SlideShare a Scribd company logo
สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
เรื่อง ชนิดของคา
       บทเรียนที่ ๓ คากริยา
สาระสาคัญ

   คากริยา คือ คาแสดงอาการ การกระทา
ของคานามหรือคาสรรพนาม เช่น เดิน วิ่ง
นอน เป็นต้น
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

๑. อธิบายความหมายของคากริยาได้
๒. จาแนกชนิดของคากริยาได้
๓. ยกตัวอย่างคากริยาชนิดต่างๆ ได้
สาระการเรียนรู้

๑. ความหมายของคากริยา
๒. ชนิดของคากริยา
แบบทดสอบก่ อนเรียน
๑. ข้ อใดคือคากริยา

  ก. ใช้ เรียกชื่อ คนสั ตว์ สิ่ งของ

  ข. คาที่บอกลักษณะของสิ่ งของ

  ค. คาที่แสดงอาการของนามหรือสรรพนาม

  ง. คาทีบอกหมวดหมู่ของสิ่ งมีชีวตจานวนมาก
         ่                       ิ
๒. ข้ อใดไม่ มีคากริยา

      ก.    สุ นัขไล่ กดแมว
                       ั

      ข.     กระต่ ายตัวน้ อยนิด

      ค.     ฉันไม่ ทา ใครจะว่ าฉัน

      ง.     กาลังจะไปเดียวนี้
                         ๋
๓. ข้ อใดเป็ นคากริยาที่ไม่ ต้องมีกรรมมารับ

        ก.    กระต่ ายวิง
                        ่

        ข.     เขาเหมือนพ่อ

        ค.     ปลากินเหยือ
                         ่

        ง.     ลมอาจพัดแรง
๔. ข้ อใดเป็ นคากริยาที่ต้องอาศัยส่ วนเติมเต็ม

         ก.    กระต่ ายวิง
                         ่

         ข.     เขาเหมือนพ่อ

         ค.     ปลากินเหยือ
                          ่

         ง.     ลมอาจพัดแรง
๕. “กิงแก้ วร้ องเพลงได้ ไพเราะ” คาทีขดเส้ นใต้ เป็ น
      ่                              ่ ี
คากริยาชนิดใด
      ก.    คากริยาที่ไม่ ต้องมีกรรม

      ข.     คากริยาที่ต้องมีกรรม

      ค.     คากริยาที่ต้องมีส่วนเติมเต็ม

      ง.    คากริยาช่ วย
๖. ข้ อใดมีคากริยาช่ วย

    ก.    น้ องถูกแม่ ตี

    ข.     ฉันกินขนม

    ค.     เขาตายแล้ ว

    ง.     เขาวิงเร็วมาก
                ่
๗. “ฉันสู งเท่ าแม่ เลย” คาที่ขดเส้ นใต้ เป็ นคากริยาชนิดใด
                               ี

         ก.     คากริยาที่ไม่ ต้องมีกรรม

         ข.     คากริยาที่ต้องมีกรรม

         ค.     คากริยาที่ต้องมีส่วนเติมเต็ม

         ง.     คากริยาช่ วย
๘. “คุณปู่ .............นาชาทุกเช้ าเลย” ควรเติมคากริยาใด
                         ้
   ลงในช่ องว่ าง

           ก.    กิน

          ข.     หิว

          ค.     รับประทาน

           ง.    ดืม
                   ่
๙. ข้ อใดเป็ นคากริยาที่ต้องมีกรรม

         ก.    แมวของเขาตายแล้ ว

         ข.    พ่อออกกาลังกายตอนเช้ า

         ค.    แม่ ของฉันเป็ นครู

         ง. ตารวจจับผู้ร้าย
๑๐. ข้ อใดไม่ มีคากริยา

    ก.    บ้ านใหม่ หลังใหญ่

    ข.     แมงเม่ าบินเข้ ากองไฟ

    ค.     อย่ าเดินลัดสนาม

    ง.     นาไหลมาจากภูเขา
            ้
<Scoreboard will appear here, leave shape as-is.>
เพื่อนๆ ไปเรียน
เรื่อง คากริยา พร้อมกันนะคะ
ความหมายของคากริยา
     คือ คาที่แสดงอาการ การกระทาของคานาม
หรือคาสรรพนาม ซึ่งเป็นประธานในประโยค


 อธิบายเพิมเติมด้ วยครับ
          ่
ชนิดของคากริยา
       คากริยา แบ่งออกเป็น ๔ ชนิด ดังนี้
๑. คากริยาที่ไม่ต้องมีกรรม หรือ อกรรมกริยา
๒. คากริยาที่ต้องมีกรรม หรือ สกรรมกริยา
๓. คากริยาที่ต้องมีส่วนเติมเต็ม หรือ วิกตรรถกริยา
๔. คากริยาช่วย หรือ กริยานุเคราะห์
คากริยาที่ไม่ต้องมีกรรม (อกรรมกริยา)
   คือ เป็นกริยาที่ให้ใจความสมบูรณ์ในตัว ไม่ต้องมีกรรม
มารับ เช่น บิน เดิน วิ่ง นอน หัวเราะ ฯลฯ เมื่อ
ประกอบเข้าเป็นประโยค
   ตัวอย่าง
      นกบินในอากาศ         ปูนอน
                             ่
      พี่เดินเร็วมาก       น้องหัวเราะเสียงดัง
คากริยาที่ต้องมีกรรม (สกรรมกริยา)
        คือ เป็นกริยาที่ให้ใจความไม่สมบูรณ์ในตัว ต้อง
มีกรรมมารับ เช่น กิน ตี จับ สร้าง มอง ดม ฯลฯ
เมื่อประกอบเข้าเป็นประโยค
     ตัวอย่าง
       นกกินหนอน        แม่ดมดอกไม้
       พ่อปลูกต้นมะม่วง พ่อค้าขายส้มตา
คากริยาที่ต้องมีส่วนเติมเต็ม (วิกตรรถกริยา)

      คือ คากริยาที่ไม่มีใจความในตัวเองต้องอาศัย
ใจความของคาข้างท้าย เพื่อให้ได้ใจความความสมบูรณ์
เช่น เหมือน คล้าย เท่า คือ เป็น
 ตัวอย่าง
  เราเป็นนักเรียน      น้องหน้าคล้ายแม่
  เขาสูงเท่าฉัน        นิดคือประธานนักเรียน
ข้ อสั งเกต


       คานามหรือคาสรรพนามทีอยู่หลัง่
 คากริยาที่ต้องมีส่วนเติมเต็มถือว่ าเป็ น
 ส่ วนขยายไม่ ใช่ กรรม
คากริยาช่วย (กริยานุเคราะห์)
     คือ คากริยาที่ช่วยคากริยาอื่นในประโยคให้ได้
ใจความชัดเจนยิ่งขึ้น เช่น คง จะ ถูก ต้อง อย่า จงฯลฯ
   ตัวอย่าง
      น้องกาลังนอนหลับ
            นอน เป็นคากริยา
            กาลัง เป็นคากริยาช่วย
คากริยาช่ วยบางคาเป็ นได้ ท้งคากริยาที่ไม่ ต้องมี
                                ั
กรรม และคากริยาที่ต้องมีกรรม

    ข้ อสั งเกต ถ้ าเป็ นคากริยาช่ วย มีดงนี้
                                         ั
   - คาว่ า “ให้ ” อยู่ในรูปประโยคที่มีใจความว่ า ใครให้
ทาอะไรสั กอย่ างหนึ่ง เช่ น คุณตาให้ คนสวนตัดหญ้ า
คาว่ า “ถูก” อยู่ในรู ปประโยคทีมีใจความว่ า ใครถูกใคร
                                   ่
กระทาอะไรสั กอย่ างหนึ่ง เช่ น น้ องถูกแม่ ดุ
   คาว่ า “อยู่” อยู่ในรู ปประโยคทีมีใจความว่ า ใครกาลังทา
                                      ่
อะไรสั กอย่ างหนึ่งอยู่ เช่ น คุณแม่ ซักผ้ าอยู่
  คาว่ า “ได้ ” อยู่ในรู ปประโยคทีมีใจความว่ า ใครได้ ทา
                                      ่
อะไรสั กอย่ างหนึ่งแล้ ว เช่ น พีได้ อ่านหนังสื อแล้ ว
                                 ่
ความรู้แม่นยา
ต้องหมั่นทาแบบฝึกหัด
แบบฝึ กหัดที่ ๑
อ่ านคา แล้ วนาคาไปวางลงในช่ องตามชนิดคากริยาที่กาหนดให้
  เปิ ด       ตัด           เก็บ         นอน        กิน
   ตี          ถือ          พัด              เดิน   วิง
                                                      ่
   นั่ง       จับ           ขาย          ชารุด      มอง

คากริยาที่ไม่ ต้องมีกรรม                คากริยาทีต้องมีกรรม
                                                 ่
แบบฝึ กหัดที่ ๒

ขีดเส้ นใต้ คากริยาในประโยคต่ อไปนี้
๑. พีเ่ หมือนแม่ มาก
๒. เขากระโดดสู งมาก
๓. ส้ มโอดืมนมแก้ วโต
           ่
๔. สมชายเตะลูกบอลแรงมาก
๕. คุณต้ องถอดรองเท้ าก่ อนเข้ าห้ องเรียน
๖.   พีโตเป็ นหมอ
       ่
๗. วันนีลมพัดแรงมาก
        ้
๘. น้ องร้ องไห้ งอแง
๙.   แม่ อ้ ุมน้ องคนเล็ก
๑๐. คนงานโค่ นต้ นขนุน
แบบฝึ กหัดที่ ๓

เลือกคากริยาที่กาหนดให้ เติมลงในช่ องว่ างให้ เหมาะสม

        คง            ถูก            จะ              เคย
       ควร           กาลัง          ต้ อง           แล้ ว

   ๑. เธอ..........................ตั้งใจเรียนให้ มากกว่ านี้

  ๒. เจ้ ามอม..........................เห่ าคนแปลกหน้ า
คง           ถูก         จะ           เคย
  ควร          กาลัง       ต้ อง         แล้ ว

๓. เขา........................ตีทศีรษะ
                                 ี่
๔. เธอ....................ไปห้ องสมุดกับฉันไหม
๕. ฉัน....................เป็ นประธานชมรมภาษาไทย
แบบฝึ กหัดที่ ๔

อ่ านข้ อความ แล้ วบอกชนิดของคากริยาทีพมพ์ตวหน้ าให้ ถูกต้ อง
                                      ่ ิ ั
          ๑. เขาหัวเราะเสี ยงดังมาก

              ก. คากริยาที่ไม่ ต้องมีกรรม

              ข. คากริยาทีต้องมีกรรม
                          ่

              ค. คากริยาทีต้องมีส่วนเติมเต็ม
                          ่

              ง. กริยาช่ วย
๒. น้ องชายล้ างรถยนต์ ให้ คุณพ่อ

       ก. คากริยาที่ไม่ ต้องมีกรรม

       ข. คากริยาทีต้องมีกรรม
                   ่

       ค. คากริยาทีต้องมีส่วนเติมเต็ม
                   ่

       ง. กริยาช่ วย
๓. เขาถือกระเป๋ าใบใหญ่ มาก

     ก. คากริยาที่ไม่ ต้องมีกรรม

     ข. คากริยาทีต้องมีกรรม
                 ่

     ค. คากริยาทีต้องมีส่วนเติมเต็ม
                 ่

     ง. กริยาช่ วย
๔. แม่ กาลังตากผ้ าอยู่หลังบ้ าน

      ก. คากริยาที่ไม่ ต้องมีกรรม

      ข. คากริยาทีต้องมีกรรม
                  ่

      ค. คากริยาทีต้องมีส่วนเติมเต็ม
                  ่

      ง. กริยาช่ วย
๕. อารยาเป็ นหมอ

    ก. คากริยาที่ไม่ ต้องมีกรรม

    ข. คากริยาทีต้องมีกรรม
                ่

    ค. คากริยาทีต้องมีส่วนเติมเต็ม
                ่

    ง. กริยาช่ วย
แบบฝึ กหัดที่ ๕


       เติมคากริยาที่เหมาะสมลงในช่ องว่ าง
         ตามชนิดของคากริยาที่กาหนดให้


๑. ถ้ าเธอ............................นักเรียนต้ องตั้งใจเรียน
   (คำกริ ยำที่ตองมีส่วนเติมเต็ม)
                   ้

   ๒. สะพานข้ ามแม่ นา.................................
                       ้
     (คำกริ ยำที่ไม่ตองมีกรรม)
                     ้
๓. คุณยาย..........................ทากับข้ าวอยู่ในครัว
   (คำกริ ยำช่วย)
                                                 เก่งมำกคะ
๔. ตารวจ............................ผู้ราย
   (คำกริ ยำที่ตองมีกรรม)
                ้

 ๕. ลูก......................ทีรักของพ่อแม่
                               ่
   (คำกริ ยำที่ตองมีส่วนเติมเต็ม)
                    ้
แบบฝึ กหัดที่ ๖

เรียงคาต่ อไปนี้ ให้ เป็ นประโยคที่ถูกต้ อง

๑.        รัก            เท่ า          หนู            แม่            ฟา
                                                                       ้

  .....................................................................................


๒.       ร้ อง          มาก            น่ ากลัว           เสี ยงดัง             ฟา
                                                                                 ้

  .....................................................................................
๓. หมุน                มาก            ลูกข่ าง           เร็ว

 .....................................................................................

๔.      ข้ าง         ต้ นไม้          อยู่          โค่ น          ถนน

 .....................................................................................

๕.       กิน          ไข่ เจียว          ข้ าว           ฉัน

 .....................................................................................
<Scoreboard will appear here, leave shape as-is.>
สรุ ปความรู้
    คากริยา คือ คาที่ใช้ แสดงอาการ การกระทาของคานาม
หรือคาสรรพนาม
    คากริยา แบ่ งออกเป็ น ๔ ชนิด ได้ แก่          ฝนตก
 ๑. คากริยาที่ไม่ ต้องมีกรรม (อกรรมกริยา)
 ๒. คากริยาที่ต้องมีกรรม (สกรรมกริยา)
 ๓. คากริยาที่ต้องมีส่วนเติมเต็ม (วิกตรรถกริยา)
 ๔. คากริยาช่ วย (กริยานุเคราะห์ )
ตรวจสอบความร ้ ู
แบบทดสอบหลังเรียน
๑. ข้ อใดคือคากริยา

 ก. ใช้ เรียกชื่อ คนสั ตว์ สิ่ งของ

 ข. คาที่บอกลักษณะของสิ่ งของ

 ค. คาที่แสดงอาการของนามหรือสรรพนาม

 ง. คาทีบอกหมวดหมู่ของสิ่ งมีชีวตจานวนมาก
        ่                       ิ
๒. “คุณปู่ .............นาชาทุกเช้ าเลย” ควรเติมคากริยา
                         ้
    ใดลงในช่ องว่ าง

           ก. กิน
           ข. หิว
           ค. รับประทาน
           ง. ดืม
                ่
๓. ข้ อใดเป็ นคากริยาที่ไม่ ต้องมีกรรมมารับ

       ก. กระต่ ายวิง
                    ่

       ข. เขาเหมือนพ่อ

       ค. ปลากินเหยือ
                    ่

        ง. ลมอาจพัดแรง
๔. ข้ อใดมีคากริยาช่ วย

      ก. น้ องถูกแม่ ตี
      ข. ฉันกินขนม
      ค. เขาตายแล้ ว
      ง. เขาวิงเร็วมาก
              ่
๕. ข้ อใดเป็ นคากริยาที่ต้องมีกรรม

      ก. แมวของเขาตายแล้ ว

      ข. พ่อออกกาลังกายตอนเช้ า

      ค. แม่ ของฉันเป็ นครู

      ง. ตารวจจับผู้ร้าย
๖. “กิงแก้ วร้ องเพลงได้ ไพเราะ” คาที่ขดเส้ นใต้ เป็ น
      ่                                ี
    คากริยาชนิดใด

         ก. คากริยาที่ไม่ ต้องมีกรรม
         ข. คากริยาที่ต้องมีกรรม
         ค. คากริยาที่ต้องมีส่วนเติมเต็ม
         ง. คากริยาช่ วย
๗. ข้ อใดเป็ นคากริยาที่ต้องอาศัยส่ วนเติมเต็ม

      ก. กระต่ ายวิง
                   ่

      ข. เขาเหมือนพ่อ

      ค. ปลากินเหยือ
                   ่

      ง. ลมอาจพัดแรง
๘. ข้ อใดไม่ มีคากริยา

     ก. สุ นัขไล่ กดแมว
                   ั

     ข. กระต่ ายตัวน้ อยนิด

     ค. ฉันไม่ ทา ใครจะว่ าฉัน

     ง. กาลังจะไปเดียวนี้
                    ๋
๙. ข้ อใดไม่ มีคากริยา

       ก. บ้ านใหม่ หลังใหญ่

       ข. แมงเม่ าบินเข้ ากองไฟ

       ค. อย่ าเดินลัดสนาม

       ง. นาไหลมาจากภูเขา
           ้
๑๐. “ฉันสู งเท่ าแม่ เลย” คาที่ขดเส้ นใต้ เป็ นคากริยาชนิดใด
                                ี

               ก. คากริยาที่ไม่ ต้องมีกรรม

               ข. คากริยาที่ต้องมีกรรม

               ค. คากริยาที่ต้องมีส่วนเติมเต็ม

               ง. คากริยาช่ วย
<Scoreboard will appear here, leave shape as-is.>

More Related Content

What's hot

คำอุทาน
คำอุทานคำอุทาน
คำอุทาน
Nanthida Chattong
 
ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2
ssuser456899
 
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกายใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกายAomiko Wipaporn
 
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่น
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่นการสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่น
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่น
kruthai40
 
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)Petsa Petsa
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
Sasiprapha Srisaeng
 
ข้อสอบการอ่าน (PISA)
ข้อสอบการอ่าน (PISA)ข้อสอบการอ่าน (PISA)
ข้อสอบการอ่าน (PISA)
Napadon Yingyongsakul
 
พยางค์และคำ 2
พยางค์และคำ 2พยางค์และคำ 2
พยางค์และคำ 2
Aunop Nop
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1Sivagon Soontong
 
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำแบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
Piyarerk Bunkoson
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์krubuatoom
 
6 7 สระในภาษาไทย
6 7 สระในภาษาไทย6 7 สระในภาษาไทย
6 7 สระในภาษาไทยChaichan Boonmak
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
Surapong Klamboot
 
คำสรรพนาม
คำสรรพนามคำสรรพนาม
คำสรรพนาม
Nanthida Chattong
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
Thanawut Rattanadon
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
Decha Sirigulwiriya
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
Itt Bandhudhara
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
พัน พัน
 

What's hot (20)

คำอุทาน
คำอุทานคำอุทาน
คำอุทาน
 
ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2
 
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกายใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
 
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่น
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่นการสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่น
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่น
 
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
 
ข้อสอบการอ่าน (PISA)
ข้อสอบการอ่าน (PISA)ข้อสอบการอ่าน (PISA)
ข้อสอบการอ่าน (PISA)
 
พยางค์และคำ 2
พยางค์และคำ 2พยางค์และคำ 2
พยางค์และคำ 2
 
Powerpoint คำนาม ม.1
Powerpoint คำนาม ม.1Powerpoint คำนาม ม.1
Powerpoint คำนาม ม.1
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
 
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำแบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
 
คำสรรพนาม
คำสรรพนามคำสรรพนาม
คำสรรพนาม
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์
 
6 7 สระในภาษาไทย
6 7 สระในภาษาไทย6 7 สระในภาษาไทย
6 7 สระในภาษาไทย
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
คำสรรพนาม
คำสรรพนามคำสรรพนาม
คำสรรพนาม
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 

Viewers also liked

ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7Nongkran Jarurnphong
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓Nongkran Jarurnphong
 

Viewers also liked (7)

กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 
Flickr
FlickrFlickr
Flickr
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
 

Similar to บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5

บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6thaneerat
 
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยบทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยthaneerat
 
Power point คำราชาศัพท์
Power  point  คำราชาศัพท์Power  point  คำราชาศัพท์
Power point คำราชาศัพท์Jazz Kanok-orn Busaparerk
 
ใบความรู้ เรื่อง สำนวนไทย
ใบความรู้ เรื่อง  สำนวนไทยใบความรู้ เรื่อง  สำนวนไทย
ใบความรู้ เรื่อง สำนวนไทยอร ครูสวย
 
ติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O netติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O net
vanichar
 
สำนวนไทย สุภาษิต และคำพังเพย
สำนวนไทย  สุภาษิต  และคำพังเพยสำนวนไทย  สุภาษิต  และคำพังเพย
สำนวนไทย สุภาษิต และคำพังเพยkaisuy2496
 
แบบทดสอบภาษาไทย ชุดที่ 1
แบบทดสอบภาษาไทย ชุดที่ 1แบบทดสอบภาษาไทย ชุดที่ 1
แบบทดสอบภาษาไทย ชุดที่ 1
vanichar
 
คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)Nongkran Jarurnphong
 
อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..phornphan1111
 
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖baicha1006
 
แผ่นพับกาพย์ยานี๑๑
แผ่นพับกาพย์ยานี๑๑แผ่นพับกาพย์ยานี๑๑
แผ่นพับกาพย์ยานี๑๑peerapit
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์
kruthai40
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52panneem
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52panneem
 

Similar to บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5 (20)

บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
 
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยบทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย
 
Power point คำราชาศัพท์
Power  point  คำราชาศัพท์Power  point  คำราชาศัพท์
Power point คำราชาศัพท์
 
ใบความรู้ เรื่อง สำนวนไทย
ใบความรู้ เรื่อง  สำนวนไทยใบความรู้ เรื่อง  สำนวนไทย
ใบความรู้ เรื่อง สำนวนไทย
 
ติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O netติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O net
 
สำนวนไทย สุภาษิต และคำพังเพย
สำนวนไทย  สุภาษิต  และคำพังเพยสำนวนไทย  สุภาษิต  และคำพังเพย
สำนวนไทย สุภาษิต และคำพังเพย
 
แบบทดสอบภาษาไทย ชุดที่ 1
แบบทดสอบภาษาไทย ชุดที่ 1แบบทดสอบภาษาไทย ชุดที่ 1
แบบทดสอบภาษาไทย ชุดที่ 1
 
คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)
 
Tripoom
TripoomTripoom
Tripoom
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..
 
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
 
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
 
แผ่นพับกาพย์ยานี๑๑
แผ่นพับกาพย์ยานี๑๑แผ่นพับกาพย์ยานี๑๑
แผ่นพับกาพย์ยานี๑๑
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52
 
2011 thai
2011 thai2011 thai
2011 thai
 
ถาม ตอบอภิธรรมปิฎก
ถาม ตอบอภิธรรมปิฎกถาม ตอบอภิธรรมปิฎก
ถาม ตอบอภิธรรมปิฎก
 
Articles
ArticlesArticles
Articles
 

More from ปวริศา

เทคโนโลยี Web 2
เทคโนโลยี Web 2เทคโนโลยี Web 2
เทคโนโลยี Web 2
ปวริศา
 
บทคัดย่อ มัลติพ้อยท์เม้าส์
บทคัดย่อ มัลติพ้อยท์เม้าส์บทคัดย่อ มัลติพ้อยท์เม้าส์
บทคัดย่อ มัลติพ้อยท์เม้าส์ปวริศา
 
บทคัดย่อ มัลติพ้อยท์เม้าส์
บทคัดย่อ มัลติพ้อยท์เม้าส์ บทคัดย่อ มัลติพ้อยท์เม้าส์
บทคัดย่อ มัลติพ้อยท์เม้าส์ ปวริศา
 
การโพสต์รูปในเว็บFlickr
การโพสต์รูปในเว็บFlickrการโพสต์รูปในเว็บFlickr
การโพสต์รูปในเว็บFlickr
ปวริศา
 
การโพสต์รูปในเว็บFlickr
การโพสต์รูปในเว็บFlickrการโพสต์รูปในเว็บFlickr
การโพสต์รูปในเว็บFlickr
ปวริศา
 
การใช้ Slideshare
การใช้ Slideshareการใช้ Slideshare
การใช้ Slideshare
ปวริศา
 
อัลบั้มรูปอุทยานดอกไม้
อัลบั้มรูปอุทยานดอกไม้อัลบั้มรูปอุทยานดอกไม้
อัลบั้มรูปอุทยานดอกไม้
ปวริศา
 
Earth
EarthEarth

More from ปวริศา (9)

เทคโนโลยี Web 2
เทคโนโลยี Web 2เทคโนโลยี Web 2
เทคโนโลยี Web 2
 
บทคัดย่อ มัลติพ้อยท์เม้าส์
บทคัดย่อ มัลติพ้อยท์เม้าส์บทคัดย่อ มัลติพ้อยท์เม้าส์
บทคัดย่อ มัลติพ้อยท์เม้าส์
 
บทคัดย่อ มัลติพ้อยท์เม้าส์
บทคัดย่อ มัลติพ้อยท์เม้าส์ บทคัดย่อ มัลติพ้อยท์เม้าส์
บทคัดย่อ มัลติพ้อยท์เม้าส์
 
การโพสต์รูปในเว็บFlickr
การโพสต์รูปในเว็บFlickrการโพสต์รูปในเว็บFlickr
การโพสต์รูปในเว็บFlickr
 
การโพสต์รูปในเว็บFlickr
การโพสต์รูปในเว็บFlickrการโพสต์รูปในเว็บFlickr
การโพสต์รูปในเว็บFlickr
 
การใช้ Slideshare
การใช้ Slideshareการใช้ Slideshare
การใช้ Slideshare
 
การใช้ Slideshare
การใช้ Slideshareการใช้ Slideshare
การใช้ Slideshare
 
อัลบั้มรูปอุทยานดอกไม้
อัลบั้มรูปอุทยานดอกไม้อัลบั้มรูปอุทยานดอกไม้
อัลบั้มรูปอุทยานดอกไม้
 
Earth
EarthEarth
Earth
 

บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5

  • 2. สาระสาคัญ คากริยา คือ คาแสดงอาการ การกระทา ของคานามหรือคาสรรพนาม เช่น เดิน วิ่ง นอน เป็นต้น
  • 6. ๑. ข้ อใดคือคากริยา ก. ใช้ เรียกชื่อ คนสั ตว์ สิ่ งของ ข. คาที่บอกลักษณะของสิ่ งของ ค. คาที่แสดงอาการของนามหรือสรรพนาม ง. คาทีบอกหมวดหมู่ของสิ่ งมีชีวตจานวนมาก ่ ิ
  • 7. ๒. ข้ อใดไม่ มีคากริยา ก. สุ นัขไล่ กดแมว ั ข. กระต่ ายตัวน้ อยนิด ค. ฉันไม่ ทา ใครจะว่ าฉัน ง. กาลังจะไปเดียวนี้ ๋
  • 8. ๓. ข้ อใดเป็ นคากริยาที่ไม่ ต้องมีกรรมมารับ ก. กระต่ ายวิง ่ ข. เขาเหมือนพ่อ ค. ปลากินเหยือ ่ ง. ลมอาจพัดแรง
  • 9. ๔. ข้ อใดเป็ นคากริยาที่ต้องอาศัยส่ วนเติมเต็ม ก. กระต่ ายวิง ่ ข. เขาเหมือนพ่อ ค. ปลากินเหยือ ่ ง. ลมอาจพัดแรง
  • 10. ๕. “กิงแก้ วร้ องเพลงได้ ไพเราะ” คาทีขดเส้ นใต้ เป็ น ่ ่ ี คากริยาชนิดใด ก. คากริยาที่ไม่ ต้องมีกรรม ข. คากริยาที่ต้องมีกรรม ค. คากริยาที่ต้องมีส่วนเติมเต็ม ง. คากริยาช่ วย
  • 11. ๖. ข้ อใดมีคากริยาช่ วย ก. น้ องถูกแม่ ตี ข. ฉันกินขนม ค. เขาตายแล้ ว ง. เขาวิงเร็วมาก ่
  • 12. ๗. “ฉันสู งเท่ าแม่ เลย” คาที่ขดเส้ นใต้ เป็ นคากริยาชนิดใด ี ก. คากริยาที่ไม่ ต้องมีกรรม ข. คากริยาที่ต้องมีกรรม ค. คากริยาที่ต้องมีส่วนเติมเต็ม ง. คากริยาช่ วย
  • 13. ๘. “คุณปู่ .............นาชาทุกเช้ าเลย” ควรเติมคากริยาใด ้ ลงในช่ องว่ าง ก. กิน ข. หิว ค. รับประทาน ง. ดืม ่
  • 14. ๙. ข้ อใดเป็ นคากริยาที่ต้องมีกรรม ก. แมวของเขาตายแล้ ว ข. พ่อออกกาลังกายตอนเช้ า ค. แม่ ของฉันเป็ นครู ง. ตารวจจับผู้ร้าย
  • 15. ๑๐. ข้ อใดไม่ มีคากริยา ก. บ้ านใหม่ หลังใหญ่ ข. แมงเม่ าบินเข้ ากองไฟ ค. อย่ าเดินลัดสนาม ง. นาไหลมาจากภูเขา ้
  • 16. <Scoreboard will appear here, leave shape as-is.>
  • 18. ความหมายของคากริยา คือ คาที่แสดงอาการ การกระทาของคานาม หรือคาสรรพนาม ซึ่งเป็นประธานในประโยค อธิบายเพิมเติมด้ วยครับ ่
  • 19. ชนิดของคากริยา คากริยา แบ่งออกเป็น ๔ ชนิด ดังนี้ ๑. คากริยาที่ไม่ต้องมีกรรม หรือ อกรรมกริยา ๒. คากริยาที่ต้องมีกรรม หรือ สกรรมกริยา ๓. คากริยาที่ต้องมีส่วนเติมเต็ม หรือ วิกตรรถกริยา ๔. คากริยาช่วย หรือ กริยานุเคราะห์
  • 20. คากริยาที่ไม่ต้องมีกรรม (อกรรมกริยา) คือ เป็นกริยาที่ให้ใจความสมบูรณ์ในตัว ไม่ต้องมีกรรม มารับ เช่น บิน เดิน วิ่ง นอน หัวเราะ ฯลฯ เมื่อ ประกอบเข้าเป็นประโยค ตัวอย่าง นกบินในอากาศ ปูนอน ่ พี่เดินเร็วมาก น้องหัวเราะเสียงดัง
  • 21. คากริยาที่ต้องมีกรรม (สกรรมกริยา) คือ เป็นกริยาที่ให้ใจความไม่สมบูรณ์ในตัว ต้อง มีกรรมมารับ เช่น กิน ตี จับ สร้าง มอง ดม ฯลฯ เมื่อประกอบเข้าเป็นประโยค ตัวอย่าง นกกินหนอน แม่ดมดอกไม้ พ่อปลูกต้นมะม่วง พ่อค้าขายส้มตา
  • 22. คากริยาที่ต้องมีส่วนเติมเต็ม (วิกตรรถกริยา) คือ คากริยาที่ไม่มีใจความในตัวเองต้องอาศัย ใจความของคาข้างท้าย เพื่อให้ได้ใจความความสมบูรณ์ เช่น เหมือน คล้าย เท่า คือ เป็น ตัวอย่าง เราเป็นนักเรียน น้องหน้าคล้ายแม่ เขาสูงเท่าฉัน นิดคือประธานนักเรียน
  • 23. ข้ อสั งเกต คานามหรือคาสรรพนามทีอยู่หลัง่ คากริยาที่ต้องมีส่วนเติมเต็มถือว่ าเป็ น ส่ วนขยายไม่ ใช่ กรรม
  • 24. คากริยาช่วย (กริยานุเคราะห์) คือ คากริยาที่ช่วยคากริยาอื่นในประโยคให้ได้ ใจความชัดเจนยิ่งขึ้น เช่น คง จะ ถูก ต้อง อย่า จงฯลฯ ตัวอย่าง น้องกาลังนอนหลับ นอน เป็นคากริยา กาลัง เป็นคากริยาช่วย
  • 25. คากริยาช่ วยบางคาเป็ นได้ ท้งคากริยาที่ไม่ ต้องมี ั กรรม และคากริยาที่ต้องมีกรรม ข้ อสั งเกต ถ้ าเป็ นคากริยาช่ วย มีดงนี้ ั - คาว่ า “ให้ ” อยู่ในรูปประโยคที่มีใจความว่ า ใครให้ ทาอะไรสั กอย่ างหนึ่ง เช่ น คุณตาให้ คนสวนตัดหญ้ า
  • 26. คาว่ า “ถูก” อยู่ในรู ปประโยคทีมีใจความว่ า ใครถูกใคร ่ กระทาอะไรสั กอย่ างหนึ่ง เช่ น น้ องถูกแม่ ดุ คาว่ า “อยู่” อยู่ในรู ปประโยคทีมีใจความว่ า ใครกาลังทา ่ อะไรสั กอย่ างหนึ่งอยู่ เช่ น คุณแม่ ซักผ้ าอยู่ คาว่ า “ได้ ” อยู่ในรู ปประโยคทีมีใจความว่ า ใครได้ ทา ่ อะไรสั กอย่ างหนึ่งแล้ ว เช่ น พีได้ อ่านหนังสื อแล้ ว ่
  • 28. แบบฝึ กหัดที่ ๑ อ่ านคา แล้ วนาคาไปวางลงในช่ องตามชนิดคากริยาที่กาหนดให้ เปิ ด ตัด เก็บ นอน กิน ตี ถือ พัด เดิน วิง ่ นั่ง จับ ขาย ชารุด มอง คากริยาที่ไม่ ต้องมีกรรม คากริยาทีต้องมีกรรม ่
  • 29. แบบฝึ กหัดที่ ๒ ขีดเส้ นใต้ คากริยาในประโยคต่ อไปนี้ ๑. พีเ่ หมือนแม่ มาก ๒. เขากระโดดสู งมาก ๓. ส้ มโอดืมนมแก้ วโต ่ ๔. สมชายเตะลูกบอลแรงมาก ๕. คุณต้ องถอดรองเท้ าก่ อนเข้ าห้ องเรียน
  • 30. ๖. พีโตเป็ นหมอ ่ ๗. วันนีลมพัดแรงมาก ้ ๘. น้ องร้ องไห้ งอแง ๙. แม่ อ้ ุมน้ องคนเล็ก ๑๐. คนงานโค่ นต้ นขนุน
  • 31. แบบฝึ กหัดที่ ๓ เลือกคากริยาที่กาหนดให้ เติมลงในช่ องว่ างให้ เหมาะสม คง ถูก จะ เคย ควร กาลัง ต้ อง แล้ ว ๑. เธอ..........................ตั้งใจเรียนให้ มากกว่ านี้ ๒. เจ้ ามอม..........................เห่ าคนแปลกหน้ า
  • 32. คง ถูก จะ เคย ควร กาลัง ต้ อง แล้ ว ๓. เขา........................ตีทศีรษะ ี่ ๔. เธอ....................ไปห้ องสมุดกับฉันไหม ๕. ฉัน....................เป็ นประธานชมรมภาษาไทย
  • 33. แบบฝึ กหัดที่ ๔ อ่ านข้ อความ แล้ วบอกชนิดของคากริยาทีพมพ์ตวหน้ าให้ ถูกต้ อง ่ ิ ั ๑. เขาหัวเราะเสี ยงดังมาก ก. คากริยาที่ไม่ ต้องมีกรรม ข. คากริยาทีต้องมีกรรม ่ ค. คากริยาทีต้องมีส่วนเติมเต็ม ่ ง. กริยาช่ วย
  • 34. ๒. น้ องชายล้ างรถยนต์ ให้ คุณพ่อ ก. คากริยาที่ไม่ ต้องมีกรรม ข. คากริยาทีต้องมีกรรม ่ ค. คากริยาทีต้องมีส่วนเติมเต็ม ่ ง. กริยาช่ วย
  • 35. ๓. เขาถือกระเป๋ าใบใหญ่ มาก ก. คากริยาที่ไม่ ต้องมีกรรม ข. คากริยาทีต้องมีกรรม ่ ค. คากริยาทีต้องมีส่วนเติมเต็ม ่ ง. กริยาช่ วย
  • 36. ๔. แม่ กาลังตากผ้ าอยู่หลังบ้ าน ก. คากริยาที่ไม่ ต้องมีกรรม ข. คากริยาทีต้องมีกรรม ่ ค. คากริยาทีต้องมีส่วนเติมเต็ม ่ ง. กริยาช่ วย
  • 37. ๕. อารยาเป็ นหมอ ก. คากริยาที่ไม่ ต้องมีกรรม ข. คากริยาทีต้องมีกรรม ่ ค. คากริยาทีต้องมีส่วนเติมเต็ม ่ ง. กริยาช่ วย
  • 38. แบบฝึ กหัดที่ ๕ เติมคากริยาที่เหมาะสมลงในช่ องว่ าง ตามชนิดของคากริยาที่กาหนดให้ ๑. ถ้ าเธอ............................นักเรียนต้ องตั้งใจเรียน (คำกริ ยำที่ตองมีส่วนเติมเต็ม) ้ ๒. สะพานข้ ามแม่ นา................................. ้ (คำกริ ยำที่ไม่ตองมีกรรม) ้
  • 39. ๓. คุณยาย..........................ทากับข้ าวอยู่ในครัว (คำกริ ยำช่วย) เก่งมำกคะ ๔. ตารวจ............................ผู้ราย (คำกริ ยำที่ตองมีกรรม) ้ ๕. ลูก......................ทีรักของพ่อแม่ ่ (คำกริ ยำที่ตองมีส่วนเติมเต็ม) ้
  • 40. แบบฝึ กหัดที่ ๖ เรียงคาต่ อไปนี้ ให้ เป็ นประโยคที่ถูกต้ อง ๑. รัก เท่ า หนู แม่ ฟา ้ ..................................................................................... ๒. ร้ อง มาก น่ ากลัว เสี ยงดัง ฟา ้ .....................................................................................
  • 41. ๓. หมุน มาก ลูกข่ าง เร็ว ..................................................................................... ๔. ข้ าง ต้ นไม้ อยู่ โค่ น ถนน ..................................................................................... ๕. กิน ไข่ เจียว ข้ าว ฉัน .....................................................................................
  • 42. <Scoreboard will appear here, leave shape as-is.>
  • 43. สรุ ปความรู้ คากริยา คือ คาที่ใช้ แสดงอาการ การกระทาของคานาม หรือคาสรรพนาม คากริยา แบ่ งออกเป็ น ๔ ชนิด ได้ แก่ ฝนตก ๑. คากริยาที่ไม่ ต้องมีกรรม (อกรรมกริยา) ๒. คากริยาที่ต้องมีกรรม (สกรรมกริยา) ๓. คากริยาที่ต้องมีส่วนเติมเต็ม (วิกตรรถกริยา) ๔. คากริยาช่ วย (กริยานุเคราะห์ )
  • 45. ๑. ข้ อใดคือคากริยา ก. ใช้ เรียกชื่อ คนสั ตว์ สิ่ งของ ข. คาที่บอกลักษณะของสิ่ งของ ค. คาที่แสดงอาการของนามหรือสรรพนาม ง. คาทีบอกหมวดหมู่ของสิ่ งมีชีวตจานวนมาก ่ ิ
  • 46. ๒. “คุณปู่ .............นาชาทุกเช้ าเลย” ควรเติมคากริยา ้ ใดลงในช่ องว่ าง ก. กิน ข. หิว ค. รับประทาน ง. ดืม ่
  • 47. ๓. ข้ อใดเป็ นคากริยาที่ไม่ ต้องมีกรรมมารับ ก. กระต่ ายวิง ่ ข. เขาเหมือนพ่อ ค. ปลากินเหยือ ่ ง. ลมอาจพัดแรง
  • 48. ๔. ข้ อใดมีคากริยาช่ วย ก. น้ องถูกแม่ ตี ข. ฉันกินขนม ค. เขาตายแล้ ว ง. เขาวิงเร็วมาก ่
  • 49. ๕. ข้ อใดเป็ นคากริยาที่ต้องมีกรรม ก. แมวของเขาตายแล้ ว ข. พ่อออกกาลังกายตอนเช้ า ค. แม่ ของฉันเป็ นครู ง. ตารวจจับผู้ร้าย
  • 50. ๖. “กิงแก้ วร้ องเพลงได้ ไพเราะ” คาที่ขดเส้ นใต้ เป็ น ่ ี คากริยาชนิดใด ก. คากริยาที่ไม่ ต้องมีกรรม ข. คากริยาที่ต้องมีกรรม ค. คากริยาที่ต้องมีส่วนเติมเต็ม ง. คากริยาช่ วย
  • 51. ๗. ข้ อใดเป็ นคากริยาที่ต้องอาศัยส่ วนเติมเต็ม ก. กระต่ ายวิง ่ ข. เขาเหมือนพ่อ ค. ปลากินเหยือ ่ ง. ลมอาจพัดแรง
  • 52. ๘. ข้ อใดไม่ มีคากริยา ก. สุ นัขไล่ กดแมว ั ข. กระต่ ายตัวน้ อยนิด ค. ฉันไม่ ทา ใครจะว่ าฉัน ง. กาลังจะไปเดียวนี้ ๋
  • 53. ๙. ข้ อใดไม่ มีคากริยา ก. บ้ านใหม่ หลังใหญ่ ข. แมงเม่ าบินเข้ ากองไฟ ค. อย่ าเดินลัดสนาม ง. นาไหลมาจากภูเขา ้
  • 54. ๑๐. “ฉันสู งเท่ าแม่ เลย” คาที่ขดเส้ นใต้ เป็ นคากริยาชนิดใด ี ก. คากริยาที่ไม่ ต้องมีกรรม ข. คากริยาที่ต้องมีกรรม ค. คากริยาที่ต้องมีส่วนเติมเต็ม ง. คากริยาช่ วย
  • 55. <Scoreboard will appear here, leave shape as-is.>