SlideShare a Scribd company logo
เฉลยแบบฝึกหัด
เรื่องการแต่งบทร้อยกรอง (โคลงสี่สุภาพ)
ตอนที่ ๑
๑. โคลงสี่สุภาพหนึ่งบท จะมี ๔ . บาท ในหนึ่งบาทจะมี ๒ วรรค คือ วรรคต้น กับ วรรคท้าย
๒. วรรคต้นจะมี ๕ คา วรรคต้นของบาทที่ ๑ บาทที่ ๒ และบาทที่ ๓ จะมี ๒ คา
๓. วรรคท้ายของบาทที่ ๔ จะมี ๔ คา ซึ่งรวมแล้วโคลงสี่สุภาพหนึ่งบทจะมีจานวนคาทั้งสิ้น ๓๐ คา
๔. คาเอก คือ คาที่มีรูปวรรณยุกต์เอกปรากฏอยู่ เช่น แม่ ย่า หนึ่ง อยู่ ที่ (ยกตัวอย่างมา ๕ คา)
๕. คาโท คือ คาที่มีรูปวรรณยุกต์โทปรากฏอยู่ เช่น บ้าน แพ้ ใช้ น้อย เบื้อง (ยกตัวอย่างมา ๕ คา)
๖. โคลงหนึ่งบทจะมีวรรณยุกต์เอก ๗ ตาแหน่ง และวรรณยุกต์โท ๔ ตาแหน่ง
๗. ตาแหน่งวรรณยุกต์เอก (คาเอก) และวรรณยุกต์โท (คาโท) ในวรรคต้นของบาทที่ ๑ สามารถที่จะวางสลับ
ตาแหน่งกันได้ คือ เอาวรรณยุกต์ที่เป็นเอกไปวางไว้ในคาที่ ๕ และเอาวรรณยุกต์ที่เป็นโทมาไว้เป็นคาที่ ๔ ก็
ได้ ดังตัวอย่าง (ให้นักเรียนขีดเส้นใต้คาเอกคาโทที่สลับตาแหน่งกัน)
ไยแม่ย่างเท้าเยี่ยง หญิงวัง
กะเดียดกะทายเพียงพัง พับล้ม
พิศผ่องผ่ายผอมพลัง เพลาซีด เซียวแม่
อยู่พี่แย่เยงก้ม กัดก้อนเกลือกิน
๘. คาที่ ๗ ของบาทที่ ๑ และคาที่ ๕ ของบาทที่ ๒ และบาทที่ ๓ ห้ามใช้คาที่มีรูปวรรณยุกต์
๙. ห้ามใช้คาตายที่ผันด้วยวรรณยุกต์โท ในตาแหน่งโท
๑๐. คาตาย คือ คาที่ประสมด้วยสระเสียงสั้นในมาตรา แม่ ก กา และคาที่มีตัวสะกดในมาตรา กก กด กบ
เช่น มะระ อุบะ โกะ วชิระ กระแจะ กะทิ กาก เกิด กอด คราส โบสถ์ พับ บาป (ยกตัวอย่าง
มา ๑๐ คา)
๑๑. คาสุดท้ายของบท ห้ามใช้คาตายและคาที่มีรูปวรรณยุกต์อื่นๆ นิยมใช้คาเสียงจัตวาที่ไม่ปรากฏรูป
๑๒. คาสร้อยคือ คาที่มาเสริมท้ายบาทหรือบทของโคลง มีหรือไม่มีก็ได้ เติมเพื่อความไพเราะหรือให้คาประพันธ์
สมบูรณ์ขึ้น ส่วนคาหลังมักลงท้ายด้วยคาต่อไปนี้เท่านั้น เช่น พ่อ แม่ พี่ รา แล เลย เอย นา นอ เนอ ฤๅ ฮา
แฮ เฮย
๑๓. คาที่เป็นเอกโทษคือ คาเดิมไม่ได้เขียนโดยใช้รูปวรรณยุกต์เอกเมื่อต้องการใช้จึงนาไปเปลี่ยนให้เป็นรูปวรรณยุกต์เอก
เช่น หน้า เขียนเป็น น่า ฯลฯ
๑๔. โทโทษ คือ คาเดิมไม่ได้เขียนโดยใช้รูปในวรรณยุกต์โทเมื่อต้องการใช้จึงนาไปเปลี่ยนให้เป็นรูปวรรณยุกต์โท เช่น หรือ
เขียนเป็น รื้อ , เล่น เขียนเป็น เหล้น ฯลฯ
ตอนที่ ๒ ให้นักเรียนเขียนแผนผังโคลงสี่สุภาพ
ตอนที่ ๓ ศึกษาบทร้อยกรองต่อไปนี้แล้วตอบคาถาม
เสียงลือเสียงเล่าอ้าง อันใด พี่เอย
เสียงย่อมยอยศใคร ทั่วหล้า
สองเขือพี่หลับใหล ลืมตื่น ฤๅพี่
สองพี่คิดเองอ้า อย่าได้ถามเผือ
๑. โคลงข้างต้นคือโคลง สี่สุภาพ มี ๑ บท หรือ ๔ บาท
๒. คาที่อยู่ในตาแหน่งคาเอกทั้งหมดในโคลงมี ๗ คา ได้แก่ เล่า ย่อม พี่ พี่ ทั่ว ตื่น อย่า
๓. คาที่อยู่ในตาแหน่งคาโททั้งหมดในโคลงมี ๔ คา ได้แก่ อ้าง หล้า อ้า ได้
๔. คาสุดท้ายของโคลงบทนี้คือ เผือ มีเสียงวรรณยุกต์ จัตวา
๕. จงแสดงสัมผัสอักษร (สัมผัสพยัญชนะ) เป็นคู่ๆ ในบทร้อยกรองข้างต้นทั้งหมด ลือ-เล่า, อ้าง-อัน-เอย. ย่อม-
ยอ-ยศ, หลับ-ใหล-ลืม, เอง-อ้า
๖. จงโยงเส้นสัมผัสตามลักษณะบังคับของโคลงสี่สุภาพให้ถูกต้อง (โยงที่บทร้อยกรองข้างต้นทั้งหมด)
ตอนที่ ๔ จงเรียงลำดับวรรคให้ถูกต้องตำมฉันทลักษณ์และได้ใจควำม
๑. ห้ามสุริยแสงจันทร์ ส่องไซร้
ห้ามดังนี้ไว้ได้ จึ่งห้ามนินทา
ห้ามอายุให้หัน คืนเล่า
ห้ามเพลิงไว้อย่าให้ มีควัน
๒. ทุกประเทศมีผู้นับ อ่านอ้าง
เป็นชายความรู้ยิ่ง เป็นทรัพย์
แม้ตกยากไร้ร้าง ห่อนไร้สามี
สตรีรูปงามสรรพ เป็นทรัพย์ ตนนา
๓. สามสิ่งนี้เว้นไว้ แต่ผู้ทรชน
ให้ท่านท่านจักให้ ตอบสนอง
รักท่านท่านควรครอง ความรัก เรานา
นบท่านท่านจักปอง นอบไหว้
ตอนที่ ๔ จงเลือกคำประพันธ์เติมลงในช่องว่ำงให้ถูกต้องตำมฉันทลักษณ์และได้ใจควำม
๑. ใดใดในโลกล้วน อนิจจัง
คงแต่บาปบุญยัง เที่ยงแท้
คือเงาติดตัวตรัง ตรึงแน่น อยู่นา
ตามแต่บุญบาปแล้ ก่อเกื้อรักษา
๒. เสียสินสงวนศักดิ์ไว้ วงศ์หงส์
เสียศักดิ์สู้ประสงค์ สิ่งรู้
เสียรู้เร่งดารง ความสัตย์ ไว้นา
เสียสัตย์อย่าเสียสู้ ชีพม้วยมรณา
เป็นชายความรู้ยิ่ง เป็นทรัพย์
ทุกประเทศมีผู้นับ อ่านอ้าง
สตรีรูปงามสรรพ เป็นทรัพย์ ตนนา
แม้ตกยากไร้ร้าง ห่อนไร้สามี
ก. คนบ่อ่านหนังสือยัง สอบได้
ข. คงแต่บาปบุญยัง เที่ยงแท้
ค. แม้แต่ตึกยังพัง ถล่มได้
ง. มีแค่กะละมัง แน่นัก
ก. เสียแฟนที่รวยจง ฆ่าตัว ตายเลย
ข. เสียเธอแม่โฉมยง ตัวพี่ ขอลา
ค. เสียความรู้ให้คง สัตย์ไว้ มั่นนา
ง. เสียรู้เร่งดารง ความสัตย์ ไว้นา
ให้ท่านท่านจักให้ ตอบสนอง
นบท่านท่านจักปอง นอบไหว้
รักท่านท่านควรครอง ความรัก เรานา
สามสิ่งนี้เว้นไว้ แต่ผู้ทรชน
ห้ามเพลิงไว้อย่าให้ มีควัน
ห้ามสุริยแสงจันทร์ ส่องไซร้
ห้ามอายุให้หัน คืนเล่า
ห้ามดังนี้ไว้ได้ จึ่งห้ามนินทา
๓. นานาประเทศล้วน นับถือ
คนที่รู้หนังสือ แต่งได้
ใครเกลียดอักษรคือ คนป่า
ใครเยาะกวีไซร้ แน่แท้คนดง
ตอนที่ ๕ จงเลือกคำที่กำหนดให้ในกรอบสี่เหลี่ยมมำเติมลงในช่องว่ำงให้ถูกต้องตำมฉันทลักษณ์และได้ใจควำม
๑. ทาบุญบุญแต่งให้ เห็นผล
คือดั่งเงาตามตน ติดแท้
ผู้ทาสิ่งอกุศล กรรมติด ตามนา
ดุจจักรเกวียนเวียนแล้ ไล่ต้อนตีนโค
๒. ถึงจนทนสู้กัด กินเกลือ
อย่าเที่ยวแล่เนื้อเถือ พวกพ้อง
อดอยากเยี่ยงอย่างเสือ สงวนศักดิ์
โซก็เสาะใส่ท้อง จับเนื้อกินเอง
๓. อย่าเอื้อมเด็ดดอกฟ้า มาถนอม
สูงสุดมือมักตรอม อกไข้
เด็ดแต่ดอกพะยอม ยามยาก ชมนา
สูงก็สอยด้วยไม้ อาจเอื้อมเอาถึง
๔. รักกันอยู่ขอบฟ้า เขาเขียว
เสมออยู่หอแห่งเดียว ร่วมห้อง
ชังกันบ่แลเหลียว ตาต่อ กันนา
เหมือนขอบฟ้ามาป้อง ป่าไม้มาบัง
๕. ร้อยชู้ฤๅเท่าเนื้อ เมียตน
เมียแล่พันฤๅดล แม่ได้
ทรงครรภ์คลอดเปนคน ฤๅง่าย เลยนา
เลี้ยงยากนักท้าวไท้ ธิราชผู้มีคุณ
ตอนที่ ๖ ให้นักเรียนแต่งโคลงสี่สุภำพ จำนวน ๑ บท (พิจารณาตามดุลยพินิจของผู้สอน)
ก. คนที่ปัญญาเฉียบ แหลมหลาย
ข. คนที่อานาจใหญ่ ยิ่งล้น
ค. คนที่มีดนตรี ในหัว
ง. คนที่รู้หนังสือ แต่งได้
ตัว กุศล ชั่วร้าย ตน จริง ภาพ
เลย ผล บุญ ชัด ดี หลอก
สิงห์ พญา ราชา เถือ เฉือน
หงส์ เสือ ผี ไถ ขู่
เจ็บ พลาด ตรอม หญ้า มือ
เงิน ไม้ กล้า ปัญญา สู้
ใหญ่ สูง ป้อง แหลม เขียว
แกล้ง กัน ปัด ขวาง ไกล
ได้ ฤา หรือ นา ฉัน
ตัว กาย ลูก คน เจ้า

More Related Content

What's hot

รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มGuntima NaLove
 
โคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพโคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพ
Surapong Klamboot
 
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖baicha1006
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
sripayom
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
kruthai40
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3teerachon
 
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
Manas Panjai
 
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดMethaporn Meeyai
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมwangasom
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4Sivagon Soontong
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัดนิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัดNam M'fonn
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีMilky' __
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความพัน พัน
 
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑bangonchin
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
sripayom
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
Wan Wan
 

What's hot (20)

รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
 
โคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพโคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพ
 
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
 
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
 
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัดนิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรี
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
 
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
 

Similar to เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ

๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
จุฑารัตน์ ใจบุญ
 
การแต่งบทร้อยกรอง
การแต่งบทร้อยกรองการแต่งบทร้อยกรอง
การแต่งบทร้อยกรอง
Manee Prakmanon
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรองNimnoi Kamkiew
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรองPairor Singwong
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรองMong Chawdon
 
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรองบทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
Aj.Mallika Phongphaew
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์Kalasom Mad-adam
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์Kalasom Mad-adam
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์krudow14
 

Similar to เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ (20)

๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
 
การแต่งบทร้อยกรอง
การแต่งบทร้อยกรองการแต่งบทร้อยกรอง
การแต่งบทร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรองบทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
 
ใบความรู้ ฉันท์
ใบความรู้ ฉันท์ใบความรู้ ฉันท์
ใบความรู้ ฉันท์
 
Korat
KoratKorat
Korat
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์
 

More from กึม จันทิภา

1 อิศรญาณภาษิต ok
1 อิศรญาณภาษิต  ok1 อิศรญาณภาษิต  ok
1 อิศรญาณภาษิต ok
กึม จันทิภา
 
4 สำนวน สุภาษิตไทย
4 สำนวน สุภาษิตไทย4 สำนวน สุภาษิตไทย
4 สำนวน สุภาษิตไทย
กึม จันทิภา
 
15 เขียนคำขวัญ 1
15 เขียนคำขวัญ 115 เขียนคำขวัญ 1
15 เขียนคำขวัญ 1
กึม จันทิภา
 
2 การเขียนคำคม
2 การเขียนคำคม2 การเขียนคำคม
2 การเขียนคำคม
กึม จันทิภา
 
18 พระบรมราโชวาท 2
18 พระบรมราโชวาท 218 พระบรมราโชวาท 2
18 พระบรมราโชวาท 2
กึม จันทิภา
 
โคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพโคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพ
กึม จันทิภา
 
โคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพโคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพ
กึม จันทิภา
 
โคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพโคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพ
กึม จันทิภา
 

More from กึม จันทิภา (8)

1 อิศรญาณภาษิต ok
1 อิศรญาณภาษิต  ok1 อิศรญาณภาษิต  ok
1 อิศรญาณภาษิต ok
 
4 สำนวน สุภาษิตไทย
4 สำนวน สุภาษิตไทย4 สำนวน สุภาษิตไทย
4 สำนวน สุภาษิตไทย
 
15 เขียนคำขวัญ 1
15 เขียนคำขวัญ 115 เขียนคำขวัญ 1
15 เขียนคำขวัญ 1
 
2 การเขียนคำคม
2 การเขียนคำคม2 การเขียนคำคม
2 การเขียนคำคม
 
18 พระบรมราโชวาท 2
18 พระบรมราโชวาท 218 พระบรมราโชวาท 2
18 พระบรมราโชวาท 2
 
โคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพโคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพ
 
โคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพโคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพ
 
โคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพโคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพ
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ

  • 1. เฉลยแบบฝึกหัด เรื่องการแต่งบทร้อยกรอง (โคลงสี่สุภาพ) ตอนที่ ๑ ๑. โคลงสี่สุภาพหนึ่งบท จะมี ๔ . บาท ในหนึ่งบาทจะมี ๒ วรรค คือ วรรคต้น กับ วรรคท้าย ๒. วรรคต้นจะมี ๕ คา วรรคต้นของบาทที่ ๑ บาทที่ ๒ และบาทที่ ๓ จะมี ๒ คา ๓. วรรคท้ายของบาทที่ ๔ จะมี ๔ คา ซึ่งรวมแล้วโคลงสี่สุภาพหนึ่งบทจะมีจานวนคาทั้งสิ้น ๓๐ คา ๔. คาเอก คือ คาที่มีรูปวรรณยุกต์เอกปรากฏอยู่ เช่น แม่ ย่า หนึ่ง อยู่ ที่ (ยกตัวอย่างมา ๕ คา) ๕. คาโท คือ คาที่มีรูปวรรณยุกต์โทปรากฏอยู่ เช่น บ้าน แพ้ ใช้ น้อย เบื้อง (ยกตัวอย่างมา ๕ คา) ๖. โคลงหนึ่งบทจะมีวรรณยุกต์เอก ๗ ตาแหน่ง และวรรณยุกต์โท ๔ ตาแหน่ง ๗. ตาแหน่งวรรณยุกต์เอก (คาเอก) และวรรณยุกต์โท (คาโท) ในวรรคต้นของบาทที่ ๑ สามารถที่จะวางสลับ ตาแหน่งกันได้ คือ เอาวรรณยุกต์ที่เป็นเอกไปวางไว้ในคาที่ ๕ และเอาวรรณยุกต์ที่เป็นโทมาไว้เป็นคาที่ ๔ ก็ ได้ ดังตัวอย่าง (ให้นักเรียนขีดเส้นใต้คาเอกคาโทที่สลับตาแหน่งกัน) ไยแม่ย่างเท้าเยี่ยง หญิงวัง กะเดียดกะทายเพียงพัง พับล้ม พิศผ่องผ่ายผอมพลัง เพลาซีด เซียวแม่ อยู่พี่แย่เยงก้ม กัดก้อนเกลือกิน ๘. คาที่ ๗ ของบาทที่ ๑ และคาที่ ๕ ของบาทที่ ๒ และบาทที่ ๓ ห้ามใช้คาที่มีรูปวรรณยุกต์ ๙. ห้ามใช้คาตายที่ผันด้วยวรรณยุกต์โท ในตาแหน่งโท ๑๐. คาตาย คือ คาที่ประสมด้วยสระเสียงสั้นในมาตรา แม่ ก กา และคาที่มีตัวสะกดในมาตรา กก กด กบ เช่น มะระ อุบะ โกะ วชิระ กระแจะ กะทิ กาก เกิด กอด คราส โบสถ์ พับ บาป (ยกตัวอย่าง มา ๑๐ คา) ๑๑. คาสุดท้ายของบท ห้ามใช้คาตายและคาที่มีรูปวรรณยุกต์อื่นๆ นิยมใช้คาเสียงจัตวาที่ไม่ปรากฏรูป ๑๒. คาสร้อยคือ คาที่มาเสริมท้ายบาทหรือบทของโคลง มีหรือไม่มีก็ได้ เติมเพื่อความไพเราะหรือให้คาประพันธ์ สมบูรณ์ขึ้น ส่วนคาหลังมักลงท้ายด้วยคาต่อไปนี้เท่านั้น เช่น พ่อ แม่ พี่ รา แล เลย เอย นา นอ เนอ ฤๅ ฮา แฮ เฮย ๑๓. คาที่เป็นเอกโทษคือ คาเดิมไม่ได้เขียนโดยใช้รูปวรรณยุกต์เอกเมื่อต้องการใช้จึงนาไปเปลี่ยนให้เป็นรูปวรรณยุกต์เอก เช่น หน้า เขียนเป็น น่า ฯลฯ ๑๔. โทโทษ คือ คาเดิมไม่ได้เขียนโดยใช้รูปในวรรณยุกต์โทเมื่อต้องการใช้จึงนาไปเปลี่ยนให้เป็นรูปวรรณยุกต์โท เช่น หรือ เขียนเป็น รื้อ , เล่น เขียนเป็น เหล้น ฯลฯ ตอนที่ ๒ ให้นักเรียนเขียนแผนผังโคลงสี่สุภาพ
  • 2. ตอนที่ ๓ ศึกษาบทร้อยกรองต่อไปนี้แล้วตอบคาถาม เสียงลือเสียงเล่าอ้าง อันใด พี่เอย เสียงย่อมยอยศใคร ทั่วหล้า สองเขือพี่หลับใหล ลืมตื่น ฤๅพี่ สองพี่คิดเองอ้า อย่าได้ถามเผือ ๑. โคลงข้างต้นคือโคลง สี่สุภาพ มี ๑ บท หรือ ๔ บาท ๒. คาที่อยู่ในตาแหน่งคาเอกทั้งหมดในโคลงมี ๗ คา ได้แก่ เล่า ย่อม พี่ พี่ ทั่ว ตื่น อย่า ๓. คาที่อยู่ในตาแหน่งคาโททั้งหมดในโคลงมี ๔ คา ได้แก่ อ้าง หล้า อ้า ได้ ๔. คาสุดท้ายของโคลงบทนี้คือ เผือ มีเสียงวรรณยุกต์ จัตวา ๕. จงแสดงสัมผัสอักษร (สัมผัสพยัญชนะ) เป็นคู่ๆ ในบทร้อยกรองข้างต้นทั้งหมด ลือ-เล่า, อ้าง-อัน-เอย. ย่อม- ยอ-ยศ, หลับ-ใหล-ลืม, เอง-อ้า ๖. จงโยงเส้นสัมผัสตามลักษณะบังคับของโคลงสี่สุภาพให้ถูกต้อง (โยงที่บทร้อยกรองข้างต้นทั้งหมด) ตอนที่ ๔ จงเรียงลำดับวรรคให้ถูกต้องตำมฉันทลักษณ์และได้ใจควำม ๑. ห้ามสุริยแสงจันทร์ ส่องไซร้ ห้ามดังนี้ไว้ได้ จึ่งห้ามนินทา ห้ามอายุให้หัน คืนเล่า ห้ามเพลิงไว้อย่าให้ มีควัน ๒. ทุกประเทศมีผู้นับ อ่านอ้าง เป็นชายความรู้ยิ่ง เป็นทรัพย์ แม้ตกยากไร้ร้าง ห่อนไร้สามี สตรีรูปงามสรรพ เป็นทรัพย์ ตนนา ๓. สามสิ่งนี้เว้นไว้ แต่ผู้ทรชน ให้ท่านท่านจักให้ ตอบสนอง รักท่านท่านควรครอง ความรัก เรานา นบท่านท่านจักปอง นอบไหว้ ตอนที่ ๔ จงเลือกคำประพันธ์เติมลงในช่องว่ำงให้ถูกต้องตำมฉันทลักษณ์และได้ใจควำม ๑. ใดใดในโลกล้วน อนิจจัง คงแต่บาปบุญยัง เที่ยงแท้ คือเงาติดตัวตรัง ตรึงแน่น อยู่นา ตามแต่บุญบาปแล้ ก่อเกื้อรักษา ๒. เสียสินสงวนศักดิ์ไว้ วงศ์หงส์ เสียศักดิ์สู้ประสงค์ สิ่งรู้ เสียรู้เร่งดารง ความสัตย์ ไว้นา เสียสัตย์อย่าเสียสู้ ชีพม้วยมรณา เป็นชายความรู้ยิ่ง เป็นทรัพย์ ทุกประเทศมีผู้นับ อ่านอ้าง สตรีรูปงามสรรพ เป็นทรัพย์ ตนนา แม้ตกยากไร้ร้าง ห่อนไร้สามี ก. คนบ่อ่านหนังสือยัง สอบได้ ข. คงแต่บาปบุญยัง เที่ยงแท้ ค. แม้แต่ตึกยังพัง ถล่มได้ ง. มีแค่กะละมัง แน่นัก ก. เสียแฟนที่รวยจง ฆ่าตัว ตายเลย ข. เสียเธอแม่โฉมยง ตัวพี่ ขอลา ค. เสียความรู้ให้คง สัตย์ไว้ มั่นนา ง. เสียรู้เร่งดารง ความสัตย์ ไว้นา ให้ท่านท่านจักให้ ตอบสนอง นบท่านท่านจักปอง นอบไหว้ รักท่านท่านควรครอง ความรัก เรานา สามสิ่งนี้เว้นไว้ แต่ผู้ทรชน ห้ามเพลิงไว้อย่าให้ มีควัน ห้ามสุริยแสงจันทร์ ส่องไซร้ ห้ามอายุให้หัน คืนเล่า ห้ามดังนี้ไว้ได้ จึ่งห้ามนินทา
  • 3. ๓. นานาประเทศล้วน นับถือ คนที่รู้หนังสือ แต่งได้ ใครเกลียดอักษรคือ คนป่า ใครเยาะกวีไซร้ แน่แท้คนดง ตอนที่ ๕ จงเลือกคำที่กำหนดให้ในกรอบสี่เหลี่ยมมำเติมลงในช่องว่ำงให้ถูกต้องตำมฉันทลักษณ์และได้ใจควำม ๑. ทาบุญบุญแต่งให้ เห็นผล คือดั่งเงาตามตน ติดแท้ ผู้ทาสิ่งอกุศล กรรมติด ตามนา ดุจจักรเกวียนเวียนแล้ ไล่ต้อนตีนโค ๒. ถึงจนทนสู้กัด กินเกลือ อย่าเที่ยวแล่เนื้อเถือ พวกพ้อง อดอยากเยี่ยงอย่างเสือ สงวนศักดิ์ โซก็เสาะใส่ท้อง จับเนื้อกินเอง ๓. อย่าเอื้อมเด็ดดอกฟ้า มาถนอม สูงสุดมือมักตรอม อกไข้ เด็ดแต่ดอกพะยอม ยามยาก ชมนา สูงก็สอยด้วยไม้ อาจเอื้อมเอาถึง ๔. รักกันอยู่ขอบฟ้า เขาเขียว เสมออยู่หอแห่งเดียว ร่วมห้อง ชังกันบ่แลเหลียว ตาต่อ กันนา เหมือนขอบฟ้ามาป้อง ป่าไม้มาบัง ๕. ร้อยชู้ฤๅเท่าเนื้อ เมียตน เมียแล่พันฤๅดล แม่ได้ ทรงครรภ์คลอดเปนคน ฤๅง่าย เลยนา เลี้ยงยากนักท้าวไท้ ธิราชผู้มีคุณ ตอนที่ ๖ ให้นักเรียนแต่งโคลงสี่สุภำพ จำนวน ๑ บท (พิจารณาตามดุลยพินิจของผู้สอน) ก. คนที่ปัญญาเฉียบ แหลมหลาย ข. คนที่อานาจใหญ่ ยิ่งล้น ค. คนที่มีดนตรี ในหัว ง. คนที่รู้หนังสือ แต่งได้ ตัว กุศล ชั่วร้าย ตน จริง ภาพ เลย ผล บุญ ชัด ดี หลอก สิงห์ พญา ราชา เถือ เฉือน หงส์ เสือ ผี ไถ ขู่ เจ็บ พลาด ตรอม หญ้า มือ เงิน ไม้ กล้า ปัญญา สู้ ใหญ่ สูง ป้อง แหลม เขียว แกล้ง กัน ปัด ขวาง ไกล ได้ ฤา หรือ นา ฉัน ตัว กาย ลูก คน เจ้า