทนกลุ่มจับสลากหัวข้อ ๑๒. ผู้แทนกลุ่มรายงานผลการศึกษาค้นคว้าตามหัวข้อที่กำ�หนด ๑๓. นักเรียนร่วมร้องเพลงที่ครูแต่งเนื้อร้องทำ�นองมาเป็นตัวอย่าง “เรามาช่วย กันทำ�ความสะอาด” และส่งเสริมการรักษาสิ่งแวดล้อม ๑๔. นักเรียนได้แสดงออกความสามารถในการแต่งเนื้อร้องและทำ�นอง “การ ปฏิบัติตนตามกฎ กติกาของโรงเรียน” เท่าที่จะทำ�ได้ ๑๕. นักเรียนร่วมสนทนาถึงกระบวนการปฏิบัติตนตามระบอบประชาธิปไตย ในโรงเรียน และจัดทำ�ผังความคิด (ภาคผนวก) ๑๖. จัดให้มีการโต้วาทีหรือแซววาที หรือจัดกิจกรรมให้ปฏิบัติงานร่วมกัน ๑๗. นักเรียนทำ�แบบทดสอบหลังบทเรียน (ใบงาน) – ปลูกจิตสำ�นึกทุกคนให้รักษา ความสะอาดของแหล่งนํ้า ในชุมชน – ให้ความรู้ประชาสัมพันธ์ – ให้ทุกคนตระหนักถึงผลเสีย จากภาวะมลพิษของแหล่งนํ้า คำ�ถาม :- – ทำ�ไมจึงต้องทำ�ตามความคิด เห็นส่วนใหญ่ – นักเรียนชอบทำ�ตามบังคับ หรือไม่ เพราะเหตุใด ข้อทดสอบ สมุดบันทึกพฤติกรรมนักเรียน ๕. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ ๑. อุปกรณ์ของจริง นักเรียน โล่ ถ้วยรางวัล ฯลฯ ๒. หนังสือค้นคว้า ๓. วิทยากร ๔. ภาพการแสดงความเคารพ ๕. เพลง (ตัวอย่าง) ทำ�ความสะอาด ๖. การวัดผลประเมินผล ๑. สังเกตการมีส่วนร่วมในกิจกรรม ๒. ทดสอบความรู้จากการรายงานและตอบคำ�ถาม ทำ�แบบทดสอบหลังบทเรียน (รายงาน) ๗. บันทึกผลหลังการสอน ๑. ดูการปฏิบัติรายบุคคล และกระบวนการกลุ่ม ๒. การแสดงความคิดเห็น และการปฏิบัติ (สอดคล้องกันหรือไม่)
  • 21. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 74 ๘. ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะผู้บริหาร ๑. กำ�หนดแนวทางปฏิบัติร่วมกันให้ชัดเจน ๒. ให้ทุกคนมีส่วนร่วม ๓. คุณธรรม จริยธรรม ๙. ภาคผนวก เนื้อหา - สาระ ใบงาน คุณภาพชีวิตใช้นํ้า - ไฟอย่างประหยัด ยึดหลักพอเพียง เกิดความสมดุล รักษาและสงวนธรรมชาติ แยกขยะ ทำ�ปุ๋ยคุณภาพ w w w w w w w w แนวคิดในการดูแลรักษา ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
  • 22. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒ 75 ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกันและกันใน ระบบของธรรมชาติ ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ สรุปและใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศ อย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด ป. ๑/๑ แยกแยะสิ่งต่างๆ รอบตัวที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึ้น ป. ๑/๒ ระบุความสัมพันธ์ของตำาแหน่ง ระยะ ทิศ ของสิ่งต่างๆ รอบตัว ป. ๑/๓ ระบุทิศหลักและที่ตั้งของสิ่งต่างๆ ป. ๑/๔ ใช้แผนผังง่ายๆ ในการแสดงตำาแหน่งของสิ่งต่างๆ ในห้องเรียน ป. ๑/๕ สังเกตและบอกการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศในรอบวัน มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์ วัฒนธรรม มีจิตสำานึก และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ตัวชี้วัด ป. ๑/๑ บอกสิ่งต่างๆ ที่เกิดตามธรรมชาติที่ส่งผลต่อความเป็นอยู่ของมนุษย์ ป. ๑/๒ สังเกตและเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมที่อยู่รอบตัว ป. ๑/๓ มีส่วนร่วมในการจัดระเบียบสิ่งแวดล้อมที่บ้านและชั้นเรียน ๒. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. นักเรียนรู้ประวัติ หน้าที่ และความสำาคัญของบุคคลในโรงเรียน ๒. นัักเรียนสามารถยกตัวอย่างบุคคลสำาคัญในโรงเรียนที่นำามาประพฤติปฏิบััติตาม ๓. บอกสิ่งต่างๆ ที่เกิดตามธรรมชาติ และส่งผลต่อความเป็นอยู่ของมนุษย์ได้ ๔. สังเกตความเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมได้ ๕. ร่วมในการจัดระเบียบสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนได้ ป.๑-๓ แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีดีด้วยพระบารมีฯ เรื่อง สิ่งแวดล้อมโรงเรียนของเรา ระยะเวลาในการสอน ๓ ชั่วโมง
  • 23. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 76 ๓. สาระสำ�คัญ ๑. สิ่งแวดล้อมรอบตัวเรามีความสำ�คัญอย่างไร ๒. ตำ�แหน่ง ระยะ ทิศ ของสิ่งต่างๆ รอบตัวมีความสัมพันธ์อย่างไร ๓. แผนผังของห้องเรียน ๔. มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม ๕. การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม ๔. กระบวนการจัดการเรียนรู้ กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง ฝึกสมาธิก่อนเรียน ๑ - ๒ นาที ฝึกสวดมนต์ สนทนาเกี่ยวกับการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อมและใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า ๑. ทบทวนความรู้เกี่ยวกับวิธีการแสวงหาข้อมูล และนำ�ข้อมูลเกี่ยวกับโรง- เรียน เช่น ภาพถ่ายเกี่ยวกับอาคารเรียน ส่วนต่างๆ ของบริเวณโรงเรียน ในอดีต ให้นักเรียนดูร่วมอภิปรายเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมด้วย ๒. นักเรียนอ่านประวัติความเป็นมา ผู้ก่อตั้ง และบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับ โรงเรียน ๓. บุคลากรที่สำ�คััญของโรงเรียน ประกอบด้วย บุคลากร ๒ ฝ่าย คือ ๑. บุคลากรภายนอกโรงเรียน ๒. บุคลากรภายในโรงเรียน แนะนำ�ให้นักเรียนรู้จักบุคลากรผู้อุปการะโรงเรียน กรรมการการ ศึกษา และบุคคลที่เกี่ยวข้องกับโรงเรียน ให้นักเรียนรู้จัก (จากภาพ) โดย เล่าประวัติ ความช่วยเหลือ การสนับสนุน พัฒนา และตั้งคำ�ถามสืบค้น ข้อมูล สนทนาซักถามเกี่ยวกับบุคลากรในโรงเรียน ความสำ�คัญ หน้าที่ของ บุคลากรในโรงเรียน ครูใหญ่ ครูประจำ�ชัั้น ครูพิเศษ ๔. นำ�ผังความคิด (Mind Mapping) องค์ประกอบบุคลากรโรงเรียนเพื่อ ทบทวน ความรู้เดิม ๕. นำ�ภาพบุคลากรที่สำ�คัญ ทำ�คุณประโยชน์ สมควรที่นำ�มาประพฤติ ปฏิบัติตาม ให้นัักเรียนดู แนะนำ�ชีวประวัติอย่างย่อ เช่น ผู้ก่อตั้งโรงเรียน ผู้อุปการคุณโรงเรียน กรรมการสถานศึกษา ๖. แบ่งนักเรียนเป็น ๔ กลุ่ม ศึกษาค้นคว้าชีวประวัติ ผลงานของบุคคลที่ นักเรียนเห็นว่ามีความสำ�คัญต่อโรงเรียน โดยใช้วิธีการ “ค้นหาข้อมูลทาง ประวัติศาสตร์” และศึกษาความเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม ๗. กลุ่มรายงานผลการศึกษาค้นคว้า ครูร่วมสรุปและให้ความรู้เพิ่มเติม ประวัติโรงเรียน และผู้ก่อตั้ง โรงเรียนและภาพ ภาพบุคลากรในโรงเรียน แผนภูมิ แผนภูมิ ภาพถ่าย แผนภูมิ ประวัติโรงเรียน ความเป็นมา ผู้ก่อตั้ง บุคลากร ให้อะไรกับ ชุมชน วัตถุประสงค์ ผู้ก่อตั้งโรงเรียน บุคลากรภายนอก บุคลากรภายใน
  • 24. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๒ 77 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง ๕. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ ๑. ภาพถ่ายเกี่ยวกับโรงเรียน อาคารเรียน บริเวณโรงเรียน และสภาพแวดล้อมในอดีต ๒. ภาพถ่ายบุคคลสำ�คัญของโรงเรียน ๓. วิทยากร ๔. เอกสาร ประวัติโรงเรียน ๕. ผังความคิดเกี่ยวกับบุคลากรของโรงเรียน ๖. กระดาษเขียนแผนภูมิ สีเมจิก ๘. นักเรียนร่วมกันจัดทำ�แผนภูมิชีวประวัติบุคคลสำ�คัญของ “โรงเรียนของ เรา” และเปรียบเทียบสภาพแวดล้อมของโรงเรียนในอดีตกับปัจจุบัน ๙. นักเรียนเขียนเรียงความเรื่อง “เราช่วยโรงเรียนของเราให้เจริญอย่างไร” หรือ “ความประทับใจบุคคลสำ�คัญของโรงเรียนเรา” หรือ “เรารักษาสิ่ง แวดล้อม ในโรงเรียนของเรา” ๑๐. ครูเชิญบุคลากรที่สำ�คัญของโรงเรียน เล่าเรื่องความเป็นมาของโรงเรียน (ประวัติ) และบุคคลที่มีส่วนช่วยให้โรงเรียนเจริญรุ่งเรือง และสภาพ- แวดล้อมที่เปลี่ยนไป และช่วยกันจัดระเบียบสิ่งแวดล้อม ๑๑. นักเรียนทำ�แบบทดสอบหลังบทเรียน แผนภูมิ วิทยากร ข้อทดสอบ สมุดบันทึกพฤติกรรมนักเรียน บุคลากรที่เกี่ยวข้อง ประวัติ แนวคิด วัตถุประสงค์ ผลงาน ความจงรักภักดี ต่อสถาบันฯ คุณภาพ: - การตรงต่อเวลา - ความสามัคคี ฯลฯ กิจกรรมวันสำ�คัญ การปฏิบัติตาม ข้อตกลงและระเบียบ การรักษาสิ่งแวดล้อม ในโรงเรียนและใกล้เคียง การปฏิบัติตนต่อครูและเพื่อน ฯลฯ การพูด การแต่งกาย วัฒนธรรมในโรงเรียน
  • 25. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 78 ๖. การวัดผลประเมินผล ๑. ทดสอบความรู้ ความเข้าใจจากการซักถาม การรายงาน ๒. สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วม ร่วมในงานกลุ่ม การศึกษาค้นคว้า ๓. ตรวจแบบทดสอบหลังบทเรียน ๗. บันทึกผลหลังการสอน ๑. ความสนใจ และความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนของเรา ๒. แนวคิดของนักเรียน และความคิดเห็น ๓. โรงเรียนในปัจจุบันมีความสำ�คัญต่อชุมชน/สังคม ๘. ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะผู้บริหาร – มีการจัดการเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่ส่งเสริม และสอดคล้องกับประวัติ ความเป็นมา และ หลักสูตรในปัจจุบัน ๙. ภาคผนวก ๑. บุคคลสำ�คัญของโรงเรียน ๒. แบบทดสอบหลังบทเรียน ตัวอย่าง บุคคลสำ�คัญของโรงเรียนวังไกลกังวล บุคคลภายนอก ๑. ผู้ก่อตั้งโรงเรียน ๒. กรรมการศึกษา ผู้เกี่ยวข้อง (ความเป็นมา) ผู้ก่อตั้งโรงเรียน ผู้บริหารโรงเรียน คณะทำ�งาน (อนุกรรมการต่างๆ) บุคลากรในโรงเรียน กรรมการ สมาคมผู้ปกครอง กรรมการ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม กรรมการศิษย์เก่า เครือข่ายผู้ปกครอง กรรมการสถานศึกษา โรงเรียนของเรา