SlideShare a Scribd company logo
1 of 159
1
กล่องสมองกล
การใช้งาน 1
ชุดกล่องสมองกลสำหรับห้องเรียนวิทยำศำสตร์
เพื่่อกำรเรียนรู้และสร้ำงโครงงำนตำมแนวคิด STEM ศึกษำ
2หลักการของระบบควบคุม
อินพุต เอาต์พุตประมวลผล
3
ตรวจสอบการเปิ ด
จากรีโมตหรือสวิตช์
ระบบควบคุมของเครื่องปรับอากาศ
สั ่งให้คอมเพรสเซอร์ทางาน
ตรวจสอบอุณหภูมิจาก
เซนเซอร์ กับค่าที่ตั้งไว้
สั ่งให้คอมเพรสเซอร์หยุดทางาน
มากกว่า
ค่าที่ตั้งไว้
น้อยกว่า
ค่าที่ตั้งไว้
ตัวอย่างระบบควบคุมอย่างง่ายๆ
เครื่องปรับอากาศ
4ชุดอุปกรณ์ในชุด IPST-SE มาตรฐาน 2
5ชุดอุปกรณ์เพิ่มเติมใน มาตรฐาน 3
Infrared Remote Control
ZX-IRM
แผงโมดูลรับแสงอินฟราเรด GP2Y0A41
โมดูลวัดระยะทางด้วยแสงอินฟราเรด
แผงวงจรขับรีเลย์ Relay4i
พร้อม Adaptor
ZX-irLED
แผงวงจรกาเนิดแสงอินฟราเรด
ZX-Photo
แผงวงจรจรวจจับแสงอินฟราเรด
ZX-DSP4
แผงวงจรแสดงตัวเลข 7 ส่วน 4 หลัก
6แบตเตอรี่ อแดปเตอร์
เปิ ด/ปิ ด
เซอร์โว
USB (Download)Analog/Digital
I2C
PORT
DIGITAL
7
PORT DIGITAL RESET Serial1
จอสี
128x160 จุด
มอเตอร์ไฟตรง
ปุ่มปรับ knob
สวิตช์ OK
สวิตช์ SW1
ไฟแบตอ่อน
8
โปรแกรมที่ใช้งาน
โปรแกรม Arduino
9
ติดตั้งซอฟต์แวร์
Arduino1.8.3_Setup170327
ประกอบด้วย
• ซอฟต์แวร์ Arduino 1.8.3
• ตัวอย่าง สาหรับ IPST-SE
• ไดรเวอร์ USB
• ไลบรารี่ IPST-SE
https://inex.co.th/shop/index.php/software-download
10
1 2 3
4 5
หลังจากนี้จะมี
หน้าต่างติดตั้ง
ไดรเวอร์
ห้าม Cancel
ติดตั้งซอฟต์แวร์
11
ขั้นตอนติดตั้งไดรเวอร์
เพื่อให้คอมพิวเตอร์รู้จักกับบอร์ด IPST-SE
ไดรเวอร์ USB
สาหรับ IPST-SE
ไดรเวอร์ USB
สาหรับ POP-XT
12
เลือกบอร์ด IPST-SE
สั่งให้อยู่ที่ Start Menu
เปิ ดโปรแกรมครั้งแรก
13
14ตรวจสอบว่าเลือกบอร์ด IPST-SE แล้ว
15เชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์
16
เลือก Serial Port ให้ตรง
เลือกพอร์ตอนุกรม
17รูปแบบการทางานโปรแกรม Arduino
void setup()
{
}
void loop()
{
}
สาหรับกาหนดค่า เกิดขึ้นครั้งเดียว
โปรแกรมหลักทางานต่อเนื่อง
18
ทางานใน Setup
ทางานใน Loop
START
โฟลวชาร์ตแสดงการทางานโปรแกรม Arduino
19
#include <ipst.h>
void setup()
{
glcd(0,0,"Hello World");
}
void loop()
{
}
โปรแกรม ที่ 1
20
1. คอมไพล์
3. อัพโหลดไปยัง IPST-SE
2. แจ้งว่าคอมไพล์ผ่าน
ตรวจสอบไวยกรณ์และอัพโหลด
Ctrl+R
Ctrl+U
21ผลลัพธ์ที่จอภาพ IPST-SE
22คุณสมบัติของจอภาพ GLCD
23
glcdแสดงข้อความที่จอ GLCD ได้ 21 ตัว 16 บรรทัด (size 1)
รูปแบบ
glcd(x,y,*p,...)
พารามิเตอร์
x คือตาแหน่งบรรทัดมีค่าตั้งแต่ 0-15
y คือตาแหน่งตัวอักษรมีค่าตั้งแต่ 0-24
*p คือข้อความที่ต้องการนามาแสดง
ค่าพิเศษ
%d แสดงตัวเลขจานวนเต็มในช่วง -32,768 ถึง 32,767
%h แสดงตัวเลขฐานสิบหก
%b แสดงตัวเลขฐานสอง
%l แสดงตัวเลขจานวนเต็มในช่วง -2,147,483,648 ถึง 2,147,483,647
%f แสดงผลตัวเลขจานวนจริง (แสดงทศนิยม 3 หลัก)
คาสั่ง GLCD
24
glcd
setTextColor
setTextBackgroundColor
setTextBackgroundTransparent()
setTextSize
glcdClear
glcdFillScreen
glcdMode
คาสั่งอื่นๆ ของ GLCD
glcdPixel
glcdRect
glcdFillRect
glcdLine
glcdCircle
glcdFillCircle
glcdArc
25
setTextColor(COLOR)
GLCD_RED,
GLCD_GREEN,
GLCD_BLUE,
GLCD_YELLOW,
GLCD_BLACK,
GLCD_WHITE,
GLCD_CYAN,
GLCD_MAGENTA
GLCD_ORANGE
GLCD_LIME
GLCD_VIOLET
GLCD_PINK
GLCD_DOLLAR
GLCD_SKY
GLCD_BROWN
GLCD_DARKGREEN
GLCD_NAVY
GLCD_GRAY
GLCD_DARKGRAY
ตัวอย่าง
#include <ipst.h>
void setup(){
setTextColor(GLCD_RED);
glcd(0,0,"Hello");
setTextColor(GLCD_GREEN);
glcd(1,0,"World");
}
void loop(){}
INEX
ค่าสีตัวอักษร
colorRGB(R5,G6,B5)
colorRGB(31,63,31)
26
setTextSize()
ตัวอย่าง : setTextSize(4);
ขนาดตัวอักษรเป็น 4 เท่าขนาดปกติ
ปรับขนาดตัวอักษร
27
ปกติเป็น Mode 0
ตัวอย่าง : glcdMode(1);
คาสั่งของ glcdMode (หมุนหน้าจอ)
28ค่าสีพื้นหลังตัวอักษร
ตัวอย่าง
#include <ipst.h>
void setup(){
setTextBackgroundColor(GLCD_RED);
setTextColor(GLCD_YELLOW);
glcd(0,0,"Hello World");
}
void loop(){}
setTextBackgroundColor(COLOR)
29glcdClear()
ตัวอย่าง
#include <ipst.h>
void setup(){}
void loop(){
glcdClear();
delay(500);
glcdFillScreen(color[0]);
delay(500);
glcdFillScreen(color[1]);
delay(500);
glcdFillScreen(color[2]);
delay(500);
}
เคลียร์หน้าจอ
glcdFillScreen(COLOR)
เทสีลงบนหน้าจอทั้งหน้า
30แสดงรูปทรงเรขาคณิต : สี่เหลี่ยมผืนผ้า
glcdRect(x,y,width,height,color)
glcdFillRect(x,y,width,height,color)
x ตำแหน่งแนวนอน
y ตำแหน่งแนวตั้ง
width ควำมกว้ำง
height ควำมสูง
color สี
x
y
height
width
Fill
31แสดงรูปทรงเรขาคณิต : วงกลม
x ตำแหน่งจุดศูนย์กลำงวงกลมแนวนอน
y ตำแหน่งจุดศูนย์กลำงวงกลมแนวตั้ง
radius รัศมีของวงกลม
color สี
x,y
radius
Fill
glcdCircle(x,y,radius,color)
glcdFillCircle(x,y,radius,color)
32แสดงรูปทรงเรขาคณิต : เส้นตรง
x1 จุดเริ่มต้นแนวนอน
y1 จุดเริ่มต้นแนวตั้ง
x2 จุดสิ้นสุดแนวตั้ง
y2 จุดสิ้นสุดแนวนอน
color สี
x1,y1
glcdLine(x1,y1,x2,y2,color)
x2,y2
33แสดงรูปทรงเรขาคณิต : เส้นโค้ง
x จุดเริ่มต้นแนวนอน
y จุดเริ่มต้นแนวตั้ง
r รัศมีเส้นโค้ง
startAngle มุมเริ่ม
endAngle มุมสิ้นสุด
color สี
x,y
glcdArc(x,y,r,startAngle,wndAngle,color)
startAngle(0)
r
endAngle(90)
glcdArc(64,80,64,0,90,GLCD_RED);
34แสดงรูปทรงเรขาคณิต : พล็อตจุด
x จุดเริ่มต้นแนวนอน
y จุดเริ่มต้นแนวตั้ง
color สี
x,y
glcdPixel(x,y,color)
glcdPixel(64,80,GLCD_WHITE);
35แบบทดสอบ 1
สร้างวงกลมสีแดงอยู่กึ่งกลางจอภาพ รัศมีเต็มจอพอดี
36แบบทดสอบ 2
ลากเส้น 4 เส้นโดยมีจุดตัดอยู่กลางจอภาพพอดี
37แบบทดสอบ 3
สร้างสี่เหลี่ยมซ้อนกันดังรูป
38แบบทดสอบ 4
สร้างสี่เหลี่ยม 4 อัน ขนาดเท่ากัน
39การแสดงผลค่าตัวเลข
glcd(0,0,"%d",100);
40ตัวแปร (ที่ใช้งานบ่อยๆ)
byte
0-65535 (unsigned int)word
0-255 (unsigned char)
0-1boolean True False
-32768 ถึง 32767int
-128 ถึง 127char
-3.4 x 1038 ถึง 3.4 x 1038float
หาข้อมูลเพิ่มเติมจาก reference
41หลอด LED เอาต์พุตดิจิตอลอย่างง่าย
42คาสั่งส่งค่าออกเอาต์พุตดิจิตอล
out(ch,state);
ส่งค่าสถานะ(state) 0 หรือ 1
ออกไปยังตาแหน่งขา (ch)ที่ระบุ
เช่น out(17,1);
43ตัวอย่าง : ไฟกะพริบ
#include <ipst.h>
void setup(){ }
void loop(){
out(17,1);
delay(100);
out(17,0);
delay(100);
}
44กาหนดเสียง : ลาโพงเปียโซ
C1
10/16V
SP1
Piezo
speaker
S
+
K1
SOUND
• ใช้ลาโพงเปียโซ มีอิมพีแดนซ์ 32W
• มีค่าความถี่ย่าน 300Hz ถึง 3000 Hz
ZX-SPEAKER
45การต่อลาโพงเปียโซ
ต่อช่อง 16
ZX-SPEAKER
46คาสั่งสร้างเสียง
beep : กาเนิดเสียงความถี่ 500 Hz นาน 100 มิลลิวินาที
beep(ch);
sound : กาเนิดเสียงตามความถี่และช่วงเวลาที่กาหนด
sound(ch,freq,time);
freq กำหนดค่ำควำมถี่เสียง
time กำหนดช่วงเวลำกำเนิดเสียง มิลลิวินำที
47ตัวอย่าง : สร้างเสียง 1
#include <ipst.h>
void setup(){
}
void loop(){
beep(19);
delay(1000);
}
สร้างสัญญาณเสียงติ๊ดทุกๆ 1 วินาที
(ความถี่เสียง 500 Hz ดังนาน 0.1 วินาที)
48ตัวอย่าง : สร้างเสียง 2
#include <ipst.h>
void setup(){
}
void loop(){
sound(19,1200,500);
delay(1000);
}
สร้างสัญญาณเสียงความถี่ 1200 Hz ดังนาน 0.5 วินาที
เว้นทุกๆ 1 วินาที
https://pastebin.com/CgGdEiNX
IPST-SE MARIO SOUND EXAMPLE
49สวิตช์ OK
กดเป็น True
ไม่กดเป็น False
50คาสั่ง sw_OK()
sw_OK() ตรวจสอบสวิตช์ OK บน IPST-SE
1 (True) เมื่อกดสวิตช์
0 (False) เมื่อไม่กดสวิตช์
หมายเหตุ การกดสวิตช์ทาให้ค่าที่อ่านได้จาก Knob มีค่าเป็น 0
ตัวอย่าง
if(sw_OK())
{
beep(19);
}
ผลลัพธ์ เมื่อกดสวิตช์มีเสียงออกลำโพง
51คาสั่ง sw_OK_press()
วนรอกดสวิตช์ OK เมื่อปล่อยสวิตช์ จะกระโดดไปทาคาสั่งบรรทัดถัดไป
ตัวอย่าง
sw_OK_press();
beep(19);
ผลลัพธ์ : รอกดสวิตช์ เมื่อกดส่งเสียงออกลำโพง
52ฟังก์ชั่น OK()
1. แสดงข้อความที่หน้าจอ
2. รอจนกระทั่งกดสวิตช์ OK
3. ทางานคาสั่งถัดไป
#include <ipst.h>
void setup(){
OK();
}
void loop(){
}
ตัวอย่าง
53สวิตช์ SW1
54คาสั่ง sw1()
sw1() ตรวจสอบสวิตช์ SW1 บน IPST-SE
1 (True) เมื่อกดสวิตช์
0 (False) เมื่อไม่กดสวิตช์
ตัวอย่าง
if(sw1())
{
out(17,1);
}
55คาสั่ง sw1_press()
วนรอกดสวิตช์ SW1 เมื่อปล่อยสวิตช์ จะกระโดดไปทาคาสั่งบรรทัดถัดไป
ตัวอย่าง
sw1_press();
beep(19);
ผลลัพธ์ : รอกดสวิตช์ SW1 เมื่อกดส่งเสียงออกลำโพง
56แบบทดสอบ 4
สวิตช์
OK และ SW1
เขียนโปรแกรม ใช้สวิตช์ OK เปิ ด ใช้สวิตช์ SW1 ปิ ด
57แผงวงจรสวิตช์ : ZX-SWITCH01
กดสวิตช์ = ลอจิก “0”
ไม่กด = ลอจิก “1”
58ฟังก์ชั่น : in()
อ่านค่าขาดิจิตอลจากพอร์ตใดๆ ของบอร์ด IPST-SE
in(ch);
ch คือขาพอร์ตที่ต้องการอ่านค่าอินพุต
การคืนค่า คืนค่าสัญญาณดิจิตอลของตาแหน่งขาพอร์ตที่
อ่าน มีค่าเป็น 0 หรือ 1 เท่านั้น
59ทดสอบเขียนโปรแกรมกับ ZX-Switch01
60โมดูล LED8
61วงจรของโมดูล LED8
62การเชื่อมต่อโมดูล LED8 กับ IPST-SE
63ฟังก์ชั่น LED8()
ส่งข้อมูล 1 ไบต์ไปยังบอร์ด LED8
LED8(pin,dat);
pin ขาพอร์ตที่ต้องการติดต่อ
dat ข้อมูล 1 ไบต์ที่จะส่ง
ค่า 0 LED ดับหมด
ค่า 255 LED ติดทั้งหมด
128 64 32 16 8 4 2 1
0 0 0 0 0 0 0 0
1 1 1 1 1 1 1 1255
0
64
#include <ipst.h>
byte x=1;
void setup(){}
void loop(){
x=1;
while(x<128){
LED8(20,x); x=x*2;
delay(200);
}
while(x>1){
LED8(20,x); x=x/2;
delay(200);
}
}
ตัวอย่าง ไฟวิ่งด้วยโมดูล LED8
65ปุ่มปรับค่าอะนาลอก knob()
หมุนเพื่อปรับค่า
80-1023
66
glcdแสดงข้อความที่จอ GLCD ได้ 21 ตัว 16 บรรทัด (size 1)
รูปแบบ
glcd(x,y,*p,...)
พารามิเตอร์
x คือตาแหน่งบรรทัดมีค่าตั้งแต่ 0-15
y คือตาแหน่งตัวอักษรมีค่าตั้งแต่ 0-24
*p คือข้อความที่ต้องการนามาแสดง
ค่าพิเศษ
%d แสดงตัวเลขจานวนเต็มในช่วง -32,768 ถึง 32,767
%h แสดงตัวเลขฐานสิบหก
%b แสดงตัวเลขฐานสอง
%l แสดงตัวเลขจานวนเต็มในช่วง -2,147,483,648 ถึง 2,147,483,647
%f แสดงผลตัวเลขจานวนจริง (แสดงทศนิยม 3 หลัก)
คาสั่ง GLCD
67การแสดงผลค่าตัวเลขด้วย glcd
glcd(0,0,"%d",100);
ค่าพิเศษ
%d แสดงตัวเลขจานวนเต็มในช่วง -32,768 ถึง 32,767
%h แสดงตัวเลขฐานสิบหก
%b แสดงตัวเลขฐานสอง
%l แสดงตัวเลขจานวนเต็มในช่วง -2,147,483,648 ถึง 2,147,483,647
%f แสดงผลตัวเลขจานวนจริง (แสดงทศนิยม 3 หลัก)
68คาสั่ง knob()
knob ใช้อ่านค่าตัวต้านทานปรับค่าได้บน IPST-SE
ทางานเหมือน คาสั่ง analog(7) ค่าอยู่ในช่วง 80-1023
ตัวอย่าง
int val=0;
val=knob();
glcd("%d",val);
69คาสั่ง knob(x)
รูปแบบ
knob(x); โดย x คือค่า Scale
การคืนค่า
ค่าที่อ่านได้จาก knob มีค่าระหว่าง 0 ไปจนถึงค่า x
ตัวอย่าง
int val=0;
val=knob(180);
glcd("%d ",val);
หน้าจอ glcd แสดงค่าตัวเลข 0-180
70คาสั่ง knob(x,y)
รูปแบบ
knob(x,y);
x คือค่า Scale ช่วงเริ่มต้น
y คือค่า Scale ช่วงท้าย
ตัวอย่าง
glcd(1,1,"%d ",knob(10,90));
หน้าจอจะแสดงค่า 10-90 ตามการหมุน knob()
71ตัวอย่าง bar graph เมื่อปรับ knob
#include <ipst.h> // include file for IPST-SE
int x;
void setup(){
setTextSize(3);
}
void loop(){
glcd(1,0,"%d ",knob(128));
glcdFillRect(0,80,knob(128),10,GLCD_RED);
glcdFillRect(knob(128),80,128-knob(128),10,GLCD_BLACK);
}
72
73
5V
10W
25 C
10.5 cm
0V
bit
byte
ฐานสิบหก
ลอจิก
ฐานสอง
วงจรแปลง
อะนาลอก
เป็นดิจิตอล
0-5V 0-1023
74
8 บิต หมายถึงข้อมูลไบนารี่ 8 บิต
เกิดค่าที่เปลี่ยนแปลงได้จาก 0 ถึง 255 28
10 บิต หมายถึงข้อมูลไบนารี่ 10 บิต
เกิดค่าที่เปลี่ยนแปลงได้จาก 0 ถึง 1023 210
ความละเอียดเพิ่มขึ้น 2 บิต
ความละเอียดเพิ่มขึ้น 4 เท่า
Vdigital = Data x V
Full Data
Vdigital = 512 x 5
1023
Vdigital = 2.5 V
75แผงวงจร ตัวต้านทานปรับค่าได้
ตัวต้านทานปรับค่าได้แบบตัวนอน
ตัวต้านทานปรับค่าได้แบบเลื่อน สัญลักษณ์
76แผงวงจร ตัวต้านทานปรับค่าได้
77ฟังก์ชั่น analog()
อ่านค่าอะนาลอกจากตาแหน่งพอร์ตที่ระบุ (A0-A6)
analog(ch);
ch คือขาพอร์ตอะนาลอก (A0-A6) : ระบุเฉพาะตัวเลข
ผลลัพธ์ : ค่ำ 0-1023 (10 บิต) จำกตำแหน่งขำพอร์ตที่ต้องกำร
78แผงวงจรตรวจจับแสง ZX-LDR
GND
+V
OUT
LDR
R2
4k7
ใช้ตรวจจับแสงสว่าง เลือกเอาต์พุตได้ 2 แบบคือ
แรงดันเอาต์พุตเพิ่ม เมื่อแสงตกกระทบมากขึ้น
แรงดันเอาต์พุตลดลง เมื่อแสงตกกระทบมากขึ้น
79สวิตช์เปิ ดไฟกลางคืน
80ตัวอย่าง : ไฟฉายสั่งเปิ ด/ปิ ดไฟ
#include <ipst.h>
int x,y=0;
void setup(){}
void loop(){
x=analog(6);
glcd(0,0,"LDR=%d ",x);
if(x<200){
while(analog(6)<200);delay(300);
if(y==0){
out(16,1); y=1;
}
else{
out(16,0);y=0;
} } }
81ตัวอย่าง : โปรแกรมนับคนเข้าห้องสมุด
#include <ipst.h>
int x,y=0;
void setup(){setTextSize(3);}
void loop(){
x=analog(6);
glcd(0,0,"LDR=%d ",x);
if(x<200){
while(analog(6)<200);delay(300);
y++;
glcd(2,0,"%d ",y);
} }
82
LED Infrared
Photo Transistor
แผงวงจร LED อินฟราเรด และ Photo Transistor
83ตัวอย่าง : การตัดแสงด้วยอินฟราเรด
84
D INFRARED RECEIVER
0.1/50V
38kHz
IRM
OUT
+S
+V
GND
แผงวงจรโมดูลรับแสงอินฟราเรด
85สามารถใช้เพื่อตรวจจับการสะท้อน
86โมดูลวัดระยะทาง GP2Y0A41
ค่าแรงดันเอาต์พุตของ GP2Y0A41 ที่ระยะทาง 30 เซนติเมตรที่ไฟเลี้ยง +5V
อยู่ในช่วง 0.25 ถึง 0.55V โดยค่ากลางคือ 0.4V ช่วงของการเปลี่ยนแปลงแรงดัน
เอาต์พุตที่ระยะทาง 4 เซนติเมตรคือ 2.25V ±0.3V
87หลักการของ GP2Y0A41
88ชุดคาสั่งเพื่ออ่านค่า โมดูล GP2Y0A41
ฟังก์ชั่น getdist เพื่ออ่านค่าระยะทางในหน่วยเซนติเมตร
ตัวอย่าง
dis = getdist(0);
เป็นการอ่านค่าระยะทางจาก GP2D120 ที่ต่ออยู่กับขา PA0
ขอบเขตกำรทำงำนจะอยู่ในช่วง 4 ถึง 32 เซนติเมตรตำมคุณสมบัติของผู้ผลิต
ดังนั้นค่ำที่อ่ำนได้ที่อยู่นอกขอบเขตจะถือว่ำไม่สำมำรถนำมำประเมินได้
89ไอซีวัดอุณหภูมิ MCP9701
แรงดันเอาต์พุตเปลี่ยนแปลง 19.5mV/องศา
คานวณจากค่าอะนาลอกที่อ่านได้ จากสูตร
Temp = (val x 0.25) - 20.51
val ค่าอะนาลอกที่อ่านได้จาก IPST-SE
90ไอซีวัดอุณหภูมิ MCP9701
91ไอซีวัดอุณหภูมิ MCP9701
92การสื่อสารอนุกรม UART
UART1
93คาสั่งสาหรับสื่อสารอนุกรม
uart_available() ถ้ามีข้อมูลถูกป้อนเข้ามาเงื่อนไขเป็นจริง
uart_getkey() รับค่าข้อมูล 1 ไบต์
uart ส่งข้อมูลหลายๆ ไบต์ออกไป
uart_putc ส่งข้อมูลออกไปตัวเดียว
uart_set_baud กาหนดค่าบอดเรตใหม่
uart1_available() ถ้ามีข้อมูลถูกป้อนเข้ามาเงื่อนไขเป็นจริง
uart1_getkey() รับค่าข้อมูล 1 ไบต์
uart1 ส่งข้อมูลหลายๆ ไบต์ออกไป
uart1_putc ส่งข้อมูลออกไปตัวเดียว
uart1_set_baud กาหนดค่าบอดเรตใหม่
94ตัวอย่าง : รับค่าจากคอมพิวเตอร์  LED
#include <ipst.h>
byte x;
void setup(){ setTextSize(4); }
void loop(){
if(uart_available()){
x=uart_getkey();
glcd(1,1,"%h ",x);
if(x=='a'){out(17,1);}
else if(x=='b'){out(17,0);}
}
}
95
บอดเรตต้องเท่ากับ 9600
การเปิ ดหน้าต่าง Serial monitor
96สื่อสารระหว่างไมโครคอนโทรลเลอร์ 2 บอร์ด
97
#include <ipst.h>
int x;
void setup(){
}
void loop(){
if(uart1_available()){
x=uart1_getkey();
glcd(1,1,"%d ",x);
}
}
ตัวอย่างการรับ และ ส่งข้อมูล
ภาครับ
#include <ipst.h>
int x=0;
void setup(){}
void loop(){
uart1_putc(x);
x++;
delay(300);
}
ภาคส่ง
98
99
uart Serial
uart1 Serial1
100การส่งข้อมูล Serial กับคอมพิวเตอร์
Serial.print(78, BIN) ให้ค่าเป็น "1001110"
Serial.print(78, OCT) ให้ค่าเป็น "116"
Serial.print(78, DEC) ให้ค่าเป็น "78"
Serial.print(78, HEX) ให้ค่าเป็น "4E"
Serial.println(1.23456, 0) ให้ค่าเป็น "1"
Serial.println(1.23456, 2) ให้ค่าเป็น "1.23"
Serial.println(1.23456, 4) ให้ค่าเป็น "1.2346");
Serial.begin(BAUD) เริ่มต้นใช้งานการสื่อสาร
BAUD ความเร็วในการสื่อสารข้อมูล บิตติอวินาที
Serial.write(1Byte) ส่งข้อมูล 1 ไบต์,หรือข้อความง่ายๆ
Serial.print() ส่งข้อความพร้อมพารามิเตอร์ต่างๆ
Serial.println() ส่งข้อความพร้อมพารามิเตอร์ต่างๆ และขึ้นบรรทัดใหม่
Serial
101การรับข้อมูล Serial กับคอมพิวเตอร์
Serial.read() ส่งข้อความพร้อมพารามิเตอร์ต่างๆ และขึ้นบรรทัดใหม่
Serial.available() คืนค่าจานวนไบต์ของข้อมูลที่ได้รับ ไม่มีข้อมูลเป็น 0
#include <ipst.h>
int x = 0;
void setup() {
Serial.begin(9600);
}
void loop() {
if (Serial.available() > 0) {
x = Serial.read();
Serial.print("I received: ");
Serial.println(x, DEC);
}
}
102
#include <ipst.h>
void setup() {
Serial.begin(9600);
}
void loop() {
Serial.println(x);
delay(500);
x++;
}
ตัวอย่าง ทดสอบส่งค่าข้อมูล
103เลือกบอดเรตเท่ากับ 9600
104
#include <ipst.h>
byte x;
void setup(){
setTextSize(3);
Serial.begin(9600);
}
void loop(){
if(Serial.available()){
x=Serial.read();
glcd(0,0,"%h ",x);
if(x==0x31){fd(50); }
if(x==0x32){bk(50); }
}
}
ตัวอย่างทดสอบรับข้อมูล
ENTER
เพื่อส่ง
105
106
ซอฟต์แวร์ OpenSource เพื่อ
เขียนโปรแกรมบนคอมพิวเตอร์
เป็นต้นแบบของ Arduino และ
wiring
ใช้เพื่องานการสื่อสารอนุกรม
https://processing.org/download/
107กาหนดไลบรารี่สาหรับสื่อสารอนุกรม
108ชุดคาสั่งที่เกี่ยวข้อง
Serial myPort;
import processing.serial.*;
ประกาศตัวแปรสาหรับคลาส Serial
myPort = new Serial ( this , COM, 9600 )
สร้างออปเจ็กต์เพื่อใช้งานคลาส Serial
String COM = Serial.list()[0]; เลือกคอมพอร์ตที่ใช้ 0 คือตัวแรกที่พบ
นาเข้าคลาส Serial มาใช้
myPort.available()
myPort.read()
myPort.write()
ตรวจสอบและคืนค่าจานวนข้อมูลที่รับ
อ่านค่าข้อมูล
ส่งข้อมูลออกไปยังพอร์ตอนุกรม
109ตัวอย่าง การส่งข้อมูลเมื่อ Click เมาส์
import processing.serial.*;
Serial myPort;
byte x;
void setup(){
String COM = Serial.list()[0];
myPort = new Serial(this, COM, 9600);
}
void draw(){
if(mousePressed){
myPort.write(x);
x++;
delay(100);
}
}
#include <ipst.h>
byte x;
void setup(){
setTextSize(3);
Serial.begin(9600);
}
void loop(){
if(Serial.available()){
x=Serial.read();
glcd(0,0,"%h ",x);
}
}
110ตัวอย่าง การกดปุ่มที่คีย์บอร์ด
import processing.serial.*;
Serial myPort;
byte x;
void setup(){
String COM = Serial.list()[0];
myPort = new Serial(this, COM, 9600);
}
void draw(){}
void keyPressed(){
if(key==CODED){
if (keyCode==UP){myPort.write(1);}
else if(keyCode==DOWN){myPort.write(2);}
else if(keyCode==LEFT){myPort.write(3);}
else if(keyCode==RIGHT){myPort.write(4);}
}
}
111ตัวอย่าง การรับข้อมูล
import processing.serial.*;
Serial myPort;
int x;
void setup(){
String COM = Serial.list()[0];
myPort=new Serial(this,COM,9600);
size(200,200);
textSize(30);
fill(255,255,255);
}
void draw(){
if(myPort.available()>0){
x=myPort.read();
background(0,0,0);
text(x,50,50);
}
}
#include <ipst.h>
void setup() {
Serial.begin(9600);
}
void loop() {
Serial.write(knob(100));
delay(500);
}
นาค่าที่อ่านจาก Knob แสดงที่หน้าจอคอมพิวเตอร์
112
113อุปกรณ์สร้างปลั๊กและหลอดไฟ 220V
ปลั๊กไฟ ขั้วหลอดไฟ หลอดไฟ LED
สายไฟ AC คัตเตอร์
114
ขั้นตอนการยึดสายไฟกับปลั๊ก
115
ขั้นตอนการยึดสายไฟกับขั้วหลอด
116เมื่อต่อเสร็จสมบูรณ์
117Relay4i
118ตัดสายเพื่อควบคุมผ่านรีเลย์
119
โซลิดสเตตรีเลย์
120
การเชื่อมต่อโซลิดสเตตรีเลย์
121
บอร์ด ZX-SSR01
122
การขับโหลด 220V ด้วย ZX-SSR01
IPST-SE
123
DSP4S: Serial 4 Digits 7-Segment display
รูปแบบฟังก์ชั่นในไลบารี่ dsp4s.h
เริ่มต้นเรียกใช้ไลบารี่ดังนี้
#include <dsp4s.h>
pinSegment(int pinPort);
ใช้ระบุขำที่เชื่อมต่อกับ DSP4S ก่อนส่งฟังก์ชั่นอื่นๆ
ตัวอย่าง
pinSegment(6); // กำหนดพอร์ตเชื่อมต่อที่ขำ 6
124
Segment(signed int Value);
กลุ่มฟังก์ชันแสดงผล
ตัวอย่าง
Segment(1234); // แสดงเลข 1 2 3 4 เรียงกัน 4 หลัก
SegmentShow ( );
เปิดให้ส่วนแสดงผลทุกหลัก ส่งออกมำแสดงผลได้
SegmentShow ( digit);
1 เปิดแสดงหลักที่ 1
2 เปิดแสดงหลักที่ 2
3 เปิดแสดงหลักที่ 3
4 เปิดแสดงหลักที่ 4
COLON เปิดแสดงสัญลักษณ์ :
DEGREE เปิดแสดงสัญลักษณ์ ’
ALL เปิดแสดงทั้งหมด
SegmentHide ( );
ซ่อนกำรแสดงผล
SegmentHide (digit );
1 เปิดแสดงหลักที่ 1
2 เปิดแสดงหลักที่ 2
3 เปิดแสดงหลักที่ 3
4 เปิดแสดงหลักที่ 4
COLON เปิดแสดงสัญลักษณ์ :
DEGREE เปิดแสดงสัญลักษณ์ ’
ALL เปิดแสดงทั้งหมด
125
รีโมตคอนโทรล + ZX-IRM
126
รีโมตคอนโทรล + ZX-IRM
#include <IRremote.h>
127
รหัสของรีโมตคอนโทรล
128
ตัวอย่างคาสั่งรับรีโมตคอนโทรล
#include <ipst.h> // IPST-SE Board
#include <IRremote.h> // Include IR remote control library
IRrecv irrecv(24);
decode_results results;
void setup(){
setTextSize(2); // Set text size of GLCD-XT
glcdClear(); // Clear screen of GLCD-XT
irrecv.enableIRIn(); // Enable the IR module operation
}
void loop(){
if (irrecv.decode(&results)){
if (results.decode_type == SONY){
if(results.value == 16){ glcd(0,0,"Button 1"); }
else if(results.value == 2064){ glcd(0,0,"Button 2"); }
else if(results.value == 1040){glcd(0,0,"Button 3"); }
else if(results.value == 3088){ glcd(0,0,"Button 4"); }
}
irrecv.resume();
}
}
129โปรแกรม APP INVENTOR
สร้างโปรแกรมควบคุม IPST-SE แบบไร้สายผ่าน Android
ด้วยโมดูล BlueStick และซอฟต์แวร์ App Inventor 2
130เปิ ดใช้งาน App Inventor 2 (Online)
เข้ำไปที่ http://appinventor.mit.edu/ จำกนั้นกด Create
131ลงชื่อเข้าใช้งานด้วยบัญชี Google
ลงชื่อเข้าใช้ แนะนาการตั้งค่า Android
กด Continue ไปต่อ
132สร้าง Project ใหม่
ตั้งชื่อ Project
133หน้าต่าง Designer
Designer เป็นที่สาหรับวางปุ่มหรือข้อความสาหรับติดต่อผู้ใช้
134หน้าจอสาหรับการเขียนโค้ดที่เรียกว่า Blocks
135เชื่อมต่อ App Inventor กับแอนดรอยด์ 3 แบบ
แบบที่ 1 เชื่อมต่อด้วย WIFI (เราจะเลือกใช้วิธีนี้)
แบบที่ 2 เชื่อมต่อผ่านซอฟต์แวร์อีมูเลเตอร์
แบบที่ 3 เชื่อมต่อตรงผ่านสาย USB
1361.ขั้นตอนการเชื่อมต่อผ่าน WIFI
1. ดาวน์โหลดและติดตั้งโปรแกรม MIT AI2 Companion จาก Play Store บนแอนดรอยด์
2. ให้คอมพิวเตอร์และแอนดรอยด์ใช้ WIFI ชุดเดียวกัน
137
App Inventor 2 ให้เลือกเชื่อมต่อแบบ AI Companion
138จะมีหน้าต่างแสดง QRCODE และเลขรหัสดังรูป
ที่แอนดรอยด์ให้เปิ ดแอพ MIT AI2 Companion
เลือกแสกน QRCODE หรือป้อนรหัสที่ปรากฏก็ได้
139
เมื่อกด Connect หน้าจอ
แอนดรอยด์จะเหมือนกับหน้าจอ
ออกแบบของ App Inventor
การเปลี่ยนแปลงหน้าจอสัมพันธ์กับโปรแกรม
140การเขียนโปรแกรมเพื่อติดต่อกับโมดูลบลูทูธ
ขั้นตอนออกแบบ
141ในส่วน Properties หัวข้อ Text เปลี่ยนชื่อเป็น Connect
142ลากปุ่ม Button มาวางอีกสองปุ่ม เปลี่ยนชื่อเป็น ON และ OFF
143
ไปที่หัวข้อ Connectivity เลือก BluetoothClient1 มาวาง
144ขั้นตอนการเขียนโค้ด
เลือกเปลี่ยนหน้าต่างไปที่หน้า Blocks
เลือกเปลี่ยนหน้าต่างไปที่หน้า Blocks
ลากบล็อกชุดแรกสาหรับเรียกรายการของอุปกรณ์บลูทูธมาแสดง
145ขั้นตอนการเขียนโค้ด
ลากบล็อกชุดที่ 2 หลังจากเลือกรายการจาก List แล้ว ให้ Connect
บลูทูธจากแอดเดรสที่เลือก
ชุดบล็อกชุดที่ 3 เมื่อกดปุ่ม ON ให้ส่งค่าเลข 1 ออกไปยังบลูทูธ
146ขั้นตอนการเขียนโค้ด
ชุดบล็อกชุดที่ 4 เมื่อกดปุ่ม OFF ให้ส่งค่าเลข 0 ออกไปยังบลูทูธ
147ขั้นตอนการเขียนโค้ด
รวมโค้ดทั้งหมดก็จะเป็นดังนี้
148การต่อโมดูล BlueStick เข้ากับบอร์ด IPST-SE
149การเขียนโปรแกรมรับค่าจาก BlueStick
บอร์ด มีฟังก์ชั่นสื่อสารอนุกรม ใช้ชื่อว่า UART
uart1()
สาหรับส่งข้อความออกไป
uart1_available()
สาหรับดูผลว่ามีข้อมูลถูกส่งเข้ามาหรือไม่
uart1_getkey()
สาหรับอ่านค่าข้อมูลที่ถูกส่งมา
150ตัวอย่างโปรแกรม รับค่าและแสดงผลที่ GLCD
#include <ipst.h>
byte x;
void setup(){
setTextSize(2);
glcd(0,0,"You Press:");
setTextSize(3);
}
void loop(){
if(uart1_available()){
x=uart1_getkey();
if(x==1){glcd(1,0,"ON "); }
else if(x==0){ glcd(1,0,"OFF"); }
}
}
151ทดสอบผลการทางานของ App ที่เขียนขึ้น
ไปที่ ตั้งค่า > บลูทูธ ของแอนดรอยด์ก่อน จากนั้นกดค้นหา เพื่อหา
โมดูล BlueStick ซึ่งอาจจะตั้งชื่อเป็น Linvor หรือชื่ออื่นๆ
152จับคู่บลูทูธ
ให้คลิกเลือก ใส่ PIN ซึ่งในที่นี้เลือกใช้ 1234 เป็นค่ามาตรฐาน
153หลังจากจับคู่แล้ว
154กด Connect และเลือกชื่อที่สร้าง
155หลัง Connect ไฟที่ BlueStick จะติดค้าง
เมื่อกดสวิตช์ ON ที่หน้าจอ ข้อความที่ GLCD จะแสดงข้อความ “ON”
ส่วนเมื่อกดสวิตช์ OFF ที่หน้าจอ ข้อความที่ GLCD จะแสดงข้อความ
“OFF”
156การติดตั้ง App ไปที่แอนดรอยด์
เมื่อทดสอบโค้ดเป็นที่พอใจแล้ว ต้องการติดตั้ง App ไปยังแอนดรอยด์
ให้ไปที่เมนู Build เลือกทาได้ 2 ทาง
157การติดตั้ง App ไปที่แอนดรอยด์ (วิธีแรก)
วิธีที่ 1 App (provide QR code
for .apk) จะมีหน้าต่างแสดง QR
code ลิงก์ดาวน์โหลดไฟล์ .apk
สาหรับติดตั้ง ใช้ได้ 2 ชั่วโมง
158การติดตั้ง App ไปที่แอนดรอยด์ (วิธีที่ 2)
วิธีที่ 2 บันทึกไฟล์ลงคอมพิวเตอร์ แล้ว
ค่อยคัดลอกใส่เครื่องไปติดตั้ง ซึ่งอาจจะ
ไปติดตั้งเครื่องอื่นๆก็ได้
159
กฤษดา ใจเย็น KRITSADA JAIYEN
บริษัท อินโนเวตีฟ เอ็กเพอริเมนต์ จากัด
108 ซอยสุขุมวิท 101/2 ถ.สุขุมวิท
แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260
โทรศัพท์ 02-7477001-4 โทรสำร 02-7477005
Email : kritsada@inex.co.th
www.inex.co.th
doc.inex.co.th

More Related Content

What's hot

ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก
Jeerapob Seangboonme
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์
krurutsamee
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
แวมไพร์ แวมไพร์
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆ
Dashodragon KaoKaen
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
panupong
 
การวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผลการวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผล
Anny Hotelier
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
Tanchanok Pps
 

What's hot (20)

ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก
 
คำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศ
คำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศคำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศ
คำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Pop x2 FireBOT present
Pop x2 FireBOT presentPop x2 FireBOT present
Pop x2 FireBOT present
 
การใช้งานหุ่นยนต์ i-BIT หุ่นยนต์ micro:bit ด้วย Microsoft Make Code
การใช้งานหุ่นยนต์ i-BIT หุ่นยนต์ micro:bit ด้วย Microsoft Make Codeการใช้งานหุ่นยนต์ i-BIT หุ่นยนต์ micro:bit ด้วย Microsoft Make Code
การใช้งานหุ่นยนต์ i-BIT หุ่นยนต์ micro:bit ด้วย Microsoft Make Code
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์
 
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆ
 
แบบฝึกหัดที่ 1 การแปลงเลขฐาน
แบบฝึกหัดที่ 1 การแปลงเลขฐานแบบฝึกหัดที่ 1 การแปลงเลขฐาน
แบบฝึกหัดที่ 1 การแปลงเลขฐาน
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
แก๊ส
แก๊ส แก๊ส
แก๊ส
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
 
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
 
พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ
พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุพลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ
พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ
 
NodeMCU with Ax-wifi Beginner 2018
NodeMCU with Ax-wifi Beginner 2018NodeMCU with Ax-wifi Beginner 2018
NodeMCU with Ax-wifi Beginner 2018
 
การวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผลการวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผล
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
 
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
2
22
2
 

Similar to เริ่มต้นใช้งานชุดกล่องสมองกล IPST-SE

เลขฐานและการแปลงเลขฐาน
เลขฐานและการแปลงเลขฐานเลขฐานและการแปลงเลขฐาน
เลขฐานและการแปลงเลขฐาน
AE Mct
 
การใช้งานบอร์ด micro:bit เบื้องต้นด้วย Microsoft Make Code
การใช้งานบอร์ด micro:bit เบื้องต้นด้วย Microsoft Make Codeการใช้งานบอร์ด micro:bit เบื้องต้นด้วย Microsoft Make Code
การใช้งานบอร์ด micro:bit เบื้องต้นด้วย Microsoft Make Code
Innovative Experiment Co.,Ltd.
 

Similar to เริ่มต้นใช้งานชุดกล่องสมองกล IPST-SE (15)

การใช้งาน NodeMCU เบื้องต้น
การใช้งาน NodeMCU เบื้องต้นการใช้งาน NodeMCU เบื้องต้น
การใช้งาน NodeMCU เบื้องต้น
 
Pop bot-xt v 2013-11-11
Pop bot-xt v 2013-11-11Pop bot-xt v 2013-11-11
Pop bot-xt v 2013-11-11
 
Robot Arm opencm และมอเตอร์ dynamixel จาก robotis
Robot Arm opencm และมอเตอร์ dynamixel จาก robotisRobot Arm opencm และมอเตอร์ dynamixel จาก robotis
Robot Arm opencm และมอเตอร์ dynamixel จาก robotis
 
ตัวควบคุมอุณหภูมิ
ตัวควบคุมอุณหภูมิตัวควบคุมอุณหภูมิ
ตัวควบคุมอุณหภูมิ
 
MCS51 Architecture
MCS51 ArchitectureMCS51 Architecture
MCS51 Architecture
 
C lang
C langC lang
C lang
 
Network Monitoring System and Alert System
Network Monitoring System and Alert SystemNetwork Monitoring System and Alert System
Network Monitoring System and Alert System
 
I bot new
I bot newI bot new
I bot new
 
เลขฐานและการแปลงเลขฐาน
เลขฐานและการแปลงเลขฐานเลขฐานและการแปลงเลขฐาน
เลขฐานและการแปลงเลขฐาน
 
02 lab microbox1
02 lab microbox102 lab microbox1
02 lab microbox1
 
บทที่ 10 อินเทอร์รัปต์และวงจรจับเวลา
บทที่ 10 อินเทอร์รัปต์และวงจรจับเวลาบทที่ 10 อินเทอร์รัปต์และวงจรจับเวลา
บทที่ 10 อินเทอร์รัปต์และวงจรจับเวลา
 
Week8 TCP/IP and internet
Week8 TCP/IP and internetWeek8 TCP/IP and internet
Week8 TCP/IP and internet
 
Computer Programming 3
Computer Programming 3 Computer Programming 3
Computer Programming 3
 
PowerPoint for micro:bit makeCode (JavaScript Blocks editor ) Thai
PowerPoint for micro:bit makeCode (JavaScript Blocks editor ) ThaiPowerPoint for micro:bit makeCode (JavaScript Blocks editor ) Thai
PowerPoint for micro:bit makeCode (JavaScript Blocks editor ) Thai
 
การใช้งานบอร์ด micro:bit เบื้องต้นด้วย Microsoft Make Code
การใช้งานบอร์ด micro:bit เบื้องต้นด้วย Microsoft Make Codeการใช้งานบอร์ด micro:bit เบื้องต้นด้วย Microsoft Make Code
การใช้งานบอร์ด micro:bit เบื้องต้นด้วย Microsoft Make Code
 

More from Innovative Experiment Co.,Ltd.

I-Beam Robot From inex.co.th
I-Beam Robot From inex.co.thI-Beam Robot From inex.co.th
I-Beam Robot From inex.co.th
Innovative Experiment Co.,Ltd.
 

More from Innovative Experiment Co.,Ltd. (19)

Robot Arena Maze Runner Senior @ TMC 2019
Robot Arena Maze Runner Senior @ TMC 2019 Robot Arena Maze Runner Senior @ TMC 2019
Robot Arena Maze Runner Senior @ TMC 2019
 
Robot Arena TMC 2019 Line Tracing Junior and Mentor
Robot Arena TMC 2019 Line Tracing Junior and MentorRobot Arena TMC 2019 Line Tracing Junior and Mentor
Robot Arena TMC 2019 Line Tracing Junior and Mentor
 
Robot Arena TPA Junior Competition 2019 Bit Racer
Robot Arena TPA Junior Competition 2019 Bit Racer Robot Arena TPA Junior Competition 2019 Bit Racer
Robot Arena TPA Junior Competition 2019 Bit Racer
 
Robot Arena Programable Line Master 2019 300x240cm
Robot Arena Programable Line Master 2019 300x240cmRobot Arena Programable Line Master 2019 300x240cm
Robot Arena Programable Line Master 2019 300x240cm
 
Robot Arena Programable Line Junior WRG Thailand 2019 310x240cm
Robot Arena Programable Line Junior WRG Thailand 2019 310x240cmRobot Arena Programable Line Junior WRG Thailand 2019 310x240cm
Robot Arena Programable Line Junior WRG Thailand 2019 310x240cm
 
Robot Arena-Beam Senior WRG Thailand2019 480x240cm
Robot Arena-Beam Senior WRG Thailand2019 480x240cmRobot Arena-Beam Senior WRG Thailand2019 480x240cm
Robot Arena-Beam Senior WRG Thailand2019 480x240cm
 
Robot Arena-Beam Master WRG Thailand 2019 360x240cm
Robot Arena-Beam Master WRG Thailand 2019 360x240cmRobot Arena-Beam Master WRG Thailand 2019 360x240cm
Robot Arena-Beam Master WRG Thailand 2019 360x240cm
 
Robot Arena - Beam Junior WRG Thailand 2019 360x240cm
Robot Arena - Beam Junior WRG Thailand 2019 360x240cmRobot Arena - Beam Junior WRG Thailand 2019 360x240cm
Robot Arena - Beam Junior WRG Thailand 2019 360x240cm
 
Robot Arena - Programable Line Senior WRG Thailand 2019 360x240 CM
Robot Arena - Programable Line Senior WRG Thailand 2019 360x240 CMRobot Arena - Programable Line Senior WRG Thailand 2019 360x240 CM
Robot Arena - Programable Line Senior WRG Thailand 2019 360x240 CM
 
Programmable Line Tracing Senior Arena
 Programmable Line Tracing Senior Arena Programmable Line Tracing Senior Arena
Programmable Line Tracing Senior Arena
 
Programmable Line Tracing Junior Arena
Programmable Line Tracing Junior ArenaProgrammable Line Tracing Junior Arena
Programmable Line Tracing Junior Arena
 
Battle Ball Z Robot with Robo Creator XT
Battle Ball Z Robot with Robo Creator XTBattle Ball Z Robot with Robo Creator XT
Battle Ball Z Robot with Robo Creator XT
 
I-Beam Robot From inex.co.th
I-Beam Robot From inex.co.thI-Beam Robot From inex.co.th
I-Beam Robot From inex.co.th
 
Wireless x channel programming
Wireless x channel programmingWireless x channel programming
Wireless x channel programming
 
How To Use Robo-Circle
How To Use Robo-Circle How To Use Robo-Circle
How To Use Robo-Circle
 
Interactive C Robot with AX-11 Board
Interactive C Robot with AX-11 BoardInteractive C Robot with AX-11 Board
Interactive C Robot with AX-11 Board
 
iBIT CIRCLE Programming Robot with microbit
iBIT CIRCLE Programming Robot with microbitiBIT CIRCLE Programming Robot with microbit
iBIT CIRCLE Programming Robot with microbit
 
Bit racer final 215x215 cm robot arena
Bit racer final 215x215 cm robot arenaBit racer final 215x215 cm robot arena
Bit racer final 215x215 cm robot arena
 
Arduino มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับ STEM อย่างไร
Arduino มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับ STEM อย่างไรArduino มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับ STEM อย่างไร
Arduino มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับ STEM อย่างไร
 

เริ่มต้นใช้งานชุดกล่องสมองกล IPST-SE