SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 13
รายวิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ รหัสวิชา ว31104                                    กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ วทยาศาสตร์
                                                                                                           ิ
โรงเรียนนารายณ์คาผงวิทยา                            ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2555
สาระที่ 7 หน่ วยที่ 6                             เรื่อง ดาวฤกษ์ และกลุ่มดาวฤกษ์ (2)                 เวลา 2.00 ชั่วโมง
มาตรฐาน ว 7.1 เข้าใจวิวฒนาการของระบบสุ ริยะ กาแล็กซี และเอกภพ การปฏิ สัมพันธ์ภายใน
                                      ั
ระบบสุ ริย ะและผลต่อสิ่ ง มี ชีวิตบนโลก มี ก ระบวนการสื บ เสาะ หาความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์
สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนาความรู ้ไปใช้ประโยชน์
วัน ............. ที.่ .....เดือน.....................พ.ศ. ...........   ผู้เขียน/ผู้สอน ครู ศักดิ์อนันต์ อนันตสุ ข
……………………………………………………………………………………………………….
สาระสาคัญ
                               ่
            ดาวฤกษ์อยูในระบบใหญ่ เรี ยกว่า กาแล็กซี ซึ่ งแต่ละกาแล็กซี มีดาวฤกษ์เป็ นแสนล้านดวง
ดาวฤกษ์มีลกษณะเป็ นทรงกลมใหญ่ของแก๊สร้อน มีกาเนิ ดมาจากมวลของสสารระหว่างดาวผลิ ต
                 ั
พลังงานด้วยปฏิ กิริยาเทอร์ โมนิ วเคลียร์ มีขนาดความสว่างและสี แตกต่างกัน มีการเปลี่ ยนแปลง
และจุดจบของดาวแต่ละดวงแตกต่างกัน การเรี ยนรู ้ทาความเข้าใจถึงองค์ประกอบวิวฒนาการ และ                     ั
รู้จกลักษณะของกลุ่มดาวฤกษ์ จะช่วยทาให้เราเข้าใจถึงโลกเราในระบบสุ ริยะซึ่ งเป็ นส่ วนหนึ่ งของ
     ั
กาแล็กซีและเอกภพได้
ตัวชี้วด
       ั
            2. สื บค้นและอธิบายธรรมชาติและวัฒนาการของดาวฤกษ์

จุดประสงค์ การเรี ยนรู้
       1. อธิ บายความหมายของคาว่าดาวฤกษ์ได้
       2. อธิบายถึงองค์ประกอบและวิวฒนาการของดาวฤกษ์ได้
                                     ั
       3. อธิ บายความสัมพันธ์ระหว่างสี และอุณหภูมิของดาวฤกษ์ได้
       4. อธิ บายหลักการศึกษาดูดาว อ่านแผนที่ดาวและกลุ่มดาวได้

สาระการเรี ยนรู้
          - ดาวฤกษ์ เป็ นก้อนแก๊สร้อนขนาดใหญ่ กาเนิ ดมาจากเนบิวลา ที่มีองค์ประกอบส่ วนใหญ่
เป็ นธาตุไฮโดรเจน ที่แก่นกลางของ ดาวฤกษ์จะเกิดปฏิกิริยาเทอร์ โมนิวเคลียร์ หลอมนิวเคลียสของ
ไฮโดรเจนเป็ นนิวเคลียสของฮีเลียม ได้พลังงานออกมา
                                                                                    ่ ั
          - อันดับความสว่างของดาวฤกษ์ที่สังเกตเห็นได้มาจาก ความสว่างปรากฏที่ข้ ึนอยูกบความ
สว่างจริ งและระยะห่าง จากโลก
                                        ั
          - สี ของดาวฤกษ์มีความสัมพันธ์กบอุณหภูมิผวของดาวฤกษ์และอายุของดาวฤกษ์
                                                  ิ
- ดาวฤกษ์มีอายุยาวหรื อสั้น มีจุดจบเป็ นหลุมดา หรื อดาวนิ วตรอน หรื อดาวแคระขาว
       ่ ั
ขึ้นอยูกบมวลของดาวฤกษ์

เนือหา
   ้
         - ความหมายและองค์ประกอบของดาวฤกษ์
         - วิวฒนาการของดาวฤกษ์
              ั
         - ความสว่าง สี และอุณหภูมิของดาวฤกษ์
         - การศึกษาดูดาว อ่านแผนที่ดาว และกลุ่มดาวฤกษ์ที่ควรรู ้จก
                                                                 ั

การจัดกระบวนการเรียนรู้
1. ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน
         1. ครู ทบทวนความรู ้ เรื่ อง กาเนิดและวิวฒนาการของดาวฤกษ์และดวงอาทิตย์
                                                  ั
         2. ครู ถามนักเรี ยนว่า ในคืนที่ทองฟ้ าแจ่มใสไร้เมฆหมอก ถ้านักเรี ยนดูดาวด้วยตาเปล่าจะ
                                           ้
เห็นดาวต่างๆ มากมาย ดาวเหล่านั้นมีความสว่างเท่ากันหรื อไม่ (ดาวแต่ ละดวงมีความสว่ างแตกต่ าง
กัน เพราะดาวต่ างๆเหล่ านั้นอยู่ห่างจากผู้สังเกตไม่ เท่ ากัน)
         3. ครู แจ้งตัวชี้วดให้นกเรี ยนทราบ
                           ั    ั

2. ขั้นสอน/กิจกรรม
 2.1 ขั้นสร้ างความสนใจ
          1. นักเรี ยนสังเกตเปลวเทียนที่ มีสีต่างๆ กันและตอบคาถาม “เปลวเทียนแต่ ละสี มีอุณหภูมิ
เท่ากันหรือไม่ ”
          2. ครู เฉลยคาตอบ โดยสาธิ ตใช้ไม้แหย่เข้าไปในเปลวไฟ ให้ปลายไม้อยู่ในเปลวไฟสี แดง
นอกสุ ด จับเวลาจนกระทังปลายไม้ลุกไหม้ ทาซ้ าโดยเปลี่ยนไม้ใหม่ แหย่ไม้ไปที่เปลวไฟสี อื่นๆ
                            ่
เปรี ยบเทียบเวลาการลุกไหม้ (เปลวไฟสี นาเงินลุกไหม้ เร็ วที่ สุด แสดงว่ าเปลวไฟสี นาเงินมีอุณหภูมิ
                                           ้                                            ้
สูงกว่ าเปลวไฟสี อื่นๆ)
          3. ครู และนัก เรี ย นร่ วมอภิ ป รายสรุ ป ได้ว่า สี เหลื องแดงมี อุณหภู มิต่ า ส่ วนสี น้ า เงิ นมี
อุณหภูมิสูง แสดงว่าสี ของเปลวไฟบอกถึงอุณหภูมิได้ สี ของดาวฤกษ์ก็บอกถึงอุณหภูมิที่ผว           ิ
ของดาวฤกษ์ได้
2.2 ขั้นสารวจและค้ นหา
          1. ครู อธิ บายคาต่อไปนี้ : ความสว่างปรากฏ อันดับความสว่าง (แมกนิจูด) สี และอุณหภูมิ
ของดาวฤกษ์
          2. นักเรี ยนตอบคาถาม “เราเห็นดวงดาวต่ างๆ ขึ้นทางทิศใด เพราะเหตุใด” เฉลยคาตอบ
โดยการสาธิ ตติดตุ๊กตา “คน” บนลูกโลกจาลอง จัดวางตาแหน่งภาพดาวต่างๆ รอบลูกโลกจาลอง
นักเรี ยนกาหนดตาแหน่งของดาวกลุ่มหนึ่ งที่จะสังเกตการณ์ข้ ึน – ตก และตุ๊กตาแทนตัวเราบนโลก
ขณะเมื่อหมุนโลกจากทิศตะวันตกไปทิศตะวันออก (หมุนทวนเข็มนาฬิกา) และร่ วมอภิปรายให้
             ้ ่
ทราบว่า ผูที่อยูบนโลกกาลังเคลื่อนที่ไปพร้อมกับการหมุนของโลก จึงเห็นดวงดาวต่างๆ เคลื่อนที่
จากทิศตะวันออกไปทิศตะวันตก สวนทางกับทิศการหมุนของโลก
               แนวตอบ ดวงดาวขึ้นทางขอบฟ้ าทางทิศตะวันออก ตกทางขอบฟ้ าตะวันตก เป็ นเพราะ
โลกหมุนรอบตัวเองจากทิศตะวันตกไปทิศตะวันออก หรื อหมุนทวนเข็มนาฬิกา
          3. ครู สาธิ ตการขึ้น – ตก ของดวงดาวประกอบการอธิ บายรายละเอียดเรื่ อง หลักการดูดาว
ขั้นพื้นฐาน ได้ขอสรุ ปคื อ ดวงดาวที่อยู่ ณ ท้องฟ้ าทิ ศตะวันออกเมื่อเวลาหัวค่ าจะปรากฏอยู่กลาง
                      ้
ท้องฟ้ าห่างจากจุดเดิม 90 องศา ในเวลา 6 ชัวโมง โดยคิดจากโลกหมุนรอบตัวเองได้ชวโมงละ 15
                                                ่                                   ั่
องศา และจะตกลับหายไปทางทิศตะวันตกในเวลา 12 ชัวโมง เมื่อเวลาใกล้สว่าง
                                                            ่
          4. ครู จดวางดวงอาทิตย์จาลอง วางตาแหน่ งของลูกโลกจาลองให้สามารถโคจรรอบดวง
                    ั
อาทิตย์ และจัดวางภาพดาวจักรราศีท้ ง 12 รอบดวงอาทิตย์และโลก สาธิ ตการโคจรของโลก ไป
                                           ั
รอบดวงอาทิตย์ประกอบการอธิ บาย การที่โลกโคจรไปรอบดวงอาทิตย์ 1 รอบ ใช้เวลา 12 เดือน
แต่ละเดือนโลกจะอยูที่ตาแหน่งต่างๆ ทาให้คนบนโลกเห็นกลุ่มดาวแต่ละเดือนหมุนเวียนเปลี่ยนไป
                         ่
2.3 ขั้นอธิบายและลงข้ อสรุ ป
          1. นักเรี ยนร่ วมกันอภิปรายสรุ ปว่า คนบนโลกเห็นดวงอาทิตย์ปรากฏเคลื่อนที่ผานกลุ่มดาว
                                                                                       ่
จักรราศีไปวันละ 1 องศา จึงเห็นดวงดาวบนท้องฟ้ าขึ้นและตกเร็ วขึ้นวันละ 4 นาที
          2. นักเรี ยนศึกษาวิธีการสังเกตกลุ่มดาว 12 ราศี โดยใช้ภาพชุด “ตาแหน่งดาว” สาธิ ตครั้ง
แรกหมุนภาพโลก เปรี ยบเทียบกลางวันกลางคืนกับตาแหน่งกลุ่มดาว และจะสังเกตเห็นกลุ่มดาว
ใดบ้าง สาธิ ตครั้งที่ 2 นากระดาษปิ ดทับส่ วนล่างของภาพ เพื่อแสดงส่ วนบนเป็ นช่วงเวลากลางคืน
ที่จะเห็ นกลุ่ มดาว 6 กลุ่ ม บนท้องฟ้ าหมุ นภาพกลุ่ มดาว และร่ วมกันอภิปราย คนบนโลกจะ
สังเกตเห็นกลุ่มดาว 12 ราศี ขึ้น – ตก เปรี ยบเทียบกับการสาธิ ตครั้งแรก ได้ขอสรุ ป ในเวลาพลบ
                                                                                ้
ค่ามองเห็ นกลุ่มดาว 12 ราศี ประจาเดือนนั้นอยู่บนท้องฟ้ าทางขอบฟ้ าตะวันตก และสู งขึ้นบน
ท้องฟ้ าจะเห็นกลุ่มดาว 12 ราศี ประจาเดือนถัดไปเรื่ อยๆจนสุ ดขอบฟ้ าตะวันออกปริ มาณ 6 กลุ่มดาว
          3. ครู อธิ บายเรื่ อง หลักการดูดาวขั้นพื้นฐาน ได้ขอสรุ ป
                                                              ้
               - การดูดาวต้องทราบทิศ โดยใช้กลุ่มดาวในการบอกทิศได้หรื อใช้เข็มทิศ
               - กลุ่มดาวฤกษ์ประจาเดือน มีชื่อเรี ยกต่างๆ และอยูห่างกันคงที่
                                                                   ่
               - กลุ่มดาวมีประโยชน์ใช้เป็ นตาแหน่งอ้างอิง บอกตาแหน่งของดวงดาวต่างๆ บอกทิศ
                 คนบนโลก และบอกทิศเมื่อเดินทางออกไปนอกโลก
          4. นักเรี ยนศึกษาแผนที่ดาว อภิปรายร่ วมกันถึงการใช้แผนที่ดูดาว ดังนี้
               - การใช้แผนที่ดูดาว โดยกแผนที่ดาวเหนือศีรษะ ให้ทิศของแผนที่ ไปทางทิศที่ถูกต้อง
 เลือกเวลาให้ตรงกับความเป็ นจริ ง จะเห็นดาวในแผนที่ตรงกับดาวบนท้องฟ้ า
- ผูดูดาวต้องจินตนาการให้เห็นกลุ่มดาวเป็ นรู ปร่ างตามชื่อกลุ่มดาวนั้นๆ
                    ้
                - การดู ดาวกับคนหลายคน แต่ละคนต้องมีแผนที่ ดาวในการบอก อภิ ปรายร่ วมกัน
                - แผนที่ดาวต่างจากแผนที่โลกคือเมื่อตั้งแผนที่ดาวและแผนที่โลกทิศเหนื อทางเดียวกัน
 ทิศตะวันออกและทิศตะวันตกของแผนที่ดาว และแผนที่โลกจะสลับกัน การดูแผนที่โลกต้องก้มดู
ส าหรั บ แผนที่ ด าวต้อ งยกสู ง เหนื อ ศี ร ษะเงยหน้ า ดู สั ง เกตดาวบนท้อ งฟ้ า เปรี ยบเที ย บกั น
                - แผนที่ดาวแต่ละซี กโลกเหนือ ซี กโลกใต้ หรื อเส้นศูนย์สูตร แตกต่างกัน
           5. ครู อธิ บายกลุ่มดาว 12 ราศี ทาความเข้าใจเกี่ยวกับเส้นสุ ริยวิถี หรื อเส้นอีคลิพติค แถบ
เส้นสุ ริยวิถี กลุ่มดาวที่แทนสัตว์จริ งหรื อสัตว์สมมติ กลุ่มดาวที่ไม่ใช่สัตว์ ตาแหน่งของเส้นสุ ริยวิถี
และการปรากฏของดวงอาทิตย์ที่โคจรเข้ามาในกลุ่มดาว
2.4 ขั้นขยายความรู้
           ครู ให้นกเรี ยนแบ่งกลุ่มละ 4 คน ศึกษาคนละ 1 หัวข้อ ดังนี้ กลุ่มดาวหน้าหนาว กลุ่มดาว
                      ั
หน้าร้อน กลุ่มดาวหน้าฝน และกลุ่มดาวช่วงปลายปี และผลัดกันอธิ บายให้เพื่อนในกลุ่มฟั ง จนทุก
คนเข้าใจตรงกัน
2.5 ขั้นประเมิน
           1. ครู ให้นกเรี ยนแต่ละคนพิจารณาว่าในหัวข้อที่เรี ยนมา และในการปฏิบติกิจกรรมมีจุดใด
                          ั                                                           ั
ที่ ยง เข้าใจไม่ ชัดเจนหรื อยัง มี ขอสงสัย ถ้า มี ครู ช่วยอธิ บายเพิ่ มเติ ม และทดสอบความเข้า ใจของ
     ั                              ้
นักเรี ยนโดยการให้ตอบคาถาม
           2. นัก เรี ย นร่ วมกันแสดงความคิ ดเห็ นถึ ง ประโยชน์ ที่ ไ ด้จากการเรี ย นและการปฏิ บ ติ ั
กิจกรรมและการนาความรู ้ท่ีได้ไปใช้ประโยชน์
           3. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันประเมินการจัดกิจกรรมกลุ่ม ว่ามีปัญหา อุปสรรคใดและได้มีการ
แก้ไขอย่างไร ครู ให้คาชมเชยกลุ่มที่ทางานได้ดี ให้กาลังใจและข้อเสนอแนะแก่กลุ่มที่ควรปรับปรุ ง
3. ขั้นสรุ ป
           1. นักเรี ยนเขียนสรุ ปความสาคัญของดาวฤกษ์ การสังเกตกลุ่มดาวฤกษ์ และกลุ่มดาวตาม
ฤดูกาล
           2. ครู แนะนานักเรี ยนให้ศึกษาค้นคว้ารายละเอียดเพิมเติม เกี่ยวกับเครื่ องมือทางดาราศาสตร์
                                                                ่
จากหนังสื อ วารสาร เอกสาร ในห้องสมุด หรื อทางอินเทอร์เน็ต
           3. ครู ให้นกเรี ยนทาแบบทดสอบหลังเรี ยน
                        ั

สื่ อและแหล่ งการเรียนรู้
         1. หนังสื อเรี ยนสาระการเรี ยนรู ้พ้ืนฐาน โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ของสถาบันส่ งเสริ ม
การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
         2. เอกสารประกอบการสอน/ใบความรู้
3. แบบทดสอบหลังเรี ยน
       4. สื่ อสิ่ งพิมพ์และเว็บไซต์ต่างๆ ทางอินเตอร์ เน็ตที่เกี่ยวข้อง
การวัดและประเมินผล
 การวัดผลประเมินผลด้าน                                  วิธีการวัด             เครื่ องมือวัด                                              เกณฑ์การผ่าน
1. ด้านความรู ้ความเข้าใจ                      1.วัดจากแบบทดสอบ          1.แบบทดสอบหลังเรี ยน                                        1. ทาแบบทดสอบถูก
                                                                         ชนิดปรนัย 4 ตัวเลือก                                        มากกว่าหรื อ เท่ากับ 7
                                                                         จานวน 12 ข้อ                                                ข้อขึ้นไป
2. ด้านทักษะกระบวนการ                          สังเกตจากการปฏิบติกิจกรรม แบบสังเกตพฤติกรรมการ
                                                               ั                                                                     ได้คะแนนในระดับ 2
                                               ในชั้นเรี ยน              ทางาน                                                       ขึ้นไป

3. ด้านคุณลักษณะที่พึง                         การสังเกตพฤติกรรมความ                        แบบสังเกตพฤติกรรมความ ได้คะแนนในระดับ 2
ประสงค์                                        สนใจ และตั้งใจเรี ยน                         สนใจและตั้งใจเรี ยน   ขึ้นไป

กิจกรรมเสนอแนะ
                                            ั
        ครู ให้นกเรี ยนทานาฬิกาแดด โดยใช้พิกดภูมิศาสตร์ ของโรงเรี ยนนารายณ์คาผงวิทยา โดยดู
                ั
รายละเอียดจากเอกสารแนบท้ายแผนการจัดการเรี ยนรู้ที่ 13 และโครงงานวิทยาศาสตร์ “การศึกษา
                                        ั
และเปรี ยบเทียบผลการสร้างนาฬิกาแดด พิกดฟ้ าพนาสน”

ความคิดเห็นของผู้บังคับบัญชา

  ความเห็นหัวหน้ากลุ่มสาระ                                      ความเห็นหัวหน้า                                ความเห็นรองผูอานวยการ
                                                                                                                             ้
    การเรี ยนรู้วทยาศาสตร์
                 ิ                                             กลุ่มบริ หารวิชาการ                               กลุ่มบริ หารวิชาการ
  ...................................................   ...................................................   ...................................................
  ...................................................   ...................................................   ...................................................
  ...................................................   ...................................................   ...................................................
ลงชื่อ....................................... ลงชื่อ....................................... ลงชื่อ.......................................
(นางจิรารัตน์ เชื่อมกระโทก)                            (นางเพิ่มศิริ งามยิง)         ่            (นายประเสริ ฐ สันทอง)

ความเห็นของผู้บริ หารโรงเรี ยน
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
                                                                    ลงชื่อ..........................................................
                                                                                    ( นายทันใจ ชูทรงเดช )
                                                                         ผูอานวยการโรงเรี ยนนารายณ์คาผงวิทยา
                                                                            ้
                                                                        .................../....................../.......................
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง ดาวฤกษ์
1. ข้ อใดกล่ าวถึงดาวฤกษ์ ได้ ถูกต้ อง
            ก ดาวฤกษ์มีความหนาแน่นและอายุเท่ากับดวงอาทิตย์
                          ่
            ข ดาวฤกษ์อยูจุดเดิมบนท้องฟ้ าทุกวัน ไม่มีการเคลื่อนที่
            ค ดาวฤกษ์สามารถส่ องสว่างได้ เนื่องจากพลังงานนิวเคลียร์ ที่เกิดจากปฏิกิริยาฟิ วชัน
            ง นักดาราศาสตร์ศึกษาชนิดและลักษณะของดาวฤกษ์โดยอาศัยความสัมพันธ์ของมวล
และความสว่างของดาวฤกษ์
2. ลักษณะเด่ นของดาวยักษ์ แดง คืออะไร
            ก ดาวฤกษ์ที่เผาผลาญไฮโดรเจนที่บริ เวณใจกลางของมัน
            ข ดาวฤกษ์จะหดตัวอย่างรวดเร็ วจนกระทังดาวหายไปจากเอกภพ
                                                           ่
            ค ดาวฤกษ์มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ ว ความสว่างเพิ่มขึ้นแต่อุณหภูมิพ้ืนผิวลดลง
            ง ดาวฤกษ์มีอุณหภูมิสูงมาก ปฏิกิริยาเทอร์ โมนิ วเคลียร์ ไฮโดรเจนเป็ นฮีเลียมจะเกิดขึ้น
3. วิวฒนาการในช่ วงสุ ดท้ ายของดาวฤกษ์ ดาวที่หดตัวแล้ วมีมวลมากกว่า 1 1/4 เท่าของดวง
       ั
อาทิตย์จะกลายเป็ นอะไร
            ก หลุมดา                 ข เนบิวลา                 ค ดาวนิวตรอน ง ดาวแคระขาว
ใช้ ข้อมูลในตารางตอบคาถามข้ อ 4 - 6
             ชนิดของดาวฤกษ์                    สี ของดาวฤกษ์
                    1                                ขาว
                    2                               นาเงิน
                                                      ้
                    3                               เหลือง
                    4                                 ส้ ม
4. ดาวฤกษ์ ชนิดใดทีมอุณหภูมิมากทีสุด
                     ่ ี               ่
            ก 1                      ข 2                 ค 3               ง 4
5. ดวงอาทิตย์ของเรามีสีเหมือนดาวฤกษ์ ชนิดใด
             ก 1                     ข 2                 ค 3               ง 4
6. สี ของดาวฤกษ์ ในข้ อใดมีการเรียงลาดับตามอุณหภูมิพืนผิวต่าไปสู ง
                                                             ้
            ก 1,2,3,4                 ข 1 , 3 , 4 , 2 ค 4 , 3 ,2 , 1       ง 4,3,1,2
7. ความสว่างของดาวฤกษ์ หมายถึงอะไร
            ก พลังงานแสงของดาวฤกษ์ดวงนั้นใน 1 นาที
            ข พลังงานแสงของดาวฤกษ์ดวงนั้นใน 1 วินาที
            ค พลังงานแสงของดาวฤกษ์ทุกดวงใน 1 นาที
ง พลังงานแสงของดาวฤกษ์ทุกดวงใน 1 วินาที
8. เหตุใดเราจึงมองเห็นดาวฤกษ์ ปรากฏเรียงรายในลักษณะเดิมทุกๆ วัน
                ก ดาวฤกษ์ไม่มีการเคลื่อนที่
                ข ดาวเรี ยงปรากฏเป็ นรู ปต่างๆ โดยมีระยะระหว่างดวงดาวคงที่ตลอดชัวชีวตเรา     ่ ิ
                ค ดาวฤกษ์ในท้องฟ้ ามีจานวนมาก เมื่อเกิดการเคลื่อนที่เราจึงไม่สามารถสังเกตเห็นได้
                ง ดาวฤกษ์จะเคลื่อนที่จากทิศตะวันตกไปยังทิศตะวันออกอย่างช้าๆ จนไม่สามารถ
                    สังเกตได้
9. นักเรียนคิดว่ า การมองดาวเหนือ ณ จังหวัดใดทีจะทาให้ เห็นดาวเหนือมีค่ามุมเงยต่าสุ ด
                                                             ่
                ก นครพนม                       ข เชียงใหม่          ค สุ พรรณบุรี ง นครศรี ธรรมราช
10. ทิศเหนือของผู้สังเกตบนโลกคือข้ อใด
                ก ทิศที่ช้ ีจากผูสังเกตไปยังดาวเหนื อ
                                   ้                           ข ทิศที่ช้ ีจากผูสงเกตไปยังขั้วท้องฟ้ าเหนื อ
                                                                                ้ั
                                                                ่
                ค ทิศที่ช้ ีจากผูสังเกตไปยังจุดบนขอบฟ้ าที่อยูใต้ดาวเหนื อ
                                     ้
                ง ทิศที่ช้ ีจากผูสังเกตไปยังจุดบนท้องฟ้ าที่มีค่ามุมเงยเป็ นศูนย์ และมุมอะซิ มุทเป็ นศูนย์
                                 ้
อ่านข้ อความต่ อไปนีแล้วตอบคาถาม
                            ้
                1. มุมอะซิมุท                               3. ตาแหน่งเส้นขอบฟ้ า
                2. แนวดิ่งของวัตถุทองฟ้ ากับพื้นโลก 4. มุมที่เกิดจากมุมเงย
                                             ้
11. ในการบอกตาแหน่ งของวัตถุท้องฟาจะต้ องรู้ ค่าสิ่ งใด
                                                  ้
                ก 1 และ 2                      ข 2 และ 3            ค 3 และ 4                  ง 4 และ 1
12. นาย ก อยู่ทกรุ งเทพฯ นาย ข อยู่ทเ่ี ชี ยงใหม่ สั งเกตดาวดวงเดียวกันตั้งแต่ ขึนมาจนตก
                        ี่                                                                 ้
ถ้ านาย ก เห็นดาวดวงนีขนทีขอบฟาตรงแนวทิศตะวันออก ตะวันตกพอดี และเห็นดาวอยู่เหนือ
                               ้ ึ้ ่           ้
ขอบฟาเป็ นระยะเวลา 12 ชั่วโมง นาย ข จะเห็นดาวดวงนีอย่างไร
            ้                                                       ้
     ก เห็นดาวขึ้นในแนวทิศตะวันออก ตะวันตกพอดี และอยูเ่ หนือขอบฟ้ าเป็ นระยะเวลา
12 ชัวโมง
        ่
     ข เห็นดาวขึ้นในแนวทิศตะวันออก ตะวันตกพอดี และอยูเ่ หนือขอบฟ้ าเป็ นระยะเวลามากกว่า
12 ชัวโมง ่
     ค เห็นดาวขึ้นเฉี ยงจากแนวทิศตะวันออก ตะวันตกไปทางทิศเหนื อเล็กน้อย และอยูเ่ หนื อขอบ
ฟ้ าเป็ นระยะเวลามากกว่า 12 ชัวโมง         ่
     ง เห็นดาวขึ้นเฉี ยงจากแนวทิศตะวันออก ตะวันตกไปทางทิศเหนื อเล็กน้อย และอยูเ่ หนื อขอบ
ฟ้ าเป็ นระยะเวลาเท่ากับ 12 ชัวโมง       ่
                                       เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง ดาวฤกษ์
              1) ค.              2) ค.                3) ค.         4) ข.            5) ค.             6) ง.
              7) ข.              8) ข.                9) ง.         10) ก.           11) ง.          12) ง.

More Related Content

What's hot

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์Kobwit Piriyawat
 
โครงสร้างรายวิชาดวงดาวบนท้องฟ้า
โครงสร้างรายวิชาดวงดาวบนท้องฟ้าโครงสร้างรายวิชาดวงดาวบนท้องฟ้า
โครงสร้างรายวิชาดวงดาวบนท้องฟ้าkrupornpana55
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะkalita123
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศKhwankamon Changwiriya
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง พลังงานแสง+ป.5+273+dltvscip...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง พลังงานแสง+ป.5+273+dltvscip...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง พลังงานแสง+ป.5+273+dltvscip...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง พลังงานแสง+ป.5+273+dltvscip...Prachoom Rangkasikorn
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
แผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็กแผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็กNiwat Yod
 
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะเล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะmayureesongnoo
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์Kobwit Piriyawat
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียkrupornpana55
 

What's hot (19)

Contentastrounit5
Contentastrounit5Contentastrounit5
Contentastrounit5
 
Contentastrounit3
Contentastrounit3Contentastrounit3
Contentastrounit3
 
Astroplan16
Astroplan16Astroplan16
Astroplan16
 
Contentastrounit2
Contentastrounit2Contentastrounit2
Contentastrounit2
 
Astroplan18
Astroplan18Astroplan18
Astroplan18
 
Contentastrounit1
Contentastrounit1Contentastrounit1
Contentastrounit1
 
เอกสารประกอบการเรียน โลก
เอกสารประกอบการเรียน โลกเอกสารประกอบการเรียน โลก
เอกสารประกอบการเรียน โลก
 
Contentastrounit4
Contentastrounit4Contentastrounit4
Contentastrounit4
 
ตัวชี้วัด วิทย์ม 3
ตัวชี้วัด วิทย์ม 3ตัวชี้วัด วิทย์ม 3
ตัวชี้วัด วิทย์ม 3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
 
โครงสร้างรายวิชาดวงดาวบนท้องฟ้า
โครงสร้างรายวิชาดวงดาวบนท้องฟ้าโครงสร้างรายวิชาดวงดาวบนท้องฟ้า
โครงสร้างรายวิชาดวงดาวบนท้องฟ้า
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง พลังงานแสง+ป.5+273+dltvscip...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง พลังงานแสง+ป.5+273+dltvscip...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง พลังงานแสง+ป.5+273+dltvscip...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง พลังงานแสง+ป.5+273+dltvscip...
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
แผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็กแผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็ก
 
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะเล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
 

Viewers also liked

สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์
สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์
สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์SAKANAN ANANTASOOK
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องระบบสุริยะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องระบบสุริยะแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องระบบสุริยะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องระบบสุริยะKook Su-Ja
 
เรื่องที่ 5 ธรณีภาค
เรื่องที่ 5 ธรณีภาคเรื่องที่ 5 ธรณีภาค
เรื่องที่ 5 ธรณีภาคKobwit Piriyawat
 
เรื่องที่ 3 ภูเขาไฟ
เรื่องที่ 3 ภูเขาไฟเรื่องที่ 3 ภูเขาไฟ
เรื่องที่ 3 ภูเขาไฟKobwit Piriyawat
 
เรื่องที่ 2 แผ่นดินไหว
เรื่องที่ 2 แผ่นดินไหวเรื่องที่ 2 แผ่นดินไหว
เรื่องที่ 2 แผ่นดินไหวKobwit Piriyawat
 
เรื่องที่ 1 โครงสร้างของโลก
เรื่องที่ 1 โครงสร้างของโลกเรื่องที่ 1 โครงสร้างของโลก
เรื่องที่ 1 โครงสร้างของโลกKobwit Piriyawat
 
เรื่องที่ 4 สึนามิ
เรื่องที่ 4 สึนามิเรื่องที่ 4 สึนามิ
เรื่องที่ 4 สึนามิKobwit Piriyawat
 
เค้าโครงสอน ม.5
เค้าโครงสอน ม.5เค้าโครงสอน ม.5
เค้าโครงสอน ม.5Kobwit Piriyawat
 
เรื่องที่ 7 ซากดึกดำบรรพ์
เรื่องที่ 7 ซากดึกดำบรรพ์เรื่องที่ 7 ซากดึกดำบรรพ์
เรื่องที่ 7 ซากดึกดำบรรพ์Kobwit Piriyawat
 
เรื่องที่ 8 ธรณีประวัติ
เรื่องที่ 8 ธรณีประวัติเรื่องที่ 8 ธรณีประวัติ
เรื่องที่ 8 ธรณีประวัติKobwit Piriyawat
 
เรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหิน
เรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหินเรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหิน
เรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหินKobwit Piriyawat
 
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceKobwit Piriyawat
 

Viewers also liked (13)

สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์
สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์
สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องระบบสุริยะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องระบบสุริยะแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องระบบสุริยะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องระบบสุริยะ
 
เรื่องที่ 5 ธรณีภาค
เรื่องที่ 5 ธรณีภาคเรื่องที่ 5 ธรณีภาค
เรื่องที่ 5 ธรณีภาค
 
เรื่องที่ 3 ภูเขาไฟ
เรื่องที่ 3 ภูเขาไฟเรื่องที่ 3 ภูเขาไฟ
เรื่องที่ 3 ภูเขาไฟ
 
เรื่องที่ 2 แผ่นดินไหว
เรื่องที่ 2 แผ่นดินไหวเรื่องที่ 2 แผ่นดินไหว
เรื่องที่ 2 แผ่นดินไหว
 
เรื่องที่ 1 โครงสร้างของโลก
เรื่องที่ 1 โครงสร้างของโลกเรื่องที่ 1 โครงสร้างของโลก
เรื่องที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
เรื่องที่ 4 สึนามิ
เรื่องที่ 4 สึนามิเรื่องที่ 4 สึนามิ
เรื่องที่ 4 สึนามิ
 
เค้าโครงสอน ม.5
เค้าโครงสอน ม.5เค้าโครงสอน ม.5
เค้าโครงสอน ม.5
 
เรื่องที่ 7 ซากดึกดำบรรพ์
เรื่องที่ 7 ซากดึกดำบรรพ์เรื่องที่ 7 ซากดึกดำบรรพ์
เรื่องที่ 7 ซากดึกดำบรรพ์
 
เรื่องที่ 8 ธรณีประวัติ
เรื่องที่ 8 ธรณีประวัติเรื่องที่ 8 ธรณีประวัติ
เรื่องที่ 8 ธรณีประวัติ
 
เรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหิน
เรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหินเรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหิน
เรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหิน
 
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
 

Similar to Astroplan13

อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์55
อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์55อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์55
อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์55yadanoknun
 
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาวWichai Likitponrak
 
กลุ่มดาวจักรราศี
กลุ่มดาวจักรราศีกลุ่มดาวจักรราศี
กลุ่มดาวจักรราศีnetissfs
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง พลังงานและแสง+ป.6+290+dltvsci...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง พลังงานและแสง+ป.6+290+dltvsci...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง พลังงานและแสง+ป.6+290+dltvsci...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง พลังงานและแสง+ป.6+290+dltvsci...Prachoom Rangkasikorn
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ดาวฤกษ์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ดาวฤกษ์โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ดาวฤกษ์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ดาวฤกษ์น้อง อด.
 
กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3Sukumal Ekayodhin
 
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคมการสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคมtanakit pintong
 
ม642(แก้)
ม642(แก้)ม642(แก้)
ม642(แก้)BEll Apinya
 
โลกดาราศาสตร๋ (IS-2)
โลกดาราศาสตร๋ (IS-2)โลกดาราศาสตร๋ (IS-2)
โลกดาราศาสตร๋ (IS-2)Manatsanan Chanklang
 
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอกkruannchem
 

Similar to Astroplan13 (20)

Sun
SunSun
Sun
 
ม611(แก้)
ม611(แก้)ม611(แก้)
ม611(แก้)
 
ม611(แก้)
ม611(แก้)ม611(แก้)
ม611(แก้)
 
ม611(แก้)
ม611(แก้)ม611(แก้)
ม611(แก้)
 
อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์55
อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์55อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์55
อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์55
 
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
 
กลุ่มดาวจักรราศี
กลุ่มดาวจักรราศีกลุ่มดาวจักรราศี
กลุ่มดาวจักรราศี
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง พลังงานและแสง+ป.6+290+dltvsci...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง พลังงานและแสง+ป.6+290+dltvsci...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง พลังงานและแสง+ป.6+290+dltvsci...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง พลังงานและแสง+ป.6+290+dltvsci...
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ดาวฤกษ์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ดาวฤกษ์โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ดาวฤกษ์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ดาวฤกษ์
 
กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3
 
ดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์ดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์
 
ดาวฤกษ
ดาวฤกษ ดาวฤกษ
ดาวฤกษ
 
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคมการสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
 
กลุ่มที่ 4
กลุ่มที่ 4กลุ่มที่ 4
กลุ่มที่ 4
 
กลุ่มที่ 4
กลุ่มที่ 4กลุ่มที่ 4
กลุ่มที่ 4
 
ม642(แก้)
ม642(แก้)ม642(แก้)
ม642(แก้)
 
โลกดาราศาสตร๋ (IS-2)
โลกดาราศาสตร๋ (IS-2)โลกดาราศาสตร๋ (IS-2)
โลกดาราศาสตร๋ (IS-2)
 
Astro2 pdf
Astro2 pdfAstro2 pdf
Astro2 pdf
 
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
 
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 

More from SAKANAN ANANTASOOK

เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย SAKANAN ANANTASOOK
 
วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา
วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา
วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา SAKANAN ANANTASOOK
 
ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6
ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6
ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6SAKANAN ANANTASOOK
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง SAKANAN ANANTASOOK
 
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทยการสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทยSAKANAN ANANTASOOK
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานSAKANAN ANANTASOOK
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือSAKANAN ANANTASOOK
 
บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่
บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่
บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่SAKANAN ANANTASOOK
 
Eratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-version
Eratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-versionEratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-version
Eratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-versionSAKANAN ANANTASOOK
 
Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.
Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.
Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)
TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)
TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)
TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)
TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)
TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)
TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)
TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)
TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Journal09 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 9)
TSMT Journal09 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 9)TSMT Journal09 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 9)
TSMT Journal09 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 9)SAKANAN ANANTASOOK
 

More from SAKANAN ANANTASOOK (20)

เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย
 
วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา
วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา
วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา
 
ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6
ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6
ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
 
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทยการสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่
บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่
บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่
 
Eratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-version
Eratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-versionEratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-version
Eratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-version
 
Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.
Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.
Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.
 
PISA2015THAILAND
PISA2015THAILANDPISA2015THAILAND
PISA2015THAILAND
 
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
 
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
 
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
 
TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)
TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)
TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)
 
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
 
TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)
TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)
TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)
 
TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)
TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)
TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)
 
TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)
TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)
TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)
 
TSMT Journal09 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 9)
TSMT Journal09 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 9)TSMT Journal09 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 9)
TSMT Journal09 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 9)
 

Astroplan13

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 13 รายวิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ รหัสวิชา ว31104 กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ วทยาศาสตร์ ิ โรงเรียนนารายณ์คาผงวิทยา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2555 สาระที่ 7 หน่ วยที่ 6 เรื่อง ดาวฤกษ์ และกลุ่มดาวฤกษ์ (2) เวลา 2.00 ชั่วโมง มาตรฐาน ว 7.1 เข้าใจวิวฒนาการของระบบสุ ริยะ กาแล็กซี และเอกภพ การปฏิ สัมพันธ์ภายใน ั ระบบสุ ริย ะและผลต่อสิ่ ง มี ชีวิตบนโลก มี ก ระบวนการสื บ เสาะ หาความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนาความรู ้ไปใช้ประโยชน์ วัน ............. ที.่ .....เดือน.....................พ.ศ. ........... ผู้เขียน/ผู้สอน ครู ศักดิ์อนันต์ อนันตสุ ข ………………………………………………………………………………………………………. สาระสาคัญ ่ ดาวฤกษ์อยูในระบบใหญ่ เรี ยกว่า กาแล็กซี ซึ่ งแต่ละกาแล็กซี มีดาวฤกษ์เป็ นแสนล้านดวง ดาวฤกษ์มีลกษณะเป็ นทรงกลมใหญ่ของแก๊สร้อน มีกาเนิ ดมาจากมวลของสสารระหว่างดาวผลิ ต ั พลังงานด้วยปฏิ กิริยาเทอร์ โมนิ วเคลียร์ มีขนาดความสว่างและสี แตกต่างกัน มีการเปลี่ ยนแปลง และจุดจบของดาวแต่ละดวงแตกต่างกัน การเรี ยนรู ้ทาความเข้าใจถึงองค์ประกอบวิวฒนาการ และ ั รู้จกลักษณะของกลุ่มดาวฤกษ์ จะช่วยทาให้เราเข้าใจถึงโลกเราในระบบสุ ริยะซึ่ งเป็ นส่ วนหนึ่ งของ ั กาแล็กซีและเอกภพได้ ตัวชี้วด ั 2. สื บค้นและอธิบายธรรมชาติและวัฒนาการของดาวฤกษ์ จุดประสงค์ การเรี ยนรู้ 1. อธิ บายความหมายของคาว่าดาวฤกษ์ได้ 2. อธิบายถึงองค์ประกอบและวิวฒนาการของดาวฤกษ์ได้ ั 3. อธิ บายความสัมพันธ์ระหว่างสี และอุณหภูมิของดาวฤกษ์ได้ 4. อธิ บายหลักการศึกษาดูดาว อ่านแผนที่ดาวและกลุ่มดาวได้ สาระการเรี ยนรู้ - ดาวฤกษ์ เป็ นก้อนแก๊สร้อนขนาดใหญ่ กาเนิ ดมาจากเนบิวลา ที่มีองค์ประกอบส่ วนใหญ่ เป็ นธาตุไฮโดรเจน ที่แก่นกลางของ ดาวฤกษ์จะเกิดปฏิกิริยาเทอร์ โมนิวเคลียร์ หลอมนิวเคลียสของ ไฮโดรเจนเป็ นนิวเคลียสของฮีเลียม ได้พลังงานออกมา ่ ั - อันดับความสว่างของดาวฤกษ์ที่สังเกตเห็นได้มาจาก ความสว่างปรากฏที่ข้ ึนอยูกบความ สว่างจริ งและระยะห่าง จากโลก ั - สี ของดาวฤกษ์มีความสัมพันธ์กบอุณหภูมิผวของดาวฤกษ์และอายุของดาวฤกษ์ ิ
  • 2. - ดาวฤกษ์มีอายุยาวหรื อสั้น มีจุดจบเป็ นหลุมดา หรื อดาวนิ วตรอน หรื อดาวแคระขาว ่ ั ขึ้นอยูกบมวลของดาวฤกษ์ เนือหา ้ - ความหมายและองค์ประกอบของดาวฤกษ์ - วิวฒนาการของดาวฤกษ์ ั - ความสว่าง สี และอุณหภูมิของดาวฤกษ์ - การศึกษาดูดาว อ่านแผนที่ดาว และกลุ่มดาวฤกษ์ที่ควรรู ้จก ั การจัดกระบวนการเรียนรู้ 1. ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน 1. ครู ทบทวนความรู ้ เรื่ อง กาเนิดและวิวฒนาการของดาวฤกษ์และดวงอาทิตย์ ั 2. ครู ถามนักเรี ยนว่า ในคืนที่ทองฟ้ าแจ่มใสไร้เมฆหมอก ถ้านักเรี ยนดูดาวด้วยตาเปล่าจะ ้ เห็นดาวต่างๆ มากมาย ดาวเหล่านั้นมีความสว่างเท่ากันหรื อไม่ (ดาวแต่ ละดวงมีความสว่ างแตกต่ าง กัน เพราะดาวต่ างๆเหล่ านั้นอยู่ห่างจากผู้สังเกตไม่ เท่ ากัน) 3. ครู แจ้งตัวชี้วดให้นกเรี ยนทราบ ั ั 2. ขั้นสอน/กิจกรรม 2.1 ขั้นสร้ างความสนใจ 1. นักเรี ยนสังเกตเปลวเทียนที่ มีสีต่างๆ กันและตอบคาถาม “เปลวเทียนแต่ ละสี มีอุณหภูมิ เท่ากันหรือไม่ ” 2. ครู เฉลยคาตอบ โดยสาธิ ตใช้ไม้แหย่เข้าไปในเปลวไฟ ให้ปลายไม้อยู่ในเปลวไฟสี แดง นอกสุ ด จับเวลาจนกระทังปลายไม้ลุกไหม้ ทาซ้ าโดยเปลี่ยนไม้ใหม่ แหย่ไม้ไปที่เปลวไฟสี อื่นๆ ่ เปรี ยบเทียบเวลาการลุกไหม้ (เปลวไฟสี นาเงินลุกไหม้ เร็ วที่ สุด แสดงว่ าเปลวไฟสี นาเงินมีอุณหภูมิ ้ ้ สูงกว่ าเปลวไฟสี อื่นๆ) 3. ครู และนัก เรี ย นร่ วมอภิ ป รายสรุ ป ได้ว่า สี เหลื องแดงมี อุณหภู มิต่ า ส่ วนสี น้ า เงิ นมี อุณหภูมิสูง แสดงว่าสี ของเปลวไฟบอกถึงอุณหภูมิได้ สี ของดาวฤกษ์ก็บอกถึงอุณหภูมิที่ผว ิ ของดาวฤกษ์ได้ 2.2 ขั้นสารวจและค้ นหา 1. ครู อธิ บายคาต่อไปนี้ : ความสว่างปรากฏ อันดับความสว่าง (แมกนิจูด) สี และอุณหภูมิ ของดาวฤกษ์ 2. นักเรี ยนตอบคาถาม “เราเห็นดวงดาวต่ างๆ ขึ้นทางทิศใด เพราะเหตุใด” เฉลยคาตอบ โดยการสาธิ ตติดตุ๊กตา “คน” บนลูกโลกจาลอง จัดวางตาแหน่งภาพดาวต่างๆ รอบลูกโลกจาลอง
  • 3. นักเรี ยนกาหนดตาแหน่งของดาวกลุ่มหนึ่ งที่จะสังเกตการณ์ข้ ึน – ตก และตุ๊กตาแทนตัวเราบนโลก ขณะเมื่อหมุนโลกจากทิศตะวันตกไปทิศตะวันออก (หมุนทวนเข็มนาฬิกา) และร่ วมอภิปรายให้ ้ ่ ทราบว่า ผูที่อยูบนโลกกาลังเคลื่อนที่ไปพร้อมกับการหมุนของโลก จึงเห็นดวงดาวต่างๆ เคลื่อนที่ จากทิศตะวันออกไปทิศตะวันตก สวนทางกับทิศการหมุนของโลก แนวตอบ ดวงดาวขึ้นทางขอบฟ้ าทางทิศตะวันออก ตกทางขอบฟ้ าตะวันตก เป็ นเพราะ โลกหมุนรอบตัวเองจากทิศตะวันตกไปทิศตะวันออก หรื อหมุนทวนเข็มนาฬิกา 3. ครู สาธิ ตการขึ้น – ตก ของดวงดาวประกอบการอธิ บายรายละเอียดเรื่ อง หลักการดูดาว ขั้นพื้นฐาน ได้ขอสรุ ปคื อ ดวงดาวที่อยู่ ณ ท้องฟ้ าทิ ศตะวันออกเมื่อเวลาหัวค่ าจะปรากฏอยู่กลาง ้ ท้องฟ้ าห่างจากจุดเดิม 90 องศา ในเวลา 6 ชัวโมง โดยคิดจากโลกหมุนรอบตัวเองได้ชวโมงละ 15 ่ ั่ องศา และจะตกลับหายไปทางทิศตะวันตกในเวลา 12 ชัวโมง เมื่อเวลาใกล้สว่าง ่ 4. ครู จดวางดวงอาทิตย์จาลอง วางตาแหน่ งของลูกโลกจาลองให้สามารถโคจรรอบดวง ั อาทิตย์ และจัดวางภาพดาวจักรราศีท้ ง 12 รอบดวงอาทิตย์และโลก สาธิ ตการโคจรของโลก ไป ั รอบดวงอาทิตย์ประกอบการอธิ บาย การที่โลกโคจรไปรอบดวงอาทิตย์ 1 รอบ ใช้เวลา 12 เดือน แต่ละเดือนโลกจะอยูที่ตาแหน่งต่างๆ ทาให้คนบนโลกเห็นกลุ่มดาวแต่ละเดือนหมุนเวียนเปลี่ยนไป ่ 2.3 ขั้นอธิบายและลงข้ อสรุ ป 1. นักเรี ยนร่ วมกันอภิปรายสรุ ปว่า คนบนโลกเห็นดวงอาทิตย์ปรากฏเคลื่อนที่ผานกลุ่มดาว ่ จักรราศีไปวันละ 1 องศา จึงเห็นดวงดาวบนท้องฟ้ าขึ้นและตกเร็ วขึ้นวันละ 4 นาที 2. นักเรี ยนศึกษาวิธีการสังเกตกลุ่มดาว 12 ราศี โดยใช้ภาพชุด “ตาแหน่งดาว” สาธิ ตครั้ง แรกหมุนภาพโลก เปรี ยบเทียบกลางวันกลางคืนกับตาแหน่งกลุ่มดาว และจะสังเกตเห็นกลุ่มดาว ใดบ้าง สาธิ ตครั้งที่ 2 นากระดาษปิ ดทับส่ วนล่างของภาพ เพื่อแสดงส่ วนบนเป็ นช่วงเวลากลางคืน ที่จะเห็ นกลุ่ มดาว 6 กลุ่ ม บนท้องฟ้ าหมุ นภาพกลุ่ มดาว และร่ วมกันอภิปราย คนบนโลกจะ สังเกตเห็นกลุ่มดาว 12 ราศี ขึ้น – ตก เปรี ยบเทียบกับการสาธิ ตครั้งแรก ได้ขอสรุ ป ในเวลาพลบ ้ ค่ามองเห็ นกลุ่มดาว 12 ราศี ประจาเดือนนั้นอยู่บนท้องฟ้ าทางขอบฟ้ าตะวันตก และสู งขึ้นบน ท้องฟ้ าจะเห็นกลุ่มดาว 12 ราศี ประจาเดือนถัดไปเรื่ อยๆจนสุ ดขอบฟ้ าตะวันออกปริ มาณ 6 กลุ่มดาว 3. ครู อธิ บายเรื่ อง หลักการดูดาวขั้นพื้นฐาน ได้ขอสรุ ป ้ - การดูดาวต้องทราบทิศ โดยใช้กลุ่มดาวในการบอกทิศได้หรื อใช้เข็มทิศ - กลุ่มดาวฤกษ์ประจาเดือน มีชื่อเรี ยกต่างๆ และอยูห่างกันคงที่ ่ - กลุ่มดาวมีประโยชน์ใช้เป็ นตาแหน่งอ้างอิง บอกตาแหน่งของดวงดาวต่างๆ บอกทิศ คนบนโลก และบอกทิศเมื่อเดินทางออกไปนอกโลก 4. นักเรี ยนศึกษาแผนที่ดาว อภิปรายร่ วมกันถึงการใช้แผนที่ดูดาว ดังนี้ - การใช้แผนที่ดูดาว โดยกแผนที่ดาวเหนือศีรษะ ให้ทิศของแผนที่ ไปทางทิศที่ถูกต้อง เลือกเวลาให้ตรงกับความเป็ นจริ ง จะเห็นดาวในแผนที่ตรงกับดาวบนท้องฟ้ า
  • 4. - ผูดูดาวต้องจินตนาการให้เห็นกลุ่มดาวเป็ นรู ปร่ างตามชื่อกลุ่มดาวนั้นๆ ้ - การดู ดาวกับคนหลายคน แต่ละคนต้องมีแผนที่ ดาวในการบอก อภิ ปรายร่ วมกัน - แผนที่ดาวต่างจากแผนที่โลกคือเมื่อตั้งแผนที่ดาวและแผนที่โลกทิศเหนื อทางเดียวกัน ทิศตะวันออกและทิศตะวันตกของแผนที่ดาว และแผนที่โลกจะสลับกัน การดูแผนที่โลกต้องก้มดู ส าหรั บ แผนที่ ด าวต้อ งยกสู ง เหนื อ ศี ร ษะเงยหน้ า ดู สั ง เกตดาวบนท้อ งฟ้ า เปรี ยบเที ย บกั น - แผนที่ดาวแต่ละซี กโลกเหนือ ซี กโลกใต้ หรื อเส้นศูนย์สูตร แตกต่างกัน 5. ครู อธิ บายกลุ่มดาว 12 ราศี ทาความเข้าใจเกี่ยวกับเส้นสุ ริยวิถี หรื อเส้นอีคลิพติค แถบ เส้นสุ ริยวิถี กลุ่มดาวที่แทนสัตว์จริ งหรื อสัตว์สมมติ กลุ่มดาวที่ไม่ใช่สัตว์ ตาแหน่งของเส้นสุ ริยวิถี และการปรากฏของดวงอาทิตย์ที่โคจรเข้ามาในกลุ่มดาว 2.4 ขั้นขยายความรู้ ครู ให้นกเรี ยนแบ่งกลุ่มละ 4 คน ศึกษาคนละ 1 หัวข้อ ดังนี้ กลุ่มดาวหน้าหนาว กลุ่มดาว ั หน้าร้อน กลุ่มดาวหน้าฝน และกลุ่มดาวช่วงปลายปี และผลัดกันอธิ บายให้เพื่อนในกลุ่มฟั ง จนทุก คนเข้าใจตรงกัน 2.5 ขั้นประเมิน 1. ครู ให้นกเรี ยนแต่ละคนพิจารณาว่าในหัวข้อที่เรี ยนมา และในการปฏิบติกิจกรรมมีจุดใด ั ั ที่ ยง เข้าใจไม่ ชัดเจนหรื อยัง มี ขอสงสัย ถ้า มี ครู ช่วยอธิ บายเพิ่ มเติ ม และทดสอบความเข้า ใจของ ั ้ นักเรี ยนโดยการให้ตอบคาถาม 2. นัก เรี ย นร่ วมกันแสดงความคิ ดเห็ นถึ ง ประโยชน์ ที่ ไ ด้จากการเรี ย นและการปฏิ บ ติ ั กิจกรรมและการนาความรู ้ท่ีได้ไปใช้ประโยชน์ 3. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันประเมินการจัดกิจกรรมกลุ่ม ว่ามีปัญหา อุปสรรคใดและได้มีการ แก้ไขอย่างไร ครู ให้คาชมเชยกลุ่มที่ทางานได้ดี ให้กาลังใจและข้อเสนอแนะแก่กลุ่มที่ควรปรับปรุ ง 3. ขั้นสรุ ป 1. นักเรี ยนเขียนสรุ ปความสาคัญของดาวฤกษ์ การสังเกตกลุ่มดาวฤกษ์ และกลุ่มดาวตาม ฤดูกาล 2. ครู แนะนานักเรี ยนให้ศึกษาค้นคว้ารายละเอียดเพิมเติม เกี่ยวกับเครื่ องมือทางดาราศาสตร์ ่ จากหนังสื อ วารสาร เอกสาร ในห้องสมุด หรื อทางอินเทอร์เน็ต 3. ครู ให้นกเรี ยนทาแบบทดสอบหลังเรี ยน ั สื่ อและแหล่ งการเรียนรู้ 1. หนังสื อเรี ยนสาระการเรี ยนรู ้พ้ืนฐาน โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ของสถาบันส่ งเสริ ม การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) 2. เอกสารประกอบการสอน/ใบความรู้
  • 5. 3. แบบทดสอบหลังเรี ยน 4. สื่ อสิ่ งพิมพ์และเว็บไซต์ต่างๆ ทางอินเตอร์ เน็ตที่เกี่ยวข้อง การวัดและประเมินผล การวัดผลประเมินผลด้าน วิธีการวัด เครื่ องมือวัด เกณฑ์การผ่าน 1. ด้านความรู ้ความเข้าใจ 1.วัดจากแบบทดสอบ 1.แบบทดสอบหลังเรี ยน 1. ทาแบบทดสอบถูก ชนิดปรนัย 4 ตัวเลือก มากกว่าหรื อ เท่ากับ 7 จานวน 12 ข้อ ข้อขึ้นไป 2. ด้านทักษะกระบวนการ สังเกตจากการปฏิบติกิจกรรม แบบสังเกตพฤติกรรมการ ั ได้คะแนนในระดับ 2 ในชั้นเรี ยน ทางาน ขึ้นไป 3. ด้านคุณลักษณะที่พึง การสังเกตพฤติกรรมความ แบบสังเกตพฤติกรรมความ ได้คะแนนในระดับ 2 ประสงค์ สนใจ และตั้งใจเรี ยน สนใจและตั้งใจเรี ยน ขึ้นไป กิจกรรมเสนอแนะ ั ครู ให้นกเรี ยนทานาฬิกาแดด โดยใช้พิกดภูมิศาสตร์ ของโรงเรี ยนนารายณ์คาผงวิทยา โดยดู ั รายละเอียดจากเอกสารแนบท้ายแผนการจัดการเรี ยนรู้ที่ 13 และโครงงานวิทยาศาสตร์ “การศึกษา ั และเปรี ยบเทียบผลการสร้างนาฬิกาแดด พิกดฟ้ าพนาสน” ความคิดเห็นของผู้บังคับบัญชา ความเห็นหัวหน้ากลุ่มสาระ ความเห็นหัวหน้า ความเห็นรองผูอานวยการ ้ การเรี ยนรู้วทยาศาสตร์ ิ กลุ่มบริ หารวิชาการ กลุ่มบริ หารวิชาการ ................................................... ................................................... ................................................... ................................................... ................................................... ................................................... ................................................... ................................................... ................................................... ลงชื่อ....................................... ลงชื่อ....................................... ลงชื่อ....................................... (นางจิรารัตน์ เชื่อมกระโทก) (นางเพิ่มศิริ งามยิง) ่ (นายประเสริ ฐ สันทอง) ความเห็นของผู้บริ หารโรงเรี ยน ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ลงชื่อ.......................................................... ( นายทันใจ ชูทรงเดช ) ผูอานวยการโรงเรี ยนนารายณ์คาผงวิทยา ้ .................../....................../.......................
  • 6. แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง ดาวฤกษ์ 1. ข้ อใดกล่ าวถึงดาวฤกษ์ ได้ ถูกต้ อง ก ดาวฤกษ์มีความหนาแน่นและอายุเท่ากับดวงอาทิตย์ ่ ข ดาวฤกษ์อยูจุดเดิมบนท้องฟ้ าทุกวัน ไม่มีการเคลื่อนที่ ค ดาวฤกษ์สามารถส่ องสว่างได้ เนื่องจากพลังงานนิวเคลียร์ ที่เกิดจากปฏิกิริยาฟิ วชัน ง นักดาราศาสตร์ศึกษาชนิดและลักษณะของดาวฤกษ์โดยอาศัยความสัมพันธ์ของมวล และความสว่างของดาวฤกษ์ 2. ลักษณะเด่ นของดาวยักษ์ แดง คืออะไร ก ดาวฤกษ์ที่เผาผลาญไฮโดรเจนที่บริ เวณใจกลางของมัน ข ดาวฤกษ์จะหดตัวอย่างรวดเร็ วจนกระทังดาวหายไปจากเอกภพ ่ ค ดาวฤกษ์มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ ว ความสว่างเพิ่มขึ้นแต่อุณหภูมิพ้ืนผิวลดลง ง ดาวฤกษ์มีอุณหภูมิสูงมาก ปฏิกิริยาเทอร์ โมนิ วเคลียร์ ไฮโดรเจนเป็ นฮีเลียมจะเกิดขึ้น 3. วิวฒนาการในช่ วงสุ ดท้ ายของดาวฤกษ์ ดาวที่หดตัวแล้ วมีมวลมากกว่า 1 1/4 เท่าของดวง ั อาทิตย์จะกลายเป็ นอะไร ก หลุมดา ข เนบิวลา ค ดาวนิวตรอน ง ดาวแคระขาว ใช้ ข้อมูลในตารางตอบคาถามข้ อ 4 - 6 ชนิดของดาวฤกษ์ สี ของดาวฤกษ์ 1 ขาว 2 นาเงิน ้ 3 เหลือง 4 ส้ ม 4. ดาวฤกษ์ ชนิดใดทีมอุณหภูมิมากทีสุด ่ ี ่ ก 1 ข 2 ค 3 ง 4 5. ดวงอาทิตย์ของเรามีสีเหมือนดาวฤกษ์ ชนิดใด ก 1 ข 2 ค 3 ง 4 6. สี ของดาวฤกษ์ ในข้ อใดมีการเรียงลาดับตามอุณหภูมิพืนผิวต่าไปสู ง ้ ก 1,2,3,4 ข 1 , 3 , 4 , 2 ค 4 , 3 ,2 , 1 ง 4,3,1,2 7. ความสว่างของดาวฤกษ์ หมายถึงอะไร ก พลังงานแสงของดาวฤกษ์ดวงนั้นใน 1 นาที ข พลังงานแสงของดาวฤกษ์ดวงนั้นใน 1 วินาที ค พลังงานแสงของดาวฤกษ์ทุกดวงใน 1 นาที
  • 7. ง พลังงานแสงของดาวฤกษ์ทุกดวงใน 1 วินาที 8. เหตุใดเราจึงมองเห็นดาวฤกษ์ ปรากฏเรียงรายในลักษณะเดิมทุกๆ วัน ก ดาวฤกษ์ไม่มีการเคลื่อนที่ ข ดาวเรี ยงปรากฏเป็ นรู ปต่างๆ โดยมีระยะระหว่างดวงดาวคงที่ตลอดชัวชีวตเรา ่ ิ ค ดาวฤกษ์ในท้องฟ้ ามีจานวนมาก เมื่อเกิดการเคลื่อนที่เราจึงไม่สามารถสังเกตเห็นได้ ง ดาวฤกษ์จะเคลื่อนที่จากทิศตะวันตกไปยังทิศตะวันออกอย่างช้าๆ จนไม่สามารถ สังเกตได้ 9. นักเรียนคิดว่ า การมองดาวเหนือ ณ จังหวัดใดทีจะทาให้ เห็นดาวเหนือมีค่ามุมเงยต่าสุ ด ่ ก นครพนม ข เชียงใหม่ ค สุ พรรณบุรี ง นครศรี ธรรมราช 10. ทิศเหนือของผู้สังเกตบนโลกคือข้ อใด ก ทิศที่ช้ ีจากผูสังเกตไปยังดาวเหนื อ ้ ข ทิศที่ช้ ีจากผูสงเกตไปยังขั้วท้องฟ้ าเหนื อ ้ั ่ ค ทิศที่ช้ ีจากผูสังเกตไปยังจุดบนขอบฟ้ าที่อยูใต้ดาวเหนื อ ้ ง ทิศที่ช้ ีจากผูสังเกตไปยังจุดบนท้องฟ้ าที่มีค่ามุมเงยเป็ นศูนย์ และมุมอะซิ มุทเป็ นศูนย์ ้ อ่านข้ อความต่ อไปนีแล้วตอบคาถาม ้ 1. มุมอะซิมุท 3. ตาแหน่งเส้นขอบฟ้ า 2. แนวดิ่งของวัตถุทองฟ้ ากับพื้นโลก 4. มุมที่เกิดจากมุมเงย ้ 11. ในการบอกตาแหน่ งของวัตถุท้องฟาจะต้ องรู้ ค่าสิ่ งใด ้ ก 1 และ 2 ข 2 และ 3 ค 3 และ 4 ง 4 และ 1 12. นาย ก อยู่ทกรุ งเทพฯ นาย ข อยู่ทเ่ี ชี ยงใหม่ สั งเกตดาวดวงเดียวกันตั้งแต่ ขึนมาจนตก ี่ ้ ถ้ านาย ก เห็นดาวดวงนีขนทีขอบฟาตรงแนวทิศตะวันออก ตะวันตกพอดี และเห็นดาวอยู่เหนือ ้ ึ้ ่ ้ ขอบฟาเป็ นระยะเวลา 12 ชั่วโมง นาย ข จะเห็นดาวดวงนีอย่างไร ้ ้ ก เห็นดาวขึ้นในแนวทิศตะวันออก ตะวันตกพอดี และอยูเ่ หนือขอบฟ้ าเป็ นระยะเวลา 12 ชัวโมง ่ ข เห็นดาวขึ้นในแนวทิศตะวันออก ตะวันตกพอดี และอยูเ่ หนือขอบฟ้ าเป็ นระยะเวลามากกว่า 12 ชัวโมง ่ ค เห็นดาวขึ้นเฉี ยงจากแนวทิศตะวันออก ตะวันตกไปทางทิศเหนื อเล็กน้อย และอยูเ่ หนื อขอบ ฟ้ าเป็ นระยะเวลามากกว่า 12 ชัวโมง ่ ง เห็นดาวขึ้นเฉี ยงจากแนวทิศตะวันออก ตะวันตกไปทางทิศเหนื อเล็กน้อย และอยูเ่ หนื อขอบ ฟ้ าเป็ นระยะเวลาเท่ากับ 12 ชัวโมง ่ เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง ดาวฤกษ์ 1) ค. 2) ค. 3) ค. 4) ข. 5) ค. 6) ง. 7) ข. 8) ข. 9) ง. 10) ก. 11) ง. 12) ง.