SlideShare a Scribd company logo
สาระการเรียนร้ ู ภาษาไทย
เรื่อง ชนิดของคา
       บทเรียนที่ ๒ คาสรรพนาม
สาระสาคัญ

       คาสรรพนาม คือ คาทีใช้ แทนคานาม เพือจะ
                             ่               ่
ไม่ ต้องใช้ คานามซ้าอีกครั้งในการพูดหรือเขียน
ผลการเรียนรู้ทคาดหวัง
                       ี่
๑. อธิบายความหมายของคาสรรพนามได้
๒. จาแนกชนิดของคาสรรพนามได้
๓. ยกตัวอย่ างคาสรรพนามชนิดต่ างๆ ได้
สาระการเรียนรู้

๑. ความหมายของคาสรรพนาม
๒. ชนิดของคาสรรพนาม
แบบทดสอบก่ อนเรียน
๑. ข้ อใดคือคาสรรพนาม

ก. คาที่ใช้ เรียกชื่อ คน สั ตว์ สิ่ งของ สถานที่

ข. คาที่ใช้ แทนชื่อ คน สั ตว์ สิ่ งของ สถานที่

ค. คาที่บอกลักษณะของคน สั ตว์ สิ่ งของ

ง. คาที่ใช้ เชื่อมข้ อความหรือประโยค
๒. ข้ อใดคือคาสรรพนามแทนผู้พด
                            ู

    ก. ข้ าพเจ้ า       ข. พระองค์


   ค. ฝ่ าพระบาท        ง. พระคุณเจ้ า
๓. ข้ อใดมีคาสรรพนาม

   ก. พระกาลังฉันภัตตาหารเพล

   ข. นิดรักน้ อยฉันญาติสนิท

   ค. แสงจันทร์ วนนีงามเฉิดฉัน
                 ั ้

   ง. ฉันกาลังเตรียมตัวสอบ
๔. ข้ อใดคือคาสรรพนามแทนพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัว

            ก. ใต้ ฝ่าพระบาท

           ข. ใต้ ฝ่าธุลพระบาท
                        ี

           ค. ใต้ ฝ่าละอองพระบาท

           ง. ใต้ ฝ่าละอองธุลพระบาท
                             ี
๕. “ช้ างโขลงใหญ่ ต่างแยกย้ ายกันหาอาหาร” จากข้ อความ
มีคาสรรพนามชนิดใด

         ก. สรรพนามชี้ระยะ

         ข. สรรพนามเชื่อมประโยค

         ค. สรรพนามบอกความชี้ซ้า

         ง. สรรพนามบอกความไม่ เจาะจง
๖. “ท่ านสั่ งให้ คุณไปพบทีบ้าน” คาที่ขดเส้ นใต้ เป็ น
                           ่           ี
บุรุษสรรพนามในข้ อใด


      ก. แทนผู้พูด                   ข. แทนผู้ฟัง

      ค. แทนผู้ทถูกกล่ าวถึง
                ี่                    ง. ผิดทุกข้ อ
๗. “เธอจะเอาอันไหนก็ได้ ” จากข้ อความ มีคาสรรพนาม
ชนิดใด
            ก. สรรพนามชี้ระยะ

            ข. สรรพนามเชื่อมประโยค

            ค. สรรพนามบอกความชี้ซ้า

            ง. สรรพนามบอกความไม่ เจาะจง
๘. “บ้ านทีเ่ ห็นอยู่โน่ นเป็ นของฉัน” จากข้ อความ
  มีคาสรรพนามชนิดใด

             ก. สรรพนามชี้ระยะ

             ข. สรรพนามเชื่อมประโยค

             ค. สรรพนามบอกความชี้ซ้า

            ง. สรรพนามบอกความไม่ เจาะจง
๙. “ใครๆ ก็รักมัน” คาว่ า ใคร เป็ นคาสรรพนามชนิดใด

        ก. สรรพนามใช้ ถาม

        ข. สรรพนามชี้ระยะ

        ค. สรรพนามบอกความชี้ซ้า

        ง. สรรพนามบอกความไม่ เจาะจง
๑๐. ข้ อใดมีสรรพนามใช้ ถาม

      ก. ใครจะไปเที่ยวกับฉัน

      ข. ใครๆ ก็รักเจ้ ามอม

      ค. ใดๆ ในโลกล้ วนอนิจจัง

     ง. ผู้ใดพบกระเป๋ าสี แดง โปรดติดต่ อคุณนิด
<Scoreboard will appear here, leave shape as-is.>
หนูนิด เธอทาแบบทดสอบ
       ได้ หรือเปล่ า                   ฉันทาไม่ ได้ จ๊ะ




                  เพือนๆ ทาได้ หรือเปล่าคะ
                     ่
           เดี๋ยวพวกเราไปศึกษา เรื่อง คาสรรพนาม
                        พร้ อมกันนะ
ความหมายคาสรรพนาม

      คาสรรพนาม คือ คาที่ใช้ แทนชื่อ คน สั ตว์ สิ่ งของ
เพือไม่ ต้องกล่ าวคานั้นซ้าอีก เราจึงใช้ คาสรรพนามแทน
   ่
คานาม
ชนิดของคาสรรพนาม
     คาสรรพนาม แบ่ งออกเป็ น ๖ ชนิด ดังนี้
๑. บุรุษสรรพนาม
๒. สรรพนามใช้ ถาม หรือ ปฤจฉาสรรพนาม
๓. สรรพนามชี้ระยะ หรือ นิยมสรรพนาม
๔. สรรพนามบอกความไม่ เจาะจง หรือ อนิยมสรรพนาม
๕. สรรพนามบอกความชี้ซ้า หรือ วิภาคสรรพนาม
๖. สรรพนามเชื่อมประโยค หรือ ประพันธสรรพนาม
๑. บุรุษสรรพนาม

        คือ คาทีใช้ แทนคานามในการสนทนา เช่ น ฉัน คุณ
                 ่
เธอ ท่ าน ฯลฯ แบ่ งออกเป็ น ๓ ชนิด ได้ แก่
       ๑. สรรพนามแทนผู้พด หรือ สรรพนามบุรุษที่ ๑ เช่ น
                             ู
  ฉัน ดิฉัน กระผม ข้ าพเจ้ า เป็ นต้ น
        ตัวอย่ าง
            ฉันกาลังอ่ านหนังสื อ
            ผมเรียนอยู่ช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๕
๒. สรรพนามแทนผู้ฟัง หรือ สรรพนามบุรุษที่ ๒
เช่ น เธอ คุณ ท่ าน ใต้ เท้ า พระคุณเจ้ า โยม เป็ นต้ น
     ตัวอย่ าง
         เธอไปเที่ยวกับฉันไหม
         อาตมาขอบใจโยมนะ ทีเ่ ป็ นธุระให้
๓. สรรพนามแทนผู้ทถูกกล่ าวถึง หรือ สรรพนามบุรุษ
                            ี่
ที่ ๓ เช่ น ท่ าน เขา มัน พระองค์ เป็ นต้ น
    ตัวอย่ าง
        ท่ านสั่ งให้ เธอกับฉันไปรอที่บ้าน
        เขากลับบ้ านตั้งแต่ เมื่อวานนีแล้ ว
                                      ้
๒. สรรพนามแสดงคาถาม หรือ ปฤจฉาสรรพนาม

        คือ คาสรรพนามทีใช้ แทนคานามในประโยคคาถาม
                         ่
 เช่ น ใคร อะไร ที่ไหน เมื่อไร เป็ นต้ น
     ตัวอย่ าง
                 ใครโทรศัพท์ มาหาฉัน
                 พ่อจะไปภูเก็ตเมื่อไร
๓. สรรพนามใช้ ชี้ระยะ หรือ นิยมสรรพนาม
       คือ คาสรรพนามที่ใช้ แทนคานามเพือกาหนดให้ ชัดเจนว่า
                                      ่
เป็ นคนไหน สิ่ งใด และบอกระยะใกล้หรือไกล เช่ น นี่ นั่น โน่ น
โน้ น เป็ นต้ น
      ตัวอย่ าง
                   โน่ นบ้ านของฉัน
                  นี่บ้านของใคร
เด็กๆ สังเกตด้วยนะ
       คาว่า “นี่ นี้ นัน นัน โน่ น โน้น” ที่เป็ น
                        ่ ้
สรรพนามใช้ช้ ีระยะ ต้องอยู่หน้าคานามเท่านัน       ้
๔. สรรพนามบอกความไม่ เจาะจง หรือ อนิยมสรรพนาม
        คือ คาสรรพนามทีใช้ แทนคานามที่ไม่ กาหนดแน่ นอน
                            ่
ใช้ ในประโยคบอกเล่ า เช่ น ใคร อะไร ทีไหน สิ่ งใด เป็ นต้ น
                                      ่
    ตัวอย่ าง
                เธอจะทาอะไรก็ได้
                ใครจะไปทาบุญทีวดก็ไปได้
                              ่ั
                เธอจะมาบ้ านฉันเมื่อไรก็ได้
๕. สรรพนามบอกความชี้ซ้า หรือ วิภาคสรรพนาม
       คือ คาสรรพนามที่ใช้ แทนนามข้ างหน้ า เพือแยกนาม
                                               ่
นั้นออกเป็ นส่ วนๆ ได้ แก่ บ้ าง ต่ าง กัน
     ตัวอย่ าง
                 สุ นัขกาลังกัดกัน
                 ชาวนาต่ างทางานหนัก
                 นักเรียนกลุ่มนั้นบ้ างก็วงบ้ างก็เดิน
                                          ิ่
๖. สรรพนามเชื่อมประโยค หรือ ประพันธสรรพนาม

         คือ คาสรรพนามทีใช้ แทนนามข้ างหน้ าเพือ
                             ่                 ่
   เชื่อมความ ได้ แก่ คาว่ า ผู้ ที่ ซึ่ง อัน
ตัวอย่ าง
            ดอกไม้ ทปลูกอยู่ริมรั้วสวยมาก
                    ี่
            พวกเรายกย่ องบุคคลผู้มีความซื่อสั ตย์
ฟื้ นฟูความรู้ ลองทาแบบฝึ กหัด
              นะคะ
แบบฝึ กหัดที่ ๑
ให้ เลือกคาทีเ่ ป็ นคาสรรพนาม ไปวางลงในช่ องว่ างให้ ถูกต้ อง

    ท้ องฟา
          ้           เขา              นกเอียง
                                            ้         มัน
   พระองค์            โยม               ข้ าพเจ้ า   ชาวไทย
แบบฝึ กหัดที่ ๒

    ให้ นาคาสรรพนามมาแทนคานามในเรื่องต่ อไปนี้
        เช้ าวันหนึ่ง หนึ่งกับหน่ อยชวนกันถีบจักรยานไปเที่ยว
ในหมู่บ้าน ๑หนึ่งกับหน่ อยถีบจักรยานอย่ างรวดเร็ว ไม่ ทันระวัง
มีลูกสุ นัขตัวหนึ่งวิงตัดหน้ า หนึ่งจึงชน ๒ลูกสุ นัขอย่ างแรง หนึ่ง
                      ่
ตกใจมาก ตะโกนเรียกหน่ อยให้ มามาช่ วย “๓หน่ อยมาช่ วย
๔หนึ่งด้ วย”
       ๑..............................            ๒............................
       ๓.............................             ๔............................
เช้ านี้ คุณแม่ ไปตลาด ๑คุณแม่ ซื้อกับข้ าวและของหลาย
อย่ าง เจ้ ามอมมองเห็นคุณแม่ ๒เจ้ ามอมวิงไปหาทันที ส้ มก็ไป
                                            ่
ช่ วยถือของ ๓ส้ มเอาของไปเก็บในครัว แล้ วถามแม่ ว่า “ลุงดาไม่
สบาย ๔ลุงดาหายหรือยังคะ”

      ๑..............................   ๒............................

      ๓.............................    ๔............................
แบบฝึ กหัดที่ ๓
เติมคาสรรพนามทีกาหนดให้ ลงในช่ องว่ างให้ ได้ ใจความถูกต้ อง
               ่

   อาตมา           เขา          มัน           ที่         ผู้

    เธอ            อะไร          กัน          ใคร        โน่ น


  ๑. “ .................. ควรรับฟังความคิดเห็นของเพือนนะ”
                                                    ่

    ๒. แม่ บอกว่ า “ไม่ ควรรังแกสั ตว์ เพราะ...................
 น่ าสงสาร”
อาตมา            เขา          มัน         ที่         ผู้

  เธอ            อะไร         กัน         ใคร         โน่ น


๓. “....................... เห็นด้ วยกับความคิดของโยมนะ”

๔. “เด็กๆ เล่ น ....................... อย่ างสนุกสนาน”

๕. “ในกล่ องไม่ มี ...................... เลย”
๖.      “ครู ทาโทษนักเรียน....................ไม่ ทาการบ้ าน”
อาตมา            เขา           มัน       ที่           ผู้

เธอ             อะไร           กัน       ใคร          โน่ น


๗. “ .................. ทาความดีกได้ รับการยกย่ อง”
                                 ็
๘. “....................อยู่ใต้ โต๊ ะ”

๙.     “สุ นัข.....................เธอให้ ฉันมันตายแล้ ว”

๑๐. “...................ทาการบ้ านเสร็จหรือยัง”
แบบฝึ กหัดที่ ๔

อ่ านข้ อความ แล้ วบอกว่ าคาที่ขดเส้ นใต้ เป็ นคาสรรพนามชนิดใด
                                ี

     ใครอ่ านนิทาน .........................................................

     ฉันเป็ นนักเรียน .........................................................

     ใครๆ ก็ไม่ รักเด็กเกเร .................................................

     ส้ มกับเงาะไปเที่ยวทะเลกัน ......................................
รองเท้ านี่ของคุณแม่ ....................................................

ฉันกินอะไรก็ได้          .........................................................

นักเรียนต่ างทางานทีครู มอบหมาย ...............................
                    ่

คุณมาหมาใครคะ ........................................................
แบบฝึ กหัดที่ ๕

 เติมคาลงในช่ องว่ างตามชนิดของคาสรรพนามทีกาหนดให้
                                          ่

๑. ............................อยู่บนหลังตู้
    (สรรพนามใช้ถาม)

๒. คุณตา....................เป็ นทีรักของพวกเราถึงแก่ กรรมแล้ ว
                                   ่
   (สรรพนามเชื่อมประโยค)
๓. ถ้ าอยู่แล้ วสบายใจ ............................... ฉันก็อยู่ได้
   (สรรพนามบอกความไม่เจาะจง)

๔. ......................... เคยพบเขาที่ไหน (สรรพนามบุรุษที่ ๒)

๕. นักกีฬา ........................... แข่ งขันกีฬา
   (สรรพนามบอกความชี้ซ้ า)
แบบฝึ กหัดที่ ๖

  เพือนๆ ช่ วยกันเรียงคาต่ อไปนีให้ เป็ นประโยคด้ วยนะคะ
     ่                          ้


 ๑.           หนังสื อ          นี่          ของ            ฉัน
.................................................................................

๒.             ใคร             ไป            ตลาด            จะ
.................................................................................
๓.        สักอย่าง ก็              อะไร ไม่ได้ เขา กิน
.................................................................................

๔.          บ้าน           โน่น            ของ             ฉัน
.................................................................................

๕.        ดอกไม้ ปลูก ริ มรั้ว สวยงาม ที่                                อยู่
.................................................................................
<Scoreboard will appear here, leave shape as-is.>
สรุ ปความรู้

      คาสรรพนาม คือ คาที่ใช้ แทนคานาม เพือไม่ ต้อง
                                         ่
กล่ าวคานามนั้นซ้าอีก
    คาสรรพนาม แบ่ งออกเป็ น ๖ ชนิด ได้ แก่
 ๑. บุรุษสรรพนาม แบ่ งออกเป็ น ๓ ชนิด คือ
    ๑.๑ สรรพนามแทนผู้พด   ู
    ๑.๒ สรรพนามแทนผู้ฟัง
    ๑.๓ สรรพนามแทนผู้ทถูกกล่ าวถึง
                       ่ี
ส้ มโอ
                              เธอเข้ าใจหรือยังจ๊ ะ
๒. สรรพนามแสดงคาถาม
๓. สรรพนามใช้ ชี้ระยะ
๔. สรรพนามบอกความไม่ เจาะจง
๕. สรรพนามบอกความชี้ซ้า
๖. สรรพนามเชื่อมประโยค          ฉันเข้ าใจแล้ วจ๊ ะ
ตรวจสอบความรู้จาก
แบบทดสอบหลังเรียน
๑. ข้ อใดคือคาสรรพนาม
 ก. คาที่ใช้ เรียกชื่อ คน สั ตว์ สิ่ งของ สถานที่

 ข. คาที่ใช้ แทนชื่อ คน สั ตว์ สิ่ งของ สถานที่

 ค. คาที่บอกลักษณะของคน สั ตว์ สิ่ งของ

 ง. คาที่ใช้ เชื่อมข้ อความหรือประโยค
๒. ข้ อใดคือคาสรรพนามแทนผู้พูด
       ก. ข้ าพเจ้ า        ข. พระองค์

      ค. ฝ่ าพระบาท        ง. พระคุณเจ้ า
๓. ข้ อใดมีคาสรรพนาม
       ก. พระกาลังฉันภัตตาหารเพล

       ข. นิดรักน้ อยฉันญาติสนิท

       ค. แสงจันทร์ วนนีงามเฉิดฉัน
                     ั ้

       ง. ฉันกาลังเตรียมตัวสอบ
๔. ข้ อใดคือคาสรรพนามแทนพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัว

           ก. ใต้ ฝ่าพระบาท

          ข. ใต้ ฝ่าธุลพระบาท
                       ี

          ค. ใต้ ฝ่าละอองพระบาท

          ง. ใต้ ฝ่าละอองธุลพระบาท
                            ี
๕. “ช้ างโขลงใหญ่ ต่างแยกย้ ายกันหาอาหาร” จากข้ อความ
มีคาสรรพนามชนิดใด
           ก. สรรพนามชี้ระยะ
          ข. สรรพนามเชื่อมประโยค
          ค. สรรพนามบอกความชี้ซ้า
          ง. สรรพนามบอกความไม่ เจาะจง
๖. “ท่ านสั่ งให้ คุณไปพบทีบ้าน” คาที่ขดเส้ นใต้ เป็ น
                           ่           ี
บุรุษสรรพนามในข้ อใด
           ก. แทนผู้พูด

           ข. แทนผู้ฟัง
           ค. แทนผู้ทถูกกล่ าวถึง
                     ี่

           ง. ผิดทุกข้ อ
๗. “เธอจะเอาอันไหนก็ได้ ” จากข้ อความ มีคาสรรพนาม
ชนิดใด
          ก. สรรพนามชี้ระยะ
          ข. สรรพนามเชื่อมประโยค
          ค. สรรพนามบอกความชี้ซ้า
         ง. สรรพนามบอกความไม่ เจาะจง
๘. “บ้ านทีเ่ ห็นอยู่โน่ นเป็ นของฉัน” จากข้ อความ
มีคาสรรพนามชนิดใด
         ก. สรรพนามชี้ระยะ

         ข. สรรพนามเชื่อมประโยค

         ค. สรรพนามบอกความชี้ซ้า

         ง. สรรพนามบอกความไม่ เจาะจง
๙. “ใครๆ ก็รักมัน” คาว่ า ใคร เป็ นคาสรรพนามชนิดใด
       ก. สรรพนามใช้ ถาม

       ข. สรรพนามชี้ระยะ

       ค. สรรพนามบอกความชี้ซ้า

      ง. สรรพนามบอกความไม่ เจาะจง
๑๐. ข้ อใดมีสรรพนามใช้ ถาม

     ก. ใครจะไปเที่ยวกับฉัน

     ข. ใครๆ ก็รักเจ้ ามอม

     ค. ใดๆ ในโลกล้ วนอนิจจัง

    ง. ผู้ใดพบกระเป๋ าสี แดง โปรดติดต่ อคุณนิด
<Scoreboard will appear here, leave shape as-is.>

More Related Content

What's hot

๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
นิตยา ทองดียิ่ง
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
พัน พัน
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
Sivagon Soontong
 
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
Petsa Petsa
 
คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]
คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]
คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]
Nongkran_Jarurnphong
 

What's hot (20)

๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
 
Powerpoint คำนาม ม.1
Powerpoint คำนาม ม.1Powerpoint คำนาม ม.1
Powerpoint คำนาม ม.1
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
คำไวพจน์
คำไวพจน์คำไวพจน์
คำไวพจน์
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
 
คำสันธาน
คำสันธานคำสันธาน
คำสันธาน
 
โวหารการเขียน ม.6
โวหารการเขียน ม.6โวหารการเขียน ม.6
โวหารการเขียน ม.6
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
 
คำอุทาน
คำอุทานคำอุทาน
คำอุทาน
 
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
 
มาตราแม่ กน
มาตราแม่ กนมาตราแม่ กน
มาตราแม่ กน
 
คำสรรพนาม
คำสรรพนามคำสรรพนาม
คำสรรพนาม
 
คำวิเศษณ์
คำวิเศษณ์คำวิเศษณ์
คำวิเศษณ์
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
 
คำไทยแท้
คำไทยแท้คำไทยแท้
คำไทยแท้
 
คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]
คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]
คำวิเศษณ์2 [โหมดความเข้ากันได้]
 

Viewers also liked

มารู้จักพินทุ์อิ
มารู้จักพินทุ์อิมารู้จักพินทุ์อิ
มารู้จักพินทุ์อิ
Piyarerk Bunkoson
 
ความงามกับภาษา
ความงามกับภาษาความงามกับภาษา
ความงามกับภาษา
maerimwittayakom school
 
Waterรวมวารีดุริยางค์
Waterรวมวารีดุริยางค์Waterรวมวารีดุริยางค์
Waterรวมวารีดุริยางค์
maerimwittayakom school
 
ฝันสลายหากท้องในวัยเรียน บทความโดย ปิยะฤกษ์ บุญโกศล
ฝันสลายหากท้องในวัยเรียน บทความโดย ปิยะฤกษ์ บุญโกศลฝันสลายหากท้องในวัยเรียน บทความโดย ปิยะฤกษ์ บุญโกศล
ฝันสลายหากท้องในวัยเรียน บทความโดย ปิยะฤกษ์ บุญโกศล
Piyarerk Bunkoson
 
002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง
002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง
002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง
Piyarerk Bunkoson
 
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
Napadon Yingyongsakul
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานี
khorntee
 
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
ผอ.พีระยศ บุญเพ็ง
 

Viewers also liked (20)

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
 
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๕
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๕แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๕
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๕
 
มารู้จักพินทุ์อิ
มารู้จักพินทุ์อิมารู้จักพินทุ์อิ
มารู้จักพินทุ์อิ
 
โวหาร
โวหารโวหาร
โวหาร
 
การโต้วาที
การโต้วาทีการโต้วาที
การโต้วาที
 
ความงามกับภาษา
ความงามกับภาษาความงามกับภาษา
ความงามกับภาษา
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
Waterรวมวารีดุริยางค์
Waterรวมวารีดุริยางค์Waterรวมวารีดุริยางค์
Waterรวมวารีดุริยางค์
 
ฝันสลายหากท้องในวัยเรียน บทความโดย ปิยะฤกษ์ บุญโกศล
ฝันสลายหากท้องในวัยเรียน บทความโดย ปิยะฤกษ์ บุญโกศลฝันสลายหากท้องในวัยเรียน บทความโดย ปิยะฤกษ์ บุญโกศล
ฝันสลายหากท้องในวัยเรียน บทความโดย ปิยะฤกษ์ บุญโกศล
 
วิถีไทย
วิถีไทยวิถีไทย
วิถีไทย
 
002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง
002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง
002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง
 
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
 
เล่มที่ 6 คำอุทาน
เล่มที่ 6 คำอุทานเล่มที่ 6 คำอุทาน
เล่มที่ 6 คำอุทาน
 
Earth Hour 2010
Earth Hour 2010Earth Hour 2010
Earth Hour 2010
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานี
 
กาพย์ยานี11 ป.5
กาพย์ยานี11 ป.5กาพย์ยานี11 ป.5
กาพย์ยานี11 ป.5
 
บทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสง
บทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสงบทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสง
บทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสง
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษา
 
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
 
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.5
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.5คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.5
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.5
 

Similar to บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5

คำในภาษาไทย
คำในภาษาไทยคำในภาษาไทย
คำในภาษาไทย
Siraporn Boonyarit
 
คำในภาษาไทย (1)
คำในภาษาไทย (1)คำในภาษาไทย (1)
คำในภาษาไทย (1)
perunruk
 
แผ่นพับกาพย์ยานี๑๑
แผ่นพับกาพย์ยานี๑๑แผ่นพับกาพย์ยานี๑๑
แผ่นพับกาพย์ยานี๑๑
peerapit
 
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
Sitthisak Thapsri
 
งานชนิดของคำ
งานชนิดของคำงานชนิดของคำ
งานชนิดของคำ
speedpiyawat
 
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
thaneerat
 
แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3
แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3
แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3
Prapatsorn Chaihuay
 
แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3
แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3
แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3
PrapatsornPalmmy
 

Similar to บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5 (20)

คำในภาษาไทย
คำในภาษาไทยคำในภาษาไทย
คำในภาษาไทย
 
คำในภาษาไทย (1)
คำในภาษาไทย (1)คำในภาษาไทย (1)
คำในภาษาไทย (1)
 
แผ่นพับกาพย์ยานี๑๑
แผ่นพับกาพย์ยานี๑๑แผ่นพับกาพย์ยานี๑๑
แผ่นพับกาพย์ยานี๑๑
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 
แบบเรียนชนิดของคำ
แบบเรียนชนิดของคำแบบเรียนชนิดของคำ
แบบเรียนชนิดของคำ
 
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
 
งานชนิดของคำ
งานชนิดของคำงานชนิดของคำ
งานชนิดของคำ
 
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
 
คำกริยา
คำกริยาคำกริยา
คำกริยา
 
Te500 2
Te500 2Te500 2
Te500 2
 
Te500 2
Te500 2Te500 2
Te500 2
 
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
 
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
 
แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3
แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3
แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
ติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O netติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O net
 
แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3
แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3
แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3
 
คำสรรพนาม
คำสรรพนามคำสรรพนาม
คำสรรพนาม
 
คำสรรพนาม
คำสรรพนามคำสรรพนาม
คำสรรพนาม
 
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
 

More from ปวริศา (9)

เทคโนโลยี Web 2
เทคโนโลยี Web 2เทคโนโลยี Web 2
เทคโนโลยี Web 2
 
บทคัดย่อ มัลติพ้อยท์เม้าส์
บทคัดย่อ มัลติพ้อยท์เม้าส์บทคัดย่อ มัลติพ้อยท์เม้าส์
บทคัดย่อ มัลติพ้อยท์เม้าส์
 
บทคัดย่อ มัลติพ้อยท์เม้าส์
บทคัดย่อ มัลติพ้อยท์เม้าส์ บทคัดย่อ มัลติพ้อยท์เม้าส์
บทคัดย่อ มัลติพ้อยท์เม้าส์
 
การโพสต์รูปในเว็บFlickr
การโพสต์รูปในเว็บFlickrการโพสต์รูปในเว็บFlickr
การโพสต์รูปในเว็บFlickr
 
การโพสต์รูปในเว็บFlickr
การโพสต์รูปในเว็บFlickrการโพสต์รูปในเว็บFlickr
การโพสต์รูปในเว็บFlickr
 
การใช้ Slideshare
การใช้ Slideshareการใช้ Slideshare
การใช้ Slideshare
 
การใช้ Slideshare
การใช้ Slideshareการใช้ Slideshare
การใช้ Slideshare
 
อัลบั้มรูปอุทยานดอกไม้
อัลบั้มรูปอุทยานดอกไม้อัลบั้มรูปอุทยานดอกไม้
อัลบั้มรูปอุทยานดอกไม้
 
Earth
EarthEarth
Earth
 

บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5

  • 1. สาระการเรียนร้ ู ภาษาไทย เรื่อง ชนิดของคา บทเรียนที่ ๒ คาสรรพนาม
  • 2. สาระสาคัญ คาสรรพนาม คือ คาทีใช้ แทนคานาม เพือจะ ่ ่ ไม่ ต้องใช้ คานามซ้าอีกครั้งในการพูดหรือเขียน
  • 3. ผลการเรียนรู้ทคาดหวัง ี่ ๑. อธิบายความหมายของคาสรรพนามได้ ๒. จาแนกชนิดของคาสรรพนามได้ ๓. ยกตัวอย่ างคาสรรพนามชนิดต่ างๆ ได้
  • 6. ๑. ข้ อใดคือคาสรรพนาม ก. คาที่ใช้ เรียกชื่อ คน สั ตว์ สิ่ งของ สถานที่ ข. คาที่ใช้ แทนชื่อ คน สั ตว์ สิ่ งของ สถานที่ ค. คาที่บอกลักษณะของคน สั ตว์ สิ่ งของ ง. คาที่ใช้ เชื่อมข้ อความหรือประโยค
  • 7. ๒. ข้ อใดคือคาสรรพนามแทนผู้พด ู ก. ข้ าพเจ้ า ข. พระองค์ ค. ฝ่ าพระบาท ง. พระคุณเจ้ า
  • 8. ๓. ข้ อใดมีคาสรรพนาม ก. พระกาลังฉันภัตตาหารเพล ข. นิดรักน้ อยฉันญาติสนิท ค. แสงจันทร์ วนนีงามเฉิดฉัน ั ้ ง. ฉันกาลังเตรียมตัวสอบ
  • 9. ๔. ข้ อใดคือคาสรรพนามแทนพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัว ก. ใต้ ฝ่าพระบาท ข. ใต้ ฝ่าธุลพระบาท ี ค. ใต้ ฝ่าละอองพระบาท ง. ใต้ ฝ่าละอองธุลพระบาท ี
  • 10. ๕. “ช้ างโขลงใหญ่ ต่างแยกย้ ายกันหาอาหาร” จากข้ อความ มีคาสรรพนามชนิดใด ก. สรรพนามชี้ระยะ ข. สรรพนามเชื่อมประโยค ค. สรรพนามบอกความชี้ซ้า ง. สรรพนามบอกความไม่ เจาะจง
  • 11. ๖. “ท่ านสั่ งให้ คุณไปพบทีบ้าน” คาที่ขดเส้ นใต้ เป็ น ่ ี บุรุษสรรพนามในข้ อใด ก. แทนผู้พูด ข. แทนผู้ฟัง ค. แทนผู้ทถูกกล่ าวถึง ี่ ง. ผิดทุกข้ อ
  • 12. ๗. “เธอจะเอาอันไหนก็ได้ ” จากข้ อความ มีคาสรรพนาม ชนิดใด ก. สรรพนามชี้ระยะ ข. สรรพนามเชื่อมประโยค ค. สรรพนามบอกความชี้ซ้า ง. สรรพนามบอกความไม่ เจาะจง
  • 13. ๘. “บ้ านทีเ่ ห็นอยู่โน่ นเป็ นของฉัน” จากข้ อความ มีคาสรรพนามชนิดใด ก. สรรพนามชี้ระยะ ข. สรรพนามเชื่อมประโยค ค. สรรพนามบอกความชี้ซ้า ง. สรรพนามบอกความไม่ เจาะจง
  • 14. ๙. “ใครๆ ก็รักมัน” คาว่ า ใคร เป็ นคาสรรพนามชนิดใด ก. สรรพนามใช้ ถาม ข. สรรพนามชี้ระยะ ค. สรรพนามบอกความชี้ซ้า ง. สรรพนามบอกความไม่ เจาะจง
  • 15. ๑๐. ข้ อใดมีสรรพนามใช้ ถาม ก. ใครจะไปเที่ยวกับฉัน ข. ใครๆ ก็รักเจ้ ามอม ค. ใดๆ ในโลกล้ วนอนิจจัง ง. ผู้ใดพบกระเป๋ าสี แดง โปรดติดต่ อคุณนิด
  • 16. <Scoreboard will appear here, leave shape as-is.>
  • 17. หนูนิด เธอทาแบบทดสอบ ได้ หรือเปล่ า ฉันทาไม่ ได้ จ๊ะ เพือนๆ ทาได้ หรือเปล่าคะ ่ เดี๋ยวพวกเราไปศึกษา เรื่อง คาสรรพนาม พร้ อมกันนะ
  • 18. ความหมายคาสรรพนาม คาสรรพนาม คือ คาที่ใช้ แทนชื่อ คน สั ตว์ สิ่ งของ เพือไม่ ต้องกล่ าวคานั้นซ้าอีก เราจึงใช้ คาสรรพนามแทน ่ คานาม
  • 19. ชนิดของคาสรรพนาม คาสรรพนาม แบ่ งออกเป็ น ๖ ชนิด ดังนี้ ๑. บุรุษสรรพนาม ๒. สรรพนามใช้ ถาม หรือ ปฤจฉาสรรพนาม ๓. สรรพนามชี้ระยะ หรือ นิยมสรรพนาม ๔. สรรพนามบอกความไม่ เจาะจง หรือ อนิยมสรรพนาม ๕. สรรพนามบอกความชี้ซ้า หรือ วิภาคสรรพนาม ๖. สรรพนามเชื่อมประโยค หรือ ประพันธสรรพนาม
  • 20. ๑. บุรุษสรรพนาม คือ คาทีใช้ แทนคานามในการสนทนา เช่ น ฉัน คุณ ่ เธอ ท่ าน ฯลฯ แบ่ งออกเป็ น ๓ ชนิด ได้ แก่ ๑. สรรพนามแทนผู้พด หรือ สรรพนามบุรุษที่ ๑ เช่ น ู ฉัน ดิฉัน กระผม ข้ าพเจ้ า เป็ นต้ น ตัวอย่ าง ฉันกาลังอ่ านหนังสื อ ผมเรียนอยู่ช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๕
  • 21. ๒. สรรพนามแทนผู้ฟัง หรือ สรรพนามบุรุษที่ ๒ เช่ น เธอ คุณ ท่ าน ใต้ เท้ า พระคุณเจ้ า โยม เป็ นต้ น ตัวอย่ าง เธอไปเที่ยวกับฉันไหม อาตมาขอบใจโยมนะ ทีเ่ ป็ นธุระให้
  • 22. ๓. สรรพนามแทนผู้ทถูกกล่ าวถึง หรือ สรรพนามบุรุษ ี่ ที่ ๓ เช่ น ท่ าน เขา มัน พระองค์ เป็ นต้ น ตัวอย่ าง ท่ านสั่ งให้ เธอกับฉันไปรอที่บ้าน เขากลับบ้ านตั้งแต่ เมื่อวานนีแล้ ว ้
  • 23. ๒. สรรพนามแสดงคาถาม หรือ ปฤจฉาสรรพนาม คือ คาสรรพนามทีใช้ แทนคานามในประโยคคาถาม ่ เช่ น ใคร อะไร ที่ไหน เมื่อไร เป็ นต้ น ตัวอย่ าง ใครโทรศัพท์ มาหาฉัน พ่อจะไปภูเก็ตเมื่อไร
  • 24. ๓. สรรพนามใช้ ชี้ระยะ หรือ นิยมสรรพนาม คือ คาสรรพนามที่ใช้ แทนคานามเพือกาหนดให้ ชัดเจนว่า ่ เป็ นคนไหน สิ่ งใด และบอกระยะใกล้หรือไกล เช่ น นี่ นั่น โน่ น โน้ น เป็ นต้ น ตัวอย่ าง โน่ นบ้ านของฉัน นี่บ้านของใคร
  • 25. เด็กๆ สังเกตด้วยนะ คาว่า “นี่ นี้ นัน นัน โน่ น โน้น” ที่เป็ น ่ ้ สรรพนามใช้ช้ ีระยะ ต้องอยู่หน้าคานามเท่านัน ้
  • 26. ๔. สรรพนามบอกความไม่ เจาะจง หรือ อนิยมสรรพนาม คือ คาสรรพนามทีใช้ แทนคานามที่ไม่ กาหนดแน่ นอน ่ ใช้ ในประโยคบอกเล่ า เช่ น ใคร อะไร ทีไหน สิ่ งใด เป็ นต้ น ่ ตัวอย่ าง เธอจะทาอะไรก็ได้ ใครจะไปทาบุญทีวดก็ไปได้ ่ั เธอจะมาบ้ านฉันเมื่อไรก็ได้
  • 27. ๕. สรรพนามบอกความชี้ซ้า หรือ วิภาคสรรพนาม คือ คาสรรพนามที่ใช้ แทนนามข้ างหน้ า เพือแยกนาม ่ นั้นออกเป็ นส่ วนๆ ได้ แก่ บ้ าง ต่ าง กัน ตัวอย่ าง สุ นัขกาลังกัดกัน ชาวนาต่ างทางานหนัก นักเรียนกลุ่มนั้นบ้ างก็วงบ้ างก็เดิน ิ่
  • 28. ๖. สรรพนามเชื่อมประโยค หรือ ประพันธสรรพนาม คือ คาสรรพนามทีใช้ แทนนามข้ างหน้ าเพือ ่ ่ เชื่อมความ ได้ แก่ คาว่ า ผู้ ที่ ซึ่ง อัน ตัวอย่ าง ดอกไม้ ทปลูกอยู่ริมรั้วสวยมาก ี่ พวกเรายกย่ องบุคคลผู้มีความซื่อสั ตย์
  • 30. แบบฝึ กหัดที่ ๑ ให้ เลือกคาทีเ่ ป็ นคาสรรพนาม ไปวางลงในช่ องว่ างให้ ถูกต้ อง ท้ องฟา ้ เขา นกเอียง ้ มัน พระองค์ โยม ข้ าพเจ้ า ชาวไทย
  • 31. แบบฝึ กหัดที่ ๒ ให้ นาคาสรรพนามมาแทนคานามในเรื่องต่ อไปนี้ เช้ าวันหนึ่ง หนึ่งกับหน่ อยชวนกันถีบจักรยานไปเที่ยว ในหมู่บ้าน ๑หนึ่งกับหน่ อยถีบจักรยานอย่ างรวดเร็ว ไม่ ทันระวัง มีลูกสุ นัขตัวหนึ่งวิงตัดหน้ า หนึ่งจึงชน ๒ลูกสุ นัขอย่ างแรง หนึ่ง ่ ตกใจมาก ตะโกนเรียกหน่ อยให้ มามาช่ วย “๓หน่ อยมาช่ วย ๔หนึ่งด้ วย” ๑.............................. ๒............................ ๓............................. ๔............................
  • 32. เช้ านี้ คุณแม่ ไปตลาด ๑คุณแม่ ซื้อกับข้ าวและของหลาย อย่ าง เจ้ ามอมมองเห็นคุณแม่ ๒เจ้ ามอมวิงไปหาทันที ส้ มก็ไป ่ ช่ วยถือของ ๓ส้ มเอาของไปเก็บในครัว แล้ วถามแม่ ว่า “ลุงดาไม่ สบาย ๔ลุงดาหายหรือยังคะ” ๑.............................. ๒............................ ๓............................. ๔............................
  • 33. แบบฝึ กหัดที่ ๓ เติมคาสรรพนามทีกาหนดให้ ลงในช่ องว่ างให้ ได้ ใจความถูกต้ อง ่ อาตมา เขา มัน ที่ ผู้ เธอ อะไร กัน ใคร โน่ น ๑. “ .................. ควรรับฟังความคิดเห็นของเพือนนะ” ่ ๒. แม่ บอกว่ า “ไม่ ควรรังแกสั ตว์ เพราะ................... น่ าสงสาร”
  • 34. อาตมา เขา มัน ที่ ผู้ เธอ อะไร กัน ใคร โน่ น ๓. “....................... เห็นด้ วยกับความคิดของโยมนะ” ๔. “เด็กๆ เล่ น ....................... อย่ างสนุกสนาน” ๕. “ในกล่ องไม่ มี ...................... เลย” ๖. “ครู ทาโทษนักเรียน....................ไม่ ทาการบ้ าน”
  • 35. อาตมา เขา มัน ที่ ผู้ เธอ อะไร กัน ใคร โน่ น ๗. “ .................. ทาความดีกได้ รับการยกย่ อง” ็ ๘. “....................อยู่ใต้ โต๊ ะ” ๙. “สุ นัข.....................เธอให้ ฉันมันตายแล้ ว” ๑๐. “...................ทาการบ้ านเสร็จหรือยัง”
  • 36. แบบฝึ กหัดที่ ๔ อ่ านข้ อความ แล้ วบอกว่ าคาที่ขดเส้ นใต้ เป็ นคาสรรพนามชนิดใด ี ใครอ่ านนิทาน ......................................................... ฉันเป็ นนักเรียน ......................................................... ใครๆ ก็ไม่ รักเด็กเกเร ................................................. ส้ มกับเงาะไปเที่ยวทะเลกัน ......................................
  • 37. รองเท้ านี่ของคุณแม่ .................................................... ฉันกินอะไรก็ได้ ......................................................... นักเรียนต่ างทางานทีครู มอบหมาย ............................... ่ คุณมาหมาใครคะ ........................................................
  • 38. แบบฝึ กหัดที่ ๕ เติมคาลงในช่ องว่ างตามชนิดของคาสรรพนามทีกาหนดให้ ่ ๑. ............................อยู่บนหลังตู้ (สรรพนามใช้ถาม) ๒. คุณตา....................เป็ นทีรักของพวกเราถึงแก่ กรรมแล้ ว ่ (สรรพนามเชื่อมประโยค)
  • 39. ๓. ถ้ าอยู่แล้ วสบายใจ ............................... ฉันก็อยู่ได้ (สรรพนามบอกความไม่เจาะจง) ๔. ......................... เคยพบเขาที่ไหน (สรรพนามบุรุษที่ ๒) ๕. นักกีฬา ........................... แข่ งขันกีฬา (สรรพนามบอกความชี้ซ้ า)
  • 40. แบบฝึ กหัดที่ ๖ เพือนๆ ช่ วยกันเรียงคาต่ อไปนีให้ เป็ นประโยคด้ วยนะคะ ่ ้ ๑. หนังสื อ นี่ ของ ฉัน ................................................................................. ๒. ใคร ไป ตลาด จะ .................................................................................
  • 41. ๓. สักอย่าง ก็ อะไร ไม่ได้ เขา กิน ................................................................................. ๔. บ้าน โน่น ของ ฉัน ................................................................................. ๕. ดอกไม้ ปลูก ริ มรั้ว สวยงาม ที่ อยู่ .................................................................................
  • 42. <Scoreboard will appear here, leave shape as-is.>
  • 43. สรุ ปความรู้ คาสรรพนาม คือ คาที่ใช้ แทนคานาม เพือไม่ ต้อง ่ กล่ าวคานามนั้นซ้าอีก คาสรรพนาม แบ่ งออกเป็ น ๖ ชนิด ได้ แก่ ๑. บุรุษสรรพนาม แบ่ งออกเป็ น ๓ ชนิด คือ ๑.๑ สรรพนามแทนผู้พด ู ๑.๒ สรรพนามแทนผู้ฟัง ๑.๓ สรรพนามแทนผู้ทถูกกล่ าวถึง ่ี
  • 44. ส้ มโอ เธอเข้ าใจหรือยังจ๊ ะ ๒. สรรพนามแสดงคาถาม ๓. สรรพนามใช้ ชี้ระยะ ๔. สรรพนามบอกความไม่ เจาะจง ๕. สรรพนามบอกความชี้ซ้า ๖. สรรพนามเชื่อมประโยค ฉันเข้ าใจแล้ วจ๊ ะ
  • 46. ๑. ข้ อใดคือคาสรรพนาม ก. คาที่ใช้ เรียกชื่อ คน สั ตว์ สิ่ งของ สถานที่ ข. คาที่ใช้ แทนชื่อ คน สั ตว์ สิ่ งของ สถานที่ ค. คาที่บอกลักษณะของคน สั ตว์ สิ่ งของ ง. คาที่ใช้ เชื่อมข้ อความหรือประโยค
  • 47. ๒. ข้ อใดคือคาสรรพนามแทนผู้พูด ก. ข้ าพเจ้ า ข. พระองค์ ค. ฝ่ าพระบาท ง. พระคุณเจ้ า
  • 48. ๓. ข้ อใดมีคาสรรพนาม ก. พระกาลังฉันภัตตาหารเพล ข. นิดรักน้ อยฉันญาติสนิท ค. แสงจันทร์ วนนีงามเฉิดฉัน ั ้ ง. ฉันกาลังเตรียมตัวสอบ
  • 49. ๔. ข้ อใดคือคาสรรพนามแทนพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัว ก. ใต้ ฝ่าพระบาท ข. ใต้ ฝ่าธุลพระบาท ี ค. ใต้ ฝ่าละอองพระบาท ง. ใต้ ฝ่าละอองธุลพระบาท ี
  • 50. ๕. “ช้ างโขลงใหญ่ ต่างแยกย้ ายกันหาอาหาร” จากข้ อความ มีคาสรรพนามชนิดใด ก. สรรพนามชี้ระยะ ข. สรรพนามเชื่อมประโยค ค. สรรพนามบอกความชี้ซ้า ง. สรรพนามบอกความไม่ เจาะจง
  • 51. ๖. “ท่ านสั่ งให้ คุณไปพบทีบ้าน” คาที่ขดเส้ นใต้ เป็ น ่ ี บุรุษสรรพนามในข้ อใด ก. แทนผู้พูด ข. แทนผู้ฟัง ค. แทนผู้ทถูกกล่ าวถึง ี่ ง. ผิดทุกข้ อ
  • 52. ๗. “เธอจะเอาอันไหนก็ได้ ” จากข้ อความ มีคาสรรพนาม ชนิดใด ก. สรรพนามชี้ระยะ ข. สรรพนามเชื่อมประโยค ค. สรรพนามบอกความชี้ซ้า ง. สรรพนามบอกความไม่ เจาะจง
  • 53. ๘. “บ้ านทีเ่ ห็นอยู่โน่ นเป็ นของฉัน” จากข้ อความ มีคาสรรพนามชนิดใด ก. สรรพนามชี้ระยะ ข. สรรพนามเชื่อมประโยค ค. สรรพนามบอกความชี้ซ้า ง. สรรพนามบอกความไม่ เจาะจง
  • 54. ๙. “ใครๆ ก็รักมัน” คาว่ า ใคร เป็ นคาสรรพนามชนิดใด ก. สรรพนามใช้ ถาม ข. สรรพนามชี้ระยะ ค. สรรพนามบอกความชี้ซ้า ง. สรรพนามบอกความไม่ เจาะจง
  • 55. ๑๐. ข้ อใดมีสรรพนามใช้ ถาม ก. ใครจะไปเที่ยวกับฉัน ข. ใครๆ ก็รักเจ้ ามอม ค. ใดๆ ในโลกล้ วนอนิจจัง ง. ผู้ใดพบกระเป๋ าสี แดง โปรดติดต่ อคุณนิด
  • 56. <Scoreboard will appear here, leave shape as-is.>