SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
Download to read offline
การเคลือนที่ในหนึ่งมิติ
                                                    ่
1. ความหมายของการเคลือนที่
                     ่

         1.1 การเคลื่อนที่ (Motion) หมายถึง ขบวนการอย่างหนึ่งที่ทาให้มีการเปลี่ยนแปลงตาแหน่งอย่าง
                    ่
ต่อเนื่องตามเวลาที่ผานไป โดยมีทิศทางและระยะทาง

         1.2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง (Rectilinear motion) หมายถึง การเคลื่อนที่ของวัตถุที่เป็ นแนว
เส้นตรงซึ่ งความสัมพันธ์ระหว่างความเร็ ว เวลา ความเร่ ง และระยะทางที่วตถุเคลื่อนที่ไปได้ (นันทพงษ์ ลาย
                                                                      ั
ทอง และคณะ, 2549)

                                                                ่
              ลักษณะการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง สิ่ งต่าง ๆ ที่อยูรอบตัวซึ่ งมีการเคลื่อนที่น้ นจะมีการเคลื่อนที่
                                                                                             ั
แตกต่างกันออกไป เช่น การเคลื่อนที่ในแนวตรง แนวโค้ง เป็ นวงกลม หรื อกลับไปกลับมาในการที่เราจะ
พิจารณาว่าวัตถุมีการเคลื่อนที่หรื อไม่ พิจารณาที่ มีการเปลี่ยนตาแหน่งหรื อไม่ ถ้ามีการเปลี่ยนตาแหน่ง ถือเป็ น
การเคลื่อนที่
         1.3 การบอกตาแหน่งของวัตถุ การบอกตาแหน่งของสิ่ งต่าง ๆ นั้นทาได้โดยการบอกตาแหน่งเทียบกับ
ตาแหน่งหรื อสิ่ งที่สังเกตได้โดยง่าย ซึ่ งเรี ยกว่า ตาแหน่งอ้างอิงหรื อจุดอ้างอิง ซึ่ งต้องเป็ นจุดที่หยุดนิ่ง

2. ปริมาณทีเ่ กียวข้ องกับการเคลือนที่
                ่                ่

         2.1 เวลา (Time, t) การที่จะทราบว่าวัตถุเคลื่อนที่หรื อไม่ จะเริ่ มจากการสังเกตวัตถุน้ นในช่วงเวลาหนึ่ง
                                                                                               ั
ซึ่ งจุดที่เริ่ มสังเกตจะนับเวลาเริ่ มต้น ณ จุดนั้นมีค่า t = 0 จากนั้นเมื่อเวลาผ่านไป วัตถุจะมีการเปลี่ยนตาแหน่ง
ช่วงเวลาที่สงเกตจะเป็ นเวลาที่วตถุเคลื่อนที่ซ่ ึ งถ้าไม่ทราบค่าแน่นอนจะใช้ t แทนช่วงเวลาดังกล่าว โดยมีหน่วย
            ั                  ั
เป็ นวินาที (s)

         2.2 ระยะทาง (Distance, s) หมายถึง แนวเส้นที่วตถุเคลื่อนที่ไปโดยนับจากจุดเริ่ มต้นอ้างอิง ระยะทาง
                                                      ั
    ั                                  ่
ที่วตถุเคลื่อนที่จะเพิ่มขึ้นตามเวลาที่ผานไป การวัดระยะทางจะวัดตามแนวทางที่วตถุเคลื่อนที่ไป ถ้าวัตถุ
                                                                           ั
เคลื่อนที่เป็ นแนวเส้นตรงก็วดระยะทางได้ง่ายขึ้น แต่ถาแนวทางไม่เป็ นเส้นตรงก็จะวัดระยะทางได้ลาบาก
                            ั                       ้
ระยะที่วตถุเคลื่อนที่ไปได้ตามเส้นทางที่วตถุน้ นเคลื่อนที่จริ ง ๆ โดยไม่คานึงว่าวัตถุ
                ั                               ั ั

จะเคลื่อนที่เป็ นเส้นตรงหรื อไม่ ระยะทางเป็ นปริ มาณสเกลาร์

       2.3 การกระจัด (Displacement, d) หมายถึง การที่วตถุเคลื่อนที่จากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง
                                                         ั
โดยการเคลื่อนที่จากตาแหน่งเริ่ มต้นไปยังตาแหน่งสุ ดท้าย โดยมีทิศทางจัดเป็ นปริ มาณเวกเตอร์ มีหน่วยเป็ น
เมตร (m) (นันทพงษ์ ลายทองและคณะ, 2549)



                                  ระยะทาง



                                                                       B

           A                   การกระจัด

                             รู ป ภาพที่ 3.2 การกระจัด

            สรุ ป ระยะห่างตามแนวเส้นตรงระหว่างจุดเริ่ มต้นถึงจุดสุ ดท้าย เป็ นปริ มาณ

เวกเตอร์ มีขนาดเท่ากับระยะห่างและทิศทางจากจุดเริ่ มต้นถึงจุดสุ ดท้าย

            ข้ อเปรียบเทียบระหว่างระยะทางกับการกระจัด

            1. ระยะทางเป็ นปริ มาณสเกลาร์ การกระจัดเป็ นปริ มาณเวกเตอร์

            2. ขนาดของระยะทางจะมากกว่าการกระจัดเสมอ ถ้าวัตถุน้ นไม่ได้เคลื่อนที่ใน
                                                               ั
แนวเส้นตรงตลอด เช่น วัตถุหนึ่งเคลื่อนที่จาก A ไปทางทิศตะวันออก ถึง B เป็ นระยะทาง 12 เมตร แล้ว
เคลื่อนที่ต่อไปทางทิศเหนือ ถึง C เป็ นระยะ 5 เมตร

                                                           C




                 A                                             B


                         รู ปภาพที่ 3.3 การหาการกระจัด

                     ระยะทาง = AB + BC = 12 + 5 = 17 เมตร

                     แต่การกระจัด = AC = (12) + (5)               = 144 + 25   = 13 เมตร
                                                   2   2




                3. ขนาดของระยะทางกับการกระจัดมีโอกาสเท่ากันได้ ถ้าวัตถุน้ นเคลื่อนที่โดย
                                                                          ั

ไม่มีการเปลี่ยนทิศทาง

            2.4 อัตราเร็ ว คือ ระยะทางที่วตถุเคลื่อนที่ในหนึ่งหน่วยเวลาเป็ นปริ มาณ
                                          ั

สเกลาร์ ไม่คานึงถึงทิศทาง มีหน่วยเป็ นเมตร / วินาที



                                         ระยะทาง                       S
                          อัตราเร็ ว =             ,              =
                                           เวลา                        t
ตัวอย่างที่ 3.1 จงหาอัตราเร็ วของการเคลื่อนที่จากจุด A ไปจุด B ซึ่งมีระยะทาง

750 เมตร เวลาในการเดินทาง 10 วินาที
                                                    S
          วิธีทา            จากสู ตร       ν    = t


                                                    750 m
                            แทนค่า         ν    =    10s




                                           ν    = 75 m/s                       ตอบ



            2.5 ความเร็ ว (velocity) คือ ระยะการเปลี่ยนแปลงการกระจัดหรื อระยะการเปลี่ยนตาแหน่งที่
เกิดขึ้นในหนึ่งหน่วยเวลา เป็ นปริ มาณเวกเตอร์ มีห0น่mวยเป็ นเมตร / วินาที

                                                    d
                                                    t




            2.6 ความเร็ วเฉลี่ย (average velocity) เป็ นความเร็ วที่เฉลี่ยว่าความเร็ วของการเคลื่อนที่แต่ละจุดเป็ น
เส้นทางที่วตถุเคลื่อนที่มีค่าเท่ากัน เป็ นการเปลี่ยนแปลงการกระจัดในช่วงเวลายาว ๆ มีทิศเดียวกัน ซึ่ งกาหนด
           ั
u = ความเร็ วต้น และ    ν    = ความเร็ วปลาย


                                                            d
                                           ν   เฉลี่ย =     t




                                                            u+ ν
                                           ν   เฉลี่ย =      2
ตัวอย่างที่ 3.2 รถคันหนึ่งวิงด้วยความเร็ วเฉลี่ย 5 เมตร/วินาที ถ้าใช้เวลาในการวิงไป 20 วินาที จะ
                                        ่                                                   ่
มีการกระจัดเท่าใด
                                                              d
        วิธีทา            จากสู ตร                  v   =     t

                                                              d
                          แทนค่า                    5   =    20

                                                    d   = 100         เมตร         ตอบ

            2.7 ความเร็ วขณะใดขณะหนึ่ง (Instantaneous velocity) เป็ นการเปลี่ยนแปลงการกระจัดในช่วงเวลา
สั้น ๆ ที่  t 0 และการกระจัดเป็ นการกระจัด ณ จุดนั้น
                                                        d
                                     ν   lim   t   =   t

        การหาความเร็วเฉลียและ ความเร็วขณะใดขณะหนึ่งจากกราฟ
                         ่

        ถ้าเขียนกราฟระหว่างการกระจัด d และเวลา t ความชันของเส้นตรงที่ลากระหว่างตาแหน่งคู่ใด ๆ
คือ ความเร็ วเฉลี่ยของการเคลื่อนที่ระหว่างตาแหน่งทั้งสอง

                     d                              B



                      A                                           t

                            รู ปภาพที่ 3.4 แสดงกราฟความสัมพันธ์ระหว่าง d กับ t
จากกราฟความชัน(slope) ของเส้นตรงที่ต่อระหว่าง A และ B คือความเร็ วเฉลี่ยของ

การเคลื่อนที่ในช่วง AB หรื อเป็ นความเร็ วเฉลี่ยในช่วง t1 ถึง t2


                                                     S2 – S1        S
             ความชัน (slope) = V = tan =                      =           = V
                                                     t2 – t1        t




              ถ้าตาแหน่ง A และ B อยูใกล้กนมาก จนทาให้ t 0 คือ t มีค่าน้อยมาก เส้นตรงที่ลากผ่าน
                                    ่    ั
A และ B คือ เส้นสัมผัสกราฟ ความชันของเส้นสัมผัสคือความเร็ วที่จุดใดจุดหนึ่ง



              ข้ อเปรียบเทียบระหว่างอัตราเร็วกับความเร็ว

              1. อัตราเร็ วเป็ นปริ มาณสเกลาร์ ความเร็ วเป็ นปริ มาณเวกเตอร์

              2. ถ้าวัตถุเคลื่อนที่โดยไม่เปลี่ยนทิศทาง (เคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง) ขนาดของความเร็ ว คือ
อัตราเร็ ว

              3. อัตราเร็ วจะมีค่าเปลี่ยนแปลงเมื่อขนาดเปลี่ยนแปลง

              4. ความเร็ วจะเปลี่ยนแปลงเมื่อ

                4.1 ขนาดเปลี่ยนแปลง

                4.2 ขนาดคงที่แต่ทิศทางเปลี่ยนแปลง เช่น วัตถุที่กาลังเคลื่อนที่เป็ นวงกลมด้วย

อัตราเร็ วคงที่ ความเร็ วของการเคลื่อนที่จะเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ทั้งนี้เพราะเส้นทางของความเร็ ว
เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
2.8 ความเร่ ง และความหน่วง (Acceleration) เป็ นความเร็ วที่เปลี่ยนแปลงไปในหนึ่งหน่วยเวลา
หรื อ อัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็ ว มีหน่วยเป็ นเมตร/วินาที2 เป็ นปริ มาณเวกเตอร์ สาหรับช่วงเวลาน้อย ๆ
t 0 ความเร่ งในช่วงเวลานี้เป็ นความเร่ งขณะหนึ่ง a ขณะหนึ่ง

ณ ตาแหน่งกึ่งกลางช่วงเวลา t

                           aขณะหนึ่ง =    v 
                                           t 0
                                          t 



             ถ้าพิจารณาการเคลื่อนที่ที่ยาวขึ้น ความเร่ งขณะหนึ่งอาจมีค่าไม่คงที่ อาจเพิ่มขึ้นหรื อลดลงก็ได้ จึง
นิยมบอกความเร่ งในรู ปของอัตราเร่ งเฉลี่ย a ซึ่ งเป็ นอัตราส่ วนระหว่างความเร็ วที่เปลี่ยนไปทั้งหมดกับช่วงเวลาที่
เกิดการเปลี่ยนแปลงความเร็ วนั้น

             ในภาษาไทย คาว่าเร่ งหมายถึงทาให้เร็ วขึ้น แต่ในทางฟิ สิ กส์เป็ นอัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็ ว
ซึ่ งการเปลี่ยนแปลงอาจมีท้ งเร็ วขึ้นหรื อช้าลง (ถ้าช้าลงเราเรี ยกว่าความหน่วง(Deceleration) เร็ วขึ้นเรี ยกว่า
                           ั
ความเร่ ง ซึ่ งก็คือความเร่ งในทางฟิ สิ กส์ ต่างกันที่ทิศทาง)
ตัวอย่างที่ 3.3 รถยนต์คนหนึ่งเคลื่อนที่ในแนวตรง โดยมีความเร็ วเริ่ มต้น 10 m/s และมีความเร็ ว
                                   ั
เพิ่มขึ้นทุก ๆ 1 S ซึ่ งแสดงในตาราง จงหาความเร่ งเฉลี่ยและความเร่ งขณะหนึ่งที่เวลา t = 1, 2 และ 3 S



                             เวลา(วินาที)                 ความเร็ ว (เมตร/วินาที)

                                  0                                 10

                                  1                                 11

                                  2                                 12

                                  3                                 13

                                  4                                 14

                                  5                                 15



                                   ตารางที่ 3.1 การเคลื่อนที่ของรถยนต์
v
วิธีทา จาก     a =
                         t

                         15  10
      ดังนั้น a =                      m/s 2
                          50

                          5
               a =                = 1 m/s 2
                          5

      ความเร่ งเฉลี่ยเท่ากับ 1         m/s 2

                                   v 
         จาก     a ขณะหนึ่ง =       t 0
                                   t 




                                  11  10
         ดังนั้น a1        =                 = 1 m/s 2
                                   1 0

                                   12  11
                  a2          =              = 1 m/s 2
                                    2 1

                                   13  12
                  a3          =              = 1 m/s 2   ตอบ
                                    32
3. กฎการเคลือนที่ (Laws of Motion)
            ่
                กฎของการเคลื่อนที่ซ่ ึ งเสนอโดยท่าน เซอร์ ไอแซค นิวตัน เป็ นหัวใจของวิชากลศาสตร์

                ่
เราอาจกล่าววได้วาหลักการ (principles) ทุกหลักการในวิชานี้งอกเงยมาจากกฎ(ของ)การเคลื่อนที่น้ ี

กฎเหล่านี้ไม่ได้มาจากการทาการทดลองหาโดยตรง แต่มาจากการสังเกตปรากฎการณ์ธรรมชาติและจากสมอง
สุ ดล้ าเลิศของนักฟิ สิ กส์สาคัญคนหนึ่งที่มนุษยชาติเคยมี ท่านนั้นคือเซอร์ ไอแซค นิวตัน กฎการเคลื่อนที่น้ ีมีอยู่
สามข้อ ดังนี้

                                                                                                 ่
                3.1 กฎการเคลื่อนที่ขอที่หนึ่ง: กฎของความเฉื่อย(Law of Inertia) “วัตถุจะคงสภาวะอยูนิ่ง หรื อ
                                    ้
เคลื่อนที่ดวยความเร็ วคงที่ในแนวเส้นตรง หากไม่มีแรงมากระทาให้เปลี่ยนสภาวะนั้น ๆ ไป” กฎข้อนี้เท่ากับ
           ้
เป็ นการให้คาจากัดความของระบบอ้างอิงแบบที่เรี ยกว่า ระบบอ้างอิงเฉื่ อย (inertial frames of reference) และ
พร้อมกันก็นามาซึ่ งแนวคิดเกี่ยวกับความเฉื่ อย(inertia) (วุทธิ พนธุ์ ปรัชญพฤทธิ์ ,2549)
                                                               ั

                            F = 0

                3.2 กฎการเคลื่อนที่ขอที่สอง: กฎของแรง (Law of Force) “เมื่อมีแรงลัพธ์ซ่ ึ งมีขนาดไม่เป็ นศูนย์
                                    ้
มากระทาต่อวัตถุ จะทาให้วตถุเกิดความเร่ งในทิศเดียวกับแรงลัพธ์ที่มากระทา และขนาดของความเร่ ง จะแปร
                        ั
ผันตรงกับขนาดของแรงลัพธ์ และจะแปรผกผันกับมวลของวัตถุ ”

                            a F
                                  1
                            a    m

                                  F


                            a    m
                                      F
                            a= k      m

         จากนิยาม ถ้า F = 1 ถ้ามวล m = 1 kg เกิดความเร่ ง a = 1 m/s2
F
                                           ⇀
                      จาก     a    = k     m                    1




                              a    = k 1
                                       1
                              k    = 1

               จาก   1
                                             F
                             a     = 1x m
                             F     = ma (ถ้ามีแรงเดียว)
                            F     = ma (ถ้ามีแรงกระทามากกว่า 1 แรง)

           3.3 กฎการเคลื่อนที่ขอที่สาม: กฎของแรงกิริยา-ปฏิกิริยา(Law of Action-Reaction)
                                  ้
               “ทุกครั้งที่มีแรงกิริยา จะต้องมีแรงปฎิกิริยาโต้ตอบต้องขนาดเท่ากันแต่ทิศทางตรงกันข้าม”

                  แรงกิริยา(action) = แรงปฏิกิริยา (Reaction)

                               F1  - F2 (สุ รางคณา แก่นโนนสังข์ , 2549)



           3.4 กฎแรงดึงดูดระหว่างมวลของนิวตัน “วัตถุท้ งหลายในเอกภพจะออกแรงดึงดูดซึ่ งกันและกัน
                                                       ั
โดยขนาดของแรงดึงดูดระหว่างวัตถุคู่หนึ่ง ๆ จะแปรผันตรงกับผลคูณระหว่างมวลวัตถุท้ งสองและจะ
                                                                               ั
แปรผกผันกับกาลังสองของระยะทางระหว่างวัตถุท้ งสองนั้น ”
                                            ั

                                    Gm, m2
                            F =
                                     R2

           เมื่อ G คือ ค่าคงตัวความโน้มถ่วงสากลมีค่า 6.67 x 10-11 N.m2/kg2 (จารุ ณี เชิดชัยสถาพร , 2550)
ตัวอย่างที่ 3.4 ดาวเคราะห์ดวงหนึ่งมีมวล 12  108 กิโลกรัม รัศมี 2  102 เมตร ดาวเคราะห์จะมีแรง
ดึงดูดดวงจันทร์บริ วารซึ่งมีมวล 2  103 กิโลกรัม อยูใกล้ๆผิวของดาวเคราะห์
                                                    ่

                                                   Gm1m 2
        วิธีทา           จากสู ตร       F     
                                                    R2

                                           6.67  10 11  12  10 8  2  10 3
                         แทนค่า         F
                                                      (2  10 2 ) 2

                                               160.08
                                        F
                                               4  10 4

                             F  0.004            นิวตัน                           ตอบ



สาหรับการเคลื่อนที่แนวตรงด้วยความเร็ วคงตัว ระยะทางที่ได้จะเท่ากับผลคูณระหว่างความเร็ วกับช่วงเวลาที่
ใช้ในการเคลื่อนที่น้ น ถ้าพิจารณาจากกราฟ ผลคูณระหว่างความเร็ วกับช่วงเวลาคือพื้นที่ใต้กราฟความเร็ ว –
                     ั
เวลา นันแสดงว่าพื้นที่ใต้กราฟความเร็ ว – เวลา ในช่วงเวลาที่กาหนดคือ ระยะที่วตถุเคลื่อนที่ได้ หรื อการกระจัด
       ่                                                                    ั
ที่เปลี่ยนไปในช่วงเวลานั้น

                                    ความเร็ วขณะหนึ่ง



                                  

                                                   . t   =S

                                    0                           t                 เวลา

                                            รู ปภาพที่ 3.5 กราฟ t กับ ความเร็ วขณะหนึ่ง
4. การเคลือนทีในแนวเส้ นตรงตามแนวราบ
          ่ ่

            4.1 เคลื่อนที่ดวยความเร็ วคงที่
                           ้
                                          S
                                   V=
                                          t

            4.2 สมการสาหรับคานวณหาปริ มาณต่าง ๆ การเคลื่อนที่แนวตรง ตามแนวราบ ด้วยความเร่ งคงตัว

                              1. S =      u+      t
                                           2
                              2        = u + at

                              3. S = ut + 1 at2
                                          2



                              4.   2    = u2 + 2as

            เมื่อ u เป็ นความเร็ วต้น เมื่อเริ่ มคิดเวลา (t = 0 ) ขนาดของ u นี้อาจมีค่าเท่ากับศูนย์

หรื อไม่เท่ากับศูนย์ก็ได้ หน่วยเป็ นเมตรต่อวินาที (m/s)

            t เป็ นช่วงเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ท้ งหมด าหนดเวลาเริ่ มต้นทีt่ = 0 ) หน่วยเป็ นวินาที(s)
                                                   ั (ก

             S เป็ นการกระจัดที่เปลี่ยนไปในช่วงเวลา       t   หน่วยเป็ นเมตร (m)

             v เป็ นความเร็ วสุ ดท้ายของช่วงเวลา t หรื อเป็ นความเร็ วเมื่อสิ้ นช่วงเวลา t หน่วยเป็ น

เมตรต่อวินาที (m/s)

             a เป็ นความเร่ งเฉลี่ยในช่วงเวลา t หน่วยเป็ นเมตรต่อวินาที 2 (m/s2)

            กรณี วตถุเคลื่อนที่ดวยความเร่ งคงตัวในแนวราบกาหนดให้ปริ มาณที่มีความเร็ วเพิมขึ้น
                  ั             ้                                                       ่

ค่า a เป็ นบวก และถ้าความเร็ วลดลงค่า a เป็ นลบ

            กรณี วตถุออกจากสภาพนิ่งค่า u = 0
                  ั
กรณี วตถุเคลื่อนที่แล้วหยุดค่า
                 ั                             =0

           กรณี วตถุเคลื่อนที่ดวยความเร็ วคงตัวค่า a = 0
                 ั             ้



           ตัวอย่างที่ 3.5 วัตถุเริ่ มเคลื่อนที่จากจุดหยุดนิ่งไปด้วยความเร่ ง 4 m/s2 นาน 5 s

ถ้าแล่นต่อไปด้วยความเร็ วคงที่ เป็ นเวลา 20 s ต่อจากนั้นก็ลดความเร็ วลงด้วยความหน่วง 5 m/s2 จนหยุด จง
หา

           ก. ระยะที่วตถุน้ นแล่นไปได้ท้ งหมด
                      ั ั                ั

           ข. เวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ท้ งหมด
                                          ั



       วิธีทา ก. ระยะที่วตถุเคลื่อนที่ไปได้ท้ งหมด นั้นแบ่งหาเป็ น 3 ช่วง
                         ั                    ั

       ช่ วงแรก โจทย์กาหนดให้ u = 0 m/s a = 4 m/s2 t = 5 s หาระยะทางในช่วงแรก

        จากสู ตร         S = ut + 1 at2
                                  2



        แทนค่า           S = 0 m/s (5 s) + 1 (4 m/s2) ( 5 s)2
                                           2



                         S = 50 m
ช่ วงที่ 2 เคลื่อนที่ดวยความเร็ วคงที่ จะได้ a = 0 และต้องหาความเร็ วเมื่อเคลื่อนที่ได้ระยะ 200 m
                            ้
แรก

      จากสมการ           2    = u2 + 2as

      แทนค่ า            2   = (0 m/s) 2 + 2(4 m/s2 )(50 m)

                         2    = 400 m/s

                             =      400 m/s

                             = 20 m/s

      จะได้ระยะในช่วงที่ 2 โดยใช้สมการ S = v t

                    แทนค่า S = 20 m/s  20 s

      จะได้ระยะในช่วงที่ 2 เป็ น 400 เมตร




       ช่ วงที่ 3       u = 20 m/s         a = - 5 m/s2        v=0

      จากสมการ          ν2    = u2 + 2as

      แทนค่ า           0 = (20 m/s) 2 + 2(- 5 m/s2 )( S)

                     10 S = 400 m

                       S = 40 m

       ระยะทางที่เคลื่อนที่ได้ = 50 + 400 + 40 = 490 m                           ตอบ
ข. หาเวลาในช่วง สุ ดท้าย แล้วนามารวมกับเวลาในช่วงที่ 1 และ 2 จะได้เวลาที่ใช้ท้ งหมด
                                                                                   ั

        u = 20 m/s      a = - 5 m/s2        = 0 หาเวลาในช่วงสุ ดท้าย

       จากสมการ               = u + at

        แทนค่ า           0 = (20 m/s) + (- 5 m/s2) t s

                    (5 m/s2) t = 20 m/s

                           t = 4 s

        จะได้เวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ท้ งหมดเป็ น 5 + 20 + 4 = 29 S
                                         ั                                           ตอบ



            4.3. กราฟการกระจัด – เวลา

                    กราฟการกระจัด – เวลา มีประโยชน์สาหรับในการหาปริ มาณการเคลื่อนที่ของวัตถุ เช่น
รถยนต์คนหนึ่งเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงจากจุด A ที่เวลา t1 = 0 วินาที ถึงจุด B ที่เวลา
       ั

t2 = t วินาที ได้การกระจัด S เมตร

                           S


           A : t1                      B : t2




             รู ปภาพที่ 3.6 รถยนต์ A ,B
S(m)


               30


               10
                0                                t (s)
                       1       3

       รู ปภาพที่ 3.7 แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง S กับ t



             1. การกระจัด S เป็ นบวก และกราฟเป็ นเส้นตรง แสดงว่ารถเคลื่อนที่ไปทิศทางเดียว

ไม่ยอนกลับ
    ้

             2. การกระจัด S แปรผันตรงกับเวลา และกราฟเป็ นเส้นตรง แสดงว่าความเร็ วคงที่ สามารถหา
ความเร็ วได้จากความชัน (Slope)ของกราฟ
                                             30  10 20
                     ความเร็ ว = ความชัน =            10   m/s
                                              3 1 2
4.4 กราฟความเร็ ว – เวลา

                          ่
                  วัตถุอยูนิ่งกับที่และวัตถุที่เคลื่อนที่ดวยความเร็ วคงที่จะมีความเร่ งเป็ นศูนย์ วัตถุที่เปลี่ยน
                                                          ้
ความเร็ วจะมีความเร่ ง ดังนั้นความเร่ งสามารถหาได้จากกราฟความเร็ ว – เวลา
               v(m/s)
                    50
                                                       กราฟ 2


                                                                                      กราฟ 1
                    30




                                                                                       t(s)
                      0               2                4                6



                          รู ปภาพที่ 3.8 แสดงกราฟความสัมพันธ์ระหว่าง t กับ 

            สาหรับเส้ นกราฟ 1

                                         ่
            1. ความเร็ วคงที่ 30 m/s ไม่วาเวลาจะผ่านไปเท่าใดก็ตาม

            2. สามารถหาการกระจัดของการเคลื่อนที่ได้จากพื้นที่ใต้กราฟ ดังนี้

               การกระจัด = พื้นที่ใต้กราฟ = (30 m/s) (6s) = 180 เมตร

            3. หาความเร่ งของการเคลื่อนที่จากความชันของกราฟ = 0

            สาหรับเส้ นกราฟ 2

            1. ความเร็ วเป็ นบวก และเพิ่มขึ้นเมื่อเวลามากขึ้น

            2. ความเร็ วแปรผันตรงกับเวลา ได้กราฟเป็ นเส้นตรง

            3. การกระจัดหาได้จากพื้นที่ใต้กราฟ
                                                           1
               การกระจัดในช่วงเวลา 0 – 4 วินาที =            ( 4s )(50m / s ) = 100   เมตร
                                                           2
4. ความเร่ งหาได้จาก ความชันของเส้นกราฟ
                                                     50
               ความเร่ ง = ความชันของเส้นกราฟ =           = 12.5 m/s2
                                                     4



         4.5 การเคลื่อนที่เป็ นเส้นตรงในแนวดิ่งภายใต้แรงดึงดูดของโลก

             การเคลื่อนที่ของสิ่ งต่าง ๆ ที่พบเห็นในชีวตประจาวัน ส่ วนใหญ่ถาพิจารณาโดยหลักการทาง
                                                       ิ                   ้
ฟิ สิ กส์จะพบว่าเป็ นการเคลื่อนที่แบบมีความเร่ ง ซึ่ งมีท้ งความเร่ งคงตัวและความเร่ งที่เปลี่ยนแปลง ในการศึกษา
                                                           ั
เบื้องต้น จะศึกษาเฉพาะการเคลื่อนที่แนวตรงด้วยความเร่ งคงตัว จากการศึกษา การตกแบบเสรี (Free fall) ซึ่ง
เป็ นการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ปล่อยให้ตกภายใต้แรงดึงดูดของโลกเพียงอย่างเดียว ( ไม่คิดแรงต้านหรื อแรงเสี ยด
ทานของอากาศ)

            ความเร่ งในการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ตกอย่างอิสระหรื อตกแบบเสรี น้ ี คือ ความเร่ งเนื่องจากแรง
ดึงดูดของโลก (Acceleration due to gravity) ใช้ g เป็ นสัญลักษณ์ ซึ่ งมีค่าประมาณ 9.80665 m/s2 ซึ่งเป็ น
ค่าที่หาได้จากค่าเฉลี่ยทุกจุดของโลก เพื่อความสะดวกมักจะใช้ค่า g = 9.8 m/s2 หรื ออาจใช้ 10 m/s2

More Related Content

What's hot

การเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงการเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงuntika
 
ความเร็ว
ความเร็วความเร็ว
ความเร็วnuchpool
 
สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์wisita42
 
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงบทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงkroosarisa
 
การเคลื่อนที่แนวตรง
การเคลื่อนที่แนวตรงการเคลื่อนที่แนวตรง
การเคลื่อนที่แนวตรงAroonrat Kaewtanee
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่พัน พัน
 
ม.ปลาย ฟิสิกส์_การเคลื่อนที่ในแนวตรง 1
 ม.ปลาย ฟิสิกส์_การเคลื่อนที่ในแนวตรง 1  ม.ปลาย ฟิสิกส์_การเคลื่อนที่ในแนวตรง 1
ม.ปลาย ฟิสิกส์_การเคลื่อนที่ในแนวตรง 1 Chaichan Boonmak
 
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติการเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติkungten555
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณAui Ounjai
 
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6Mu PPu
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่พัน พัน
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติบทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติThepsatri Rajabhat University
 
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)wiriya kosit
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์Thepsatri Rajabhat University
 
การเคลื่อนที่ของวัตถุ
การเคลื่อนที่ของวัตถุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
การเคลื่อนที่ของวัตถุdnavaroj
 

What's hot (20)

การเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงการเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
 
ความเร็ว
ความเร็วความเร็ว
ความเร็ว
 
Chapter 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
Chapter 2 การเคลื่อนที่แนวตรงChapter 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
Chapter 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
 
สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์
 
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงบทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
 
การเคลื่อนที่แนวตรง
การเคลื่อนที่แนวตรงการเคลื่อนที่แนวตรง
การเคลื่อนที่แนวตรง
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่
 
ม.ปลาย ฟิสิกส์_การเคลื่อนที่ในแนวตรง 1
 ม.ปลาย ฟิสิกส์_การเคลื่อนที่ในแนวตรง 1  ม.ปลาย ฟิสิกส์_การเคลื่อนที่ในแนวตรง 1
ม.ปลาย ฟิสิกส์_การเคลื่อนที่ในแนวตรง 1
 
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติการเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณ
 
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
 
อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)
 
สมการการเคลื่อนที่แนวตรง
สมการการเคลื่อนที่แนวตรงสมการการเคลื่อนที่แนวตรง
สมการการเคลื่อนที่แนวตรง
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติบทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
 
ความเร็ว (Velocity)
ความเร็ว (Velocity)ความเร็ว (Velocity)
ความเร็ว (Velocity)
 
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
 
การเคลื่อนที่ของวัตถุ
การเคลื่อนที่ของวัตถุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
การเคลื่อนที่ของวัตถุ
 

Viewers also liked

การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)Chatwan Wangyai
 
4.การเคลื่อนที่ 2 มิติ โปรเจกไทล์ วงกลม
4.การเคลื่อนที่ 2 มิติ โปรเจกไทล์ วงกลม4.การเคลื่อนที่ 2 มิติ โปรเจกไทล์ วงกลม
4.การเคลื่อนที่ 2 มิติ โปรเจกไทล์ วงกลมเซิฟ กิ๊ฟ ติวเตอร์
 
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ01
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ01การเคลื่อนที่แบบต่างๆ01
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ01tuiye
 
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนบทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนThepsatri Rajabhat University
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันธงชัย ควรคนึง
 

Viewers also liked (6)

การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)
 
4.การเคลื่อนที่ 2 มิติ โปรเจกไทล์ วงกลม
4.การเคลื่อนที่ 2 มิติ โปรเจกไทล์ วงกลม4.การเคลื่อนที่ 2 มิติ โปรเจกไทล์ วงกลม
4.การเคลื่อนที่ 2 มิติ โปรเจกไทล์ วงกลม
 
แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่ 2 มิติ
แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่ 2 มิติแบบฝึกหัดการเคลื่อนที่ 2 มิติ
แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่ 2 มิติ
 
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ01
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ01การเคลื่อนที่แบบต่างๆ01
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ01
 
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนบทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 

Similar to การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ

การเคลื่อนที่1
การเคลื่อนที่1การเคลื่อนที่1
การเคลื่อนที่1kroosarisa
 
Big ฟิสิกส์ F1
Big ฟิสิกส์ F1Big ฟิสิกส์ F1
Big ฟิสิกส์ F1weerawat pisurat
 
ความเร็ว0
ความเร็ว0ความเร็ว0
ความเร็ว0krusridet
 
การเคลื่อนที่0
การเคลื่อนที่0การเคลื่อนที่0
การเคลื่อนที่0krusridet
 
การเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ตการเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ตkalita123
 
การเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ตการเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ตkalita123
 
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่งWp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่งkrupornpana55
 
การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงkroosarisa
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Dew Thamita
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่นrumpin
 
ตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุdnavaroj
 
ความเร็ว
ความเร็วความเร็ว
ความเร็วLai Pong
 
Brandssummercamp 2012 feb55_physics
Brandssummercamp 2012 feb55_physicsBrandssummercamp 2012 feb55_physics
Brandssummercamp 2012 feb55_physicsNittaya Mitpothong
 

Similar to การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ (19)

การเคลื่อนที่1
การเคลื่อนที่1การเคลื่อนที่1
การเคลื่อนที่1
 
Big ฟิสิกส์ F1
Big ฟิสิกส์ F1Big ฟิสิกส์ F1
Big ฟิสิกส์ F1
 
ความเร็ว0
ความเร็ว0ความเร็ว0
ความเร็ว0
 
Phy1
Phy1Phy1
Phy1
 
การเคลื่อนที่0
การเคลื่อนที่0การเคลื่อนที่0
การเคลื่อนที่0
 
การเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ตการเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ต
 
การเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ตการเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ต
 
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่งWp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
 
โอเน็ตฟิสิกส์
โอเน็ตฟิสิกส์โอเน็ตฟิสิกส์
โอเน็ตฟิสิกส์
 
Brands physics
Brands physicsBrands physics
Brands physics
 
การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
2
22
2
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
ตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุ
 
Test phy1
Test phy1Test phy1
Test phy1
 
ความเร็ว
ความเร็วความเร็ว
ความเร็ว
 
Brandssummercamp 2012 feb55_physics
Brandssummercamp 2012 feb55_physicsBrandssummercamp 2012 feb55_physics
Brandssummercamp 2012 feb55_physics
 
111
111111
111
 

การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ

  • 1. การเคลือนที่ในหนึ่งมิติ ่ 1. ความหมายของการเคลือนที่ ่ 1.1 การเคลื่อนที่ (Motion) หมายถึง ขบวนการอย่างหนึ่งที่ทาให้มีการเปลี่ยนแปลงตาแหน่งอย่าง ่ ต่อเนื่องตามเวลาที่ผานไป โดยมีทิศทางและระยะทาง 1.2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง (Rectilinear motion) หมายถึง การเคลื่อนที่ของวัตถุที่เป็ นแนว เส้นตรงซึ่ งความสัมพันธ์ระหว่างความเร็ ว เวลา ความเร่ ง และระยะทางที่วตถุเคลื่อนที่ไปได้ (นันทพงษ์ ลาย ั ทอง และคณะ, 2549) ่ ลักษณะการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง สิ่ งต่าง ๆ ที่อยูรอบตัวซึ่ งมีการเคลื่อนที่น้ นจะมีการเคลื่อนที่ ั แตกต่างกันออกไป เช่น การเคลื่อนที่ในแนวตรง แนวโค้ง เป็ นวงกลม หรื อกลับไปกลับมาในการที่เราจะ พิจารณาว่าวัตถุมีการเคลื่อนที่หรื อไม่ พิจารณาที่ มีการเปลี่ยนตาแหน่งหรื อไม่ ถ้ามีการเปลี่ยนตาแหน่ง ถือเป็ น การเคลื่อนที่ 1.3 การบอกตาแหน่งของวัตถุ การบอกตาแหน่งของสิ่ งต่าง ๆ นั้นทาได้โดยการบอกตาแหน่งเทียบกับ ตาแหน่งหรื อสิ่ งที่สังเกตได้โดยง่าย ซึ่ งเรี ยกว่า ตาแหน่งอ้างอิงหรื อจุดอ้างอิง ซึ่ งต้องเป็ นจุดที่หยุดนิ่ง 2. ปริมาณทีเ่ กียวข้ องกับการเคลือนที่ ่ ่ 2.1 เวลา (Time, t) การที่จะทราบว่าวัตถุเคลื่อนที่หรื อไม่ จะเริ่ มจากการสังเกตวัตถุน้ นในช่วงเวลาหนึ่ง ั ซึ่ งจุดที่เริ่ มสังเกตจะนับเวลาเริ่ มต้น ณ จุดนั้นมีค่า t = 0 จากนั้นเมื่อเวลาผ่านไป วัตถุจะมีการเปลี่ยนตาแหน่ง ช่วงเวลาที่สงเกตจะเป็ นเวลาที่วตถุเคลื่อนที่ซ่ ึ งถ้าไม่ทราบค่าแน่นอนจะใช้ t แทนช่วงเวลาดังกล่าว โดยมีหน่วย ั ั เป็ นวินาที (s) 2.2 ระยะทาง (Distance, s) หมายถึง แนวเส้นที่วตถุเคลื่อนที่ไปโดยนับจากจุดเริ่ มต้นอ้างอิง ระยะทาง ั ั ่ ที่วตถุเคลื่อนที่จะเพิ่มขึ้นตามเวลาที่ผานไป การวัดระยะทางจะวัดตามแนวทางที่วตถุเคลื่อนที่ไป ถ้าวัตถุ ั เคลื่อนที่เป็ นแนวเส้นตรงก็วดระยะทางได้ง่ายขึ้น แต่ถาแนวทางไม่เป็ นเส้นตรงก็จะวัดระยะทางได้ลาบาก ั ้
  • 2. ระยะที่วตถุเคลื่อนที่ไปได้ตามเส้นทางที่วตถุน้ นเคลื่อนที่จริ ง ๆ โดยไม่คานึงว่าวัตถุ ั ั ั จะเคลื่อนที่เป็ นเส้นตรงหรื อไม่ ระยะทางเป็ นปริ มาณสเกลาร์ 2.3 การกระจัด (Displacement, d) หมายถึง การที่วตถุเคลื่อนที่จากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง ั โดยการเคลื่อนที่จากตาแหน่งเริ่ มต้นไปยังตาแหน่งสุ ดท้าย โดยมีทิศทางจัดเป็ นปริ มาณเวกเตอร์ มีหน่วยเป็ น เมตร (m) (นันทพงษ์ ลายทองและคณะ, 2549) ระยะทาง B A การกระจัด รู ป ภาพที่ 3.2 การกระจัด สรุ ป ระยะห่างตามแนวเส้นตรงระหว่างจุดเริ่ มต้นถึงจุดสุ ดท้าย เป็ นปริ มาณ เวกเตอร์ มีขนาดเท่ากับระยะห่างและทิศทางจากจุดเริ่ มต้นถึงจุดสุ ดท้าย ข้ อเปรียบเทียบระหว่างระยะทางกับการกระจัด 1. ระยะทางเป็ นปริ มาณสเกลาร์ การกระจัดเป็ นปริ มาณเวกเตอร์ 2. ขนาดของระยะทางจะมากกว่าการกระจัดเสมอ ถ้าวัตถุน้ นไม่ได้เคลื่อนที่ใน ั
  • 3. แนวเส้นตรงตลอด เช่น วัตถุหนึ่งเคลื่อนที่จาก A ไปทางทิศตะวันออก ถึง B เป็ นระยะทาง 12 เมตร แล้ว เคลื่อนที่ต่อไปทางทิศเหนือ ถึง C เป็ นระยะ 5 เมตร C A B รู ปภาพที่ 3.3 การหาการกระจัด ระยะทาง = AB + BC = 12 + 5 = 17 เมตร แต่การกระจัด = AC = (12) + (5) = 144 + 25 = 13 เมตร 2 2 3. ขนาดของระยะทางกับการกระจัดมีโอกาสเท่ากันได้ ถ้าวัตถุน้ นเคลื่อนที่โดย ั ไม่มีการเปลี่ยนทิศทาง 2.4 อัตราเร็ ว คือ ระยะทางที่วตถุเคลื่อนที่ในหนึ่งหน่วยเวลาเป็ นปริ มาณ ั สเกลาร์ ไม่คานึงถึงทิศทาง มีหน่วยเป็ นเมตร / วินาที ระยะทาง S อัตราเร็ ว = ,  = เวลา t
  • 4. ตัวอย่างที่ 3.1 จงหาอัตราเร็ วของการเคลื่อนที่จากจุด A ไปจุด B ซึ่งมีระยะทาง 750 เมตร เวลาในการเดินทาง 10 วินาที S วิธีทา จากสู ตร ν = t 750 m แทนค่า ν = 10s ν = 75 m/s ตอบ 2.5 ความเร็ ว (velocity) คือ ระยะการเปลี่ยนแปลงการกระจัดหรื อระยะการเปลี่ยนตาแหน่งที่ เกิดขึ้นในหนึ่งหน่วยเวลา เป็ นปริ มาณเวกเตอร์ มีห0น่mวยเป็ นเมตร / วินาที d t 2.6 ความเร็ วเฉลี่ย (average velocity) เป็ นความเร็ วที่เฉลี่ยว่าความเร็ วของการเคลื่อนที่แต่ละจุดเป็ น เส้นทางที่วตถุเคลื่อนที่มีค่าเท่ากัน เป็ นการเปลี่ยนแปลงการกระจัดในช่วงเวลายาว ๆ มีทิศเดียวกัน ซึ่ งกาหนด ั u = ความเร็ วต้น และ ν = ความเร็ วปลาย d ν เฉลี่ย = t u+ ν ν เฉลี่ย = 2
  • 5. ตัวอย่างที่ 3.2 รถคันหนึ่งวิงด้วยความเร็ วเฉลี่ย 5 เมตร/วินาที ถ้าใช้เวลาในการวิงไป 20 วินาที จะ ่ ่ มีการกระจัดเท่าใด d วิธีทา จากสู ตร v = t d แทนค่า 5 = 20 d = 100 เมตร ตอบ 2.7 ความเร็ วขณะใดขณะหนึ่ง (Instantaneous velocity) เป็ นการเปลี่ยนแปลงการกระจัดในช่วงเวลา สั้น ๆ ที่  t 0 และการกระจัดเป็ นการกระจัด ณ จุดนั้น d ν lim t = t การหาความเร็วเฉลียและ ความเร็วขณะใดขณะหนึ่งจากกราฟ ่ ถ้าเขียนกราฟระหว่างการกระจัด d และเวลา t ความชันของเส้นตรงที่ลากระหว่างตาแหน่งคู่ใด ๆ คือ ความเร็ วเฉลี่ยของการเคลื่อนที่ระหว่างตาแหน่งทั้งสอง d B A t รู ปภาพที่ 3.4 แสดงกราฟความสัมพันธ์ระหว่าง d กับ t
  • 6. จากกราฟความชัน(slope) ของเส้นตรงที่ต่อระหว่าง A และ B คือความเร็ วเฉลี่ยของ การเคลื่อนที่ในช่วง AB หรื อเป็ นความเร็ วเฉลี่ยในช่วง t1 ถึง t2 S2 – S1 S ความชัน (slope) = V = tan = = = V t2 – t1 t ถ้าตาแหน่ง A และ B อยูใกล้กนมาก จนทาให้ t 0 คือ t มีค่าน้อยมาก เส้นตรงที่ลากผ่าน ่ ั A และ B คือ เส้นสัมผัสกราฟ ความชันของเส้นสัมผัสคือความเร็ วที่จุดใดจุดหนึ่ง ข้ อเปรียบเทียบระหว่างอัตราเร็วกับความเร็ว 1. อัตราเร็ วเป็ นปริ มาณสเกลาร์ ความเร็ วเป็ นปริ มาณเวกเตอร์ 2. ถ้าวัตถุเคลื่อนที่โดยไม่เปลี่ยนทิศทาง (เคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง) ขนาดของความเร็ ว คือ อัตราเร็ ว 3. อัตราเร็ วจะมีค่าเปลี่ยนแปลงเมื่อขนาดเปลี่ยนแปลง 4. ความเร็ วจะเปลี่ยนแปลงเมื่อ 4.1 ขนาดเปลี่ยนแปลง 4.2 ขนาดคงที่แต่ทิศทางเปลี่ยนแปลง เช่น วัตถุที่กาลังเคลื่อนที่เป็ นวงกลมด้วย อัตราเร็ วคงที่ ความเร็ วของการเคลื่อนที่จะเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ทั้งนี้เพราะเส้นทางของความเร็ ว เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
  • 7. 2.8 ความเร่ ง และความหน่วง (Acceleration) เป็ นความเร็ วที่เปลี่ยนแปลงไปในหนึ่งหน่วยเวลา หรื อ อัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็ ว มีหน่วยเป็ นเมตร/วินาที2 เป็ นปริ มาณเวกเตอร์ สาหรับช่วงเวลาน้อย ๆ t 0 ความเร่ งในช่วงเวลานี้เป็ นความเร่ งขณะหนึ่ง a ขณะหนึ่ง ณ ตาแหน่งกึ่งกลางช่วงเวลา t aขณะหนึ่ง =  v    t 0  t  ถ้าพิจารณาการเคลื่อนที่ที่ยาวขึ้น ความเร่ งขณะหนึ่งอาจมีค่าไม่คงที่ อาจเพิ่มขึ้นหรื อลดลงก็ได้ จึง นิยมบอกความเร่ งในรู ปของอัตราเร่ งเฉลี่ย a ซึ่ งเป็ นอัตราส่ วนระหว่างความเร็ วที่เปลี่ยนไปทั้งหมดกับช่วงเวลาที่ เกิดการเปลี่ยนแปลงความเร็ วนั้น ในภาษาไทย คาว่าเร่ งหมายถึงทาให้เร็ วขึ้น แต่ในทางฟิ สิ กส์เป็ นอัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็ ว ซึ่ งการเปลี่ยนแปลงอาจมีท้ งเร็ วขึ้นหรื อช้าลง (ถ้าช้าลงเราเรี ยกว่าความหน่วง(Deceleration) เร็ วขึ้นเรี ยกว่า ั ความเร่ ง ซึ่ งก็คือความเร่ งในทางฟิ สิ กส์ ต่างกันที่ทิศทาง)
  • 8. ตัวอย่างที่ 3.3 รถยนต์คนหนึ่งเคลื่อนที่ในแนวตรง โดยมีความเร็ วเริ่ มต้น 10 m/s และมีความเร็ ว ั เพิ่มขึ้นทุก ๆ 1 S ซึ่ งแสดงในตาราง จงหาความเร่ งเฉลี่ยและความเร่ งขณะหนึ่งที่เวลา t = 1, 2 และ 3 S เวลา(วินาที) ความเร็ ว (เมตร/วินาที) 0 10 1 11 2 12 3 13 4 14 5 15 ตารางที่ 3.1 การเคลื่อนที่ของรถยนต์
  • 9. v วิธีทา จาก a = t 15  10 ดังนั้น a = m/s 2 50 5 a = = 1 m/s 2 5  ความเร่ งเฉลี่ยเท่ากับ 1 m/s 2  v  จาก a ขณะหนึ่ง =   t 0  t  11  10 ดังนั้น a1 = = 1 m/s 2 1 0 12  11 a2 = = 1 m/s 2 2 1 13  12 a3 = = 1 m/s 2 ตอบ 32
  • 10. 3. กฎการเคลือนที่ (Laws of Motion) ่ กฎของการเคลื่อนที่ซ่ ึ งเสนอโดยท่าน เซอร์ ไอแซค นิวตัน เป็ นหัวใจของวิชากลศาสตร์ ่ เราอาจกล่าววได้วาหลักการ (principles) ทุกหลักการในวิชานี้งอกเงยมาจากกฎ(ของ)การเคลื่อนที่น้ ี กฎเหล่านี้ไม่ได้มาจากการทาการทดลองหาโดยตรง แต่มาจากการสังเกตปรากฎการณ์ธรรมชาติและจากสมอง สุ ดล้ าเลิศของนักฟิ สิ กส์สาคัญคนหนึ่งที่มนุษยชาติเคยมี ท่านนั้นคือเซอร์ ไอแซค นิวตัน กฎการเคลื่อนที่น้ ีมีอยู่ สามข้อ ดังนี้ ่ 3.1 กฎการเคลื่อนที่ขอที่หนึ่ง: กฎของความเฉื่อย(Law of Inertia) “วัตถุจะคงสภาวะอยูนิ่ง หรื อ ้ เคลื่อนที่ดวยความเร็ วคงที่ในแนวเส้นตรง หากไม่มีแรงมากระทาให้เปลี่ยนสภาวะนั้น ๆ ไป” กฎข้อนี้เท่ากับ ้ เป็ นการให้คาจากัดความของระบบอ้างอิงแบบที่เรี ยกว่า ระบบอ้างอิงเฉื่ อย (inertial frames of reference) และ พร้อมกันก็นามาซึ่ งแนวคิดเกี่ยวกับความเฉื่ อย(inertia) (วุทธิ พนธุ์ ปรัชญพฤทธิ์ ,2549) ั F = 0 3.2 กฎการเคลื่อนที่ขอที่สอง: กฎของแรง (Law of Force) “เมื่อมีแรงลัพธ์ซ่ ึ งมีขนาดไม่เป็ นศูนย์ ้ มากระทาต่อวัตถุ จะทาให้วตถุเกิดความเร่ งในทิศเดียวกับแรงลัพธ์ที่มากระทา และขนาดของความเร่ ง จะแปร ั ผันตรงกับขนาดของแรงลัพธ์ และจะแปรผกผันกับมวลของวัตถุ ” a F 1 a m F a m F a= k m จากนิยาม ถ้า F = 1 ถ้ามวล m = 1 kg เกิดความเร่ ง a = 1 m/s2
  • 11. F ⇀ จาก a = k m 1 a = k 1 1 k = 1 จาก 1 F a = 1x m F = ma (ถ้ามีแรงเดียว) F = ma (ถ้ามีแรงกระทามากกว่า 1 แรง) 3.3 กฎการเคลื่อนที่ขอที่สาม: กฎของแรงกิริยา-ปฏิกิริยา(Law of Action-Reaction) ้ “ทุกครั้งที่มีแรงกิริยา จะต้องมีแรงปฎิกิริยาโต้ตอบต้องขนาดเท่ากันแต่ทิศทางตรงกันข้าม” แรงกิริยา(action) = แรงปฏิกิริยา (Reaction) F1  - F2 (สุ รางคณา แก่นโนนสังข์ , 2549) 3.4 กฎแรงดึงดูดระหว่างมวลของนิวตัน “วัตถุท้ งหลายในเอกภพจะออกแรงดึงดูดซึ่ งกันและกัน ั โดยขนาดของแรงดึงดูดระหว่างวัตถุคู่หนึ่ง ๆ จะแปรผันตรงกับผลคูณระหว่างมวลวัตถุท้ งสองและจะ ั แปรผกผันกับกาลังสองของระยะทางระหว่างวัตถุท้ งสองนั้น ” ั Gm, m2 F = R2 เมื่อ G คือ ค่าคงตัวความโน้มถ่วงสากลมีค่า 6.67 x 10-11 N.m2/kg2 (จารุ ณี เชิดชัยสถาพร , 2550)
  • 12. ตัวอย่างที่ 3.4 ดาวเคราะห์ดวงหนึ่งมีมวล 12  108 กิโลกรัม รัศมี 2  102 เมตร ดาวเคราะห์จะมีแรง ดึงดูดดวงจันทร์บริ วารซึ่งมีมวล 2  103 กิโลกรัม อยูใกล้ๆผิวของดาวเคราะห์ ่ Gm1m 2 วิธีทา จากสู ตร F  R2 6.67  10 11  12  10 8  2  10 3 แทนค่า F (2  10 2 ) 2 160.08 F 4  10 4 F  0.004 นิวตัน ตอบ สาหรับการเคลื่อนที่แนวตรงด้วยความเร็ วคงตัว ระยะทางที่ได้จะเท่ากับผลคูณระหว่างความเร็ วกับช่วงเวลาที่ ใช้ในการเคลื่อนที่น้ น ถ้าพิจารณาจากกราฟ ผลคูณระหว่างความเร็ วกับช่วงเวลาคือพื้นที่ใต้กราฟความเร็ ว – ั เวลา นันแสดงว่าพื้นที่ใต้กราฟความเร็ ว – เวลา ในช่วงเวลาที่กาหนดคือ ระยะที่วตถุเคลื่อนที่ได้ หรื อการกระจัด ่ ั ที่เปลี่ยนไปในช่วงเวลานั้น ความเร็ วขณะหนึ่ง   . t =S 0 t เวลา รู ปภาพที่ 3.5 กราฟ t กับ ความเร็ วขณะหนึ่ง
  • 13. 4. การเคลือนทีในแนวเส้ นตรงตามแนวราบ ่ ่ 4.1 เคลื่อนที่ดวยความเร็ วคงที่ ้ S V= t 4.2 สมการสาหรับคานวณหาปริ มาณต่าง ๆ การเคลื่อนที่แนวตรง ตามแนวราบ ด้วยความเร่ งคงตัว 1. S = u+  t 2 2  = u + at 3. S = ut + 1 at2 2 4. 2 = u2 + 2as เมื่อ u เป็ นความเร็ วต้น เมื่อเริ่ มคิดเวลา (t = 0 ) ขนาดของ u นี้อาจมีค่าเท่ากับศูนย์ หรื อไม่เท่ากับศูนย์ก็ได้ หน่วยเป็ นเมตรต่อวินาที (m/s) t เป็ นช่วงเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ท้ งหมด าหนดเวลาเริ่ มต้นทีt่ = 0 ) หน่วยเป็ นวินาที(s) ั (ก S เป็ นการกระจัดที่เปลี่ยนไปในช่วงเวลา t หน่วยเป็ นเมตร (m) v เป็ นความเร็ วสุ ดท้ายของช่วงเวลา t หรื อเป็ นความเร็ วเมื่อสิ้ นช่วงเวลา t หน่วยเป็ น เมตรต่อวินาที (m/s) a เป็ นความเร่ งเฉลี่ยในช่วงเวลา t หน่วยเป็ นเมตรต่อวินาที 2 (m/s2) กรณี วตถุเคลื่อนที่ดวยความเร่ งคงตัวในแนวราบกาหนดให้ปริ มาณที่มีความเร็ วเพิมขึ้น ั ้ ่ ค่า a เป็ นบวก และถ้าความเร็ วลดลงค่า a เป็ นลบ กรณี วตถุออกจากสภาพนิ่งค่า u = 0 ั
  • 14. กรณี วตถุเคลื่อนที่แล้วหยุดค่า ั  =0 กรณี วตถุเคลื่อนที่ดวยความเร็ วคงตัวค่า a = 0 ั ้ ตัวอย่างที่ 3.5 วัตถุเริ่ มเคลื่อนที่จากจุดหยุดนิ่งไปด้วยความเร่ ง 4 m/s2 นาน 5 s ถ้าแล่นต่อไปด้วยความเร็ วคงที่ เป็ นเวลา 20 s ต่อจากนั้นก็ลดความเร็ วลงด้วยความหน่วง 5 m/s2 จนหยุด จง หา ก. ระยะที่วตถุน้ นแล่นไปได้ท้ งหมด ั ั ั ข. เวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ท้ งหมด ั วิธีทา ก. ระยะที่วตถุเคลื่อนที่ไปได้ท้ งหมด นั้นแบ่งหาเป็ น 3 ช่วง ั ั ช่ วงแรก โจทย์กาหนดให้ u = 0 m/s a = 4 m/s2 t = 5 s หาระยะทางในช่วงแรก จากสู ตร S = ut + 1 at2 2 แทนค่า S = 0 m/s (5 s) + 1 (4 m/s2) ( 5 s)2 2 S = 50 m
  • 15. ช่ วงที่ 2 เคลื่อนที่ดวยความเร็ วคงที่ จะได้ a = 0 และต้องหาความเร็ วเมื่อเคลื่อนที่ได้ระยะ 200 m ้ แรก จากสมการ 2 = u2 + 2as แทนค่ า 2 = (0 m/s) 2 + 2(4 m/s2 )(50 m) 2 = 400 m/s  = 400 m/s  = 20 m/s จะได้ระยะในช่วงที่ 2 โดยใช้สมการ S = v t แทนค่า S = 20 m/s  20 s จะได้ระยะในช่วงที่ 2 เป็ น 400 เมตร ช่ วงที่ 3 u = 20 m/s a = - 5 m/s2 v=0 จากสมการ ν2 = u2 + 2as แทนค่ า 0 = (20 m/s) 2 + 2(- 5 m/s2 )( S) 10 S = 400 m S = 40 m  ระยะทางที่เคลื่อนที่ได้ = 50 + 400 + 40 = 490 m ตอบ
  • 16. ข. หาเวลาในช่วง สุ ดท้าย แล้วนามารวมกับเวลาในช่วงที่ 1 และ 2 จะได้เวลาที่ใช้ท้ งหมด ั u = 20 m/s a = - 5 m/s2  = 0 หาเวลาในช่วงสุ ดท้าย จากสมการ  = u + at แทนค่ า 0 = (20 m/s) + (- 5 m/s2) t s (5 m/s2) t = 20 m/s t = 4 s จะได้เวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ท้ งหมดเป็ น 5 + 20 + 4 = 29 S ั ตอบ 4.3. กราฟการกระจัด – เวลา กราฟการกระจัด – เวลา มีประโยชน์สาหรับในการหาปริ มาณการเคลื่อนที่ของวัตถุ เช่น รถยนต์คนหนึ่งเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงจากจุด A ที่เวลา t1 = 0 วินาที ถึงจุด B ที่เวลา ั t2 = t วินาที ได้การกระจัด S เมตร S A : t1 B : t2 รู ปภาพที่ 3.6 รถยนต์ A ,B
  • 17. S(m) 30 10 0 t (s) 1 3 รู ปภาพที่ 3.7 แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง S กับ t 1. การกระจัด S เป็ นบวก และกราฟเป็ นเส้นตรง แสดงว่ารถเคลื่อนที่ไปทิศทางเดียว ไม่ยอนกลับ ้ 2. การกระจัด S แปรผันตรงกับเวลา และกราฟเป็ นเส้นตรง แสดงว่าความเร็ วคงที่ สามารถหา ความเร็ วได้จากความชัน (Slope)ของกราฟ 30  10 20 ความเร็ ว = ความชัน =   10 m/s 3 1 2
  • 18. 4.4 กราฟความเร็ ว – เวลา ่ วัตถุอยูนิ่งกับที่และวัตถุที่เคลื่อนที่ดวยความเร็ วคงที่จะมีความเร่ งเป็ นศูนย์ วัตถุที่เปลี่ยน ้ ความเร็ วจะมีความเร่ ง ดังนั้นความเร่ งสามารถหาได้จากกราฟความเร็ ว – เวลา v(m/s) 50 กราฟ 2 กราฟ 1 30 t(s) 0 2 4 6 รู ปภาพที่ 3.8 แสดงกราฟความสัมพันธ์ระหว่าง t กับ  สาหรับเส้ นกราฟ 1 ่ 1. ความเร็ วคงที่ 30 m/s ไม่วาเวลาจะผ่านไปเท่าใดก็ตาม 2. สามารถหาการกระจัดของการเคลื่อนที่ได้จากพื้นที่ใต้กราฟ ดังนี้ การกระจัด = พื้นที่ใต้กราฟ = (30 m/s) (6s) = 180 เมตร 3. หาความเร่ งของการเคลื่อนที่จากความชันของกราฟ = 0 สาหรับเส้ นกราฟ 2 1. ความเร็ วเป็ นบวก และเพิ่มขึ้นเมื่อเวลามากขึ้น 2. ความเร็ วแปรผันตรงกับเวลา ได้กราฟเป็ นเส้นตรง 3. การกระจัดหาได้จากพื้นที่ใต้กราฟ 1 การกระจัดในช่วงเวลา 0 – 4 วินาที = ( 4s )(50m / s ) = 100 เมตร 2
  • 19. 4. ความเร่ งหาได้จาก ความชันของเส้นกราฟ 50 ความเร่ ง = ความชันของเส้นกราฟ = = 12.5 m/s2 4 4.5 การเคลื่อนที่เป็ นเส้นตรงในแนวดิ่งภายใต้แรงดึงดูดของโลก การเคลื่อนที่ของสิ่ งต่าง ๆ ที่พบเห็นในชีวตประจาวัน ส่ วนใหญ่ถาพิจารณาโดยหลักการทาง ิ ้ ฟิ สิ กส์จะพบว่าเป็ นการเคลื่อนที่แบบมีความเร่ ง ซึ่ งมีท้ งความเร่ งคงตัวและความเร่ งที่เปลี่ยนแปลง ในการศึกษา ั เบื้องต้น จะศึกษาเฉพาะการเคลื่อนที่แนวตรงด้วยความเร่ งคงตัว จากการศึกษา การตกแบบเสรี (Free fall) ซึ่ง เป็ นการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ปล่อยให้ตกภายใต้แรงดึงดูดของโลกเพียงอย่างเดียว ( ไม่คิดแรงต้านหรื อแรงเสี ยด ทานของอากาศ) ความเร่ งในการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ตกอย่างอิสระหรื อตกแบบเสรี น้ ี คือ ความเร่ งเนื่องจากแรง ดึงดูดของโลก (Acceleration due to gravity) ใช้ g เป็ นสัญลักษณ์ ซึ่ งมีค่าประมาณ 9.80665 m/s2 ซึ่งเป็ น ค่าที่หาได้จากค่าเฉลี่ยทุกจุดของโลก เพื่อความสะดวกมักจะใช้ค่า g = 9.8 m/s2 หรื ออาจใช้ 10 m/s2