SlideShare a Scribd company logo
1 of 76
การม้วนสายเพื่อลดการพันกันของสาย
สาย JST
ไขควง
สายไฟที่ใช้งานกับชุด iBIT Circle มีจานวนหลายเส้น ความยาวของมันอาจทาให้ดูยุ่งเหยิง วิธีการเก็บสายง่ายๆ คือพยายามม้วนเป็นเกลียว สายจะสั้นลง ดูเป็นระเบียบ การม้วน
เกลียวให้ใช้ไขควงเป็นแกนหลัก แล้วพันสายเข้าไปที่แกนให้แน่น จากนั้นดึงไขควงออก จะได้สายที่ม้วนเป็นเกลียว นาไปเชื่อมต่อกับเซนเซอร์ต่างๆ บนบอร์ดได้ทันที
การประกอบกรอบอะคริลิค สาหรับ micro:bit
แผ่นด้านบน แผ่นด้านล่าง
แผ่นด้านข้าง สกรูพลาสติก 3x10 มม.
นอต 3 มม.
นาแผ่นอะคริลิค ทั้ง 4 ชิ้นมาแกะกระดาษกันรอยออกก่อน จากนั้นนามาประกบกันแล้วใช้สกรูพลาสติกร้อยและขันยึดด้วยนอตพลาสติก 3 มม.
รายการอุปกรณ์
แผ่นด้านบน
แผ่นด้านล่าง
แผ่นด้านข้าง
บอร์ด iBIT+
บอร์ด iBIT+
บอร์ด iBIT+
มอเตอร์กระแสตรง (DC MOTOR)
BATTERY
+-
M
BATTERY
-+
M
ควบคุมทิศทางของมอเตอร์ด้วยทิศทางของกระแสไฟฟ้า
วงจรขับมอเตอร์กระแสตรง
ชุดเฟืองขับมอเตอร์
การคานวณอัตราทด
การยึดกะบะถ่าน กับบอร์ด iBIT+
กะบะถ่านติดกาวสองหน้าแล้ว บอร์ด iBIT+
1. พลิกบอร์ด iBIT+ เป็นด้านหลัง
รายการอุปกรณ์
2. ลอกกาวสองหน้า ที่กะบะถ่าน
3. แปะกะบะถ่านในตาแหน่งดังรูป
4. เสียบสายเข้าที่จุดต่ออะแดปเตอร์
การใช้งานซอฟต์แวร์ Makecode โหมด Offline
1. เชื่อมต่ออินเตอร์เนทครั้งแรกก่อน เข้าไปที่ www.microbit.org
รูปแบบที่ 1
2. เลือก Let's Code เพื่อเปิดใช้งาน Makecode
การใช้งานซอฟต์แวร์ Makecode โหมด Offline
3. เปิดหน้าต่างสาคัญเพื่อโหลดข้อมูลมาเก็บใน Cookies ของ Browser ที่เราใช้งาน
รูปแบบที่ 1
4. Bookmark เอาไว้เพื่อเปิดใช้งานแบบ Offline ในครั้งต่อไปได้
การใช้งานซอฟต์แวร์ Makecode โหมด Offline
5. ขณะไม่ได้เชื่อมต่ออินเตอร์เนท ถ้าต้องการใช้งานกลุ่มคาสั่งของหุ่นยนต์ iBIT
สามารถเปิดไฟล์ตัวอย่างของ iBIT ขึ้นมา ชุดกลุ่มคาสั่งของ iBIT ก็จะตามมาด้วย
รูปแบบที่ 1
5.1 กดเลือกที่เมนู Project
5.2 เลือก Import File...
5.3 เลือกไฟล์ตัวอย่างที่มีชุดคาสั่ง iBIT อยู่ แล้วกดปุ่ม Go ahead!
5.4 ชุดคาสั่งของ iBIT ก็จะมาพร้อมให้เราใช้งาน
การใช้งานซอฟต์แวร์ Makecode โหมด Offline
สาหรับผู้ใช้งาน Windows 10 ที่มี Microsoft Store ติดตั้งมาเรียบร้อยแล้ว
สามารถติดตั้ง micro:bit ผ่าน Microsoft Store ได้เลย
รูปแบบที่ 2
1. เปิด Microsoft Store
2. พิมพ์ค้นหา microbit 3. เลือก Install เพื่อติดตั้ง
4. ขณะไม่ได้เชื่อมต่ออินเตอร์เนท ให้ทาเช่นเดียวกับรูปแบบแรก คือเปิดไฟล์ตัวอย่างของ iBIT ขึ้นมา ชุดกลุ่มคาสั่งของ iBIT ก็จะตามมาด้วย
การใช้งานซอฟต์แวร์ Makecode โหมด Offline
ใช้ตัวติดตั้งแบบ Offline (มีให้ในแผ่น CDROM หรือดาวน์โหลดจาก
https://inex.co.th/shop/index.php/software-download
รูปแบบที่ 3
2. ในโฟลเดอร์ที่ติดตั้งเรียกไฟล์ makecode.exe ขึ้นมาใช้งาน1. แตกไฟล์โปรแกรม Makecode ไว้ที่ตาแหน่งโฟลเดอร์ที่ต้องการ
3. ขณะไม่ได้เชื่อมต่ออินเตอร์เนท ให้ทาเช่นเดียวกับรูปแบบที่ 1 คือเปิดไฟล์ตัวอย่างของ iBIT ขึ้นมา ชุดกลุ่มคาสั่งของ iBIT ก็จะตามมาด้วย
Lab01
หลังจากสร้างหุ่นยนต์เรียบร้อยและเชื่อมต่อสายมอเตอร์แล้ว เพื่อตรวจสอบว่า การเชื่อมต่อสายมอเตอร์นั้น ทาให้มอเตอร์เคลื่อนที่ไปในทิศทางที่ถูกต้อง สามารถเขียนโปรแกรมเพื่อ
ตรวจสอบได้ โดยเมื่อกดปุ่ม A ให้มอเตอร์ 1 ทางานและหยุดการทางานของมอเตอร์ 2 เมื่อกดปุ่ม B ให้มอเตอร์ 2 ทางานและหยุดการทางานของมอเตอร์ 1
โปรแกรมรอการตรวจสอบเหตุการณ์ 2 เหตุการณ์คือการกดสวิตช์ A และ B ที่อยู่บน
บอร์ด micro:bit
เมื่อกดสวิตช์ A ให้หยุดมอเตอร์ทั้งสองตัว และสั่งมอเตอร์ 1 เดินหน้าด้วยความเร็ว 50%
เมื่อกดสวิตช์ B ให้หยุดมอเตอร์ทั้งสองตัว และสั่งมอเตอร์ 2 เดินหน้าด้วยความเร็ว 50%
การทางานของโปรแกรม
motor 1
motor 2
A
B
motor 1 motor 2
ตรวจสอบการทางานของมอเตอร์
Lab02
เพื่อทดสอบการเคลื่อนที่ของหุ่นยนต์ ด้วยการเคลื่อนที่ไปด้านหน้า และ
เคลื่อนที่ไปด้านหลัง ด้วยการกดสวิตช์ A และ B โดยให้ทางานเป็นเวลา
2 วินาที
โปรแกรมรอการตรวจสอบเหตุการณ์ 2 เหตุการณ์คือการกดสวิตช์ A และ B ที่อยู่บน
บอร์ด micro:bit
เมื่อกดสวิตช์ A ให้มอเตอร์ทั้งสองตัวเคลื่อนที่ไปด้านหน้า หน่วงเวลา 2 วินาทีแล้วสั่งให้
มอเตอร์หยุด จากนั้นสร้างเสียงออกลาโพงเพื่อแจ้งการหยุด
เมื่อกดสวิตช์ B ให้มอเตอร์ทั้งสองตัวเคลื่อนที่ไปด้านหลัง หน่วงเวลา 2 วินาทีแล้วสั่งให้
มอเตอร์หยุด จากนั้นสร้างเสียงออกลาโพงเพื่อแจ้งการหยุด
การทางานของโปรแกรม
การเคลื่อนที่ไปหน้า ถอยหลัง
Lab03
ความเร็วของมอเตอร์มีค่าระหว่าง 0-100 การปรับค่าความเร็วของ
มอเตอร์ 1 และ 2 ต่างกันทาให้หุ่นยนต์เคลื่อนที่ไปด้านที่มีความเร็วน้อย
กว่า สร้างเป็นการเคลื่อนที่แบบวงกลมได้
โปรแกรมรอการตรวจสอบเหตุการณ์ 2 เหตุการณ์คือการกดสวิตช์ A และ B ที่อยู่บน
บอร์ด micro:bit
เมื่อกดสวิตช์ A ให้มอเตอร์ 1 มีความเร็ว 70% และมอเตอร์ 2 ความเร็ว 30% ทาให้
หุ่นยนต์หมุนตัวทางขวา พร้อมแสดงลูกศรชี้ทางขวา
เมื่อกดสวิตช์ B ให้มอเตอร์ 1 มีความเร็ว 30% และมอเตอร์ 2 ความเร็ว 70% ทาให้
หุ่นยนต์หมุนตัวทางซ้าย พร้อมแสดงลูกศรชี้ทางซ้าย
การทางานของโปรแกรม
การเคลื่อนที่เป็นวงกลม
v
Lab04
เป็นโปรแกรมทดสอบการเลี้ยวของหุ่นยนต์ องศาของการเลี้ยวจะมาจากความเร็ว
ของหุ่นยนต์ต่อระยะเวลา ดังนั้นเพื่อให้หุ่นยนต์เลี้ยวได้ 90 องศาพอดี ต้องกาหนด
2 ค่านี้ให้เหมาะสม
โปรแกรมแบ่งเป็น 2 ส่วนคือ ส่วน on start จะเริ่มทางานเมื่อจ่ายไฟครั้งแรก ที่นี่จะรอ
การกดสวิตช์ ถ้ายังไม่กดสวิตช์ให้วนแสดงลูกศรชี้ทางซ้ายไปเรื่อยๆ เมื่อกดสวิตช์เงื่อนไข
เป็นเท็จหลุดจากลูป while ออกมาให้แสดงหน้ายิ้ม (Happy)
สาหรับส่วน forever จะวนทาซ้าไม่มีที่สิ้นสุด โดยเดินตรงด้วยเวลา 1 วินาทีและเลี้ยว
ด้วยเวลา 550 มิลลิวินาที ซึ่งค่าเวลาเลี้ยวนี้จะต้องปรับตั้งเพื่อให้หุ่นยนต์เลี้ยวได้ 90
องศา
การทางานของโปรแกรม
หุ่นยนต์เคลื่อนที่เป็นรูปสี่เหลี่ยม
อ
กดสวิตช์ = ลอจิก “0”
ไม่กด = ลอจิก “1”
แผงวงจรสวิตช์ : ZX-SWITCH01
ต่อขา 1/AN1 ต่อขา 2/AN2
ต่อสายจากสวิตช์ไปยัง iBIT
Lab05
เป็นการนาเอา ZX-Switch01 เป็นสวิตช์ที่กดแล้วให้ลอจิก "0" เมื่อใช้ 2 ตัวทาให้เกิด
เหตุการณ์ไม่ซ้ากันได้ 4 เหตุการณ์ (22 ) จึงทาให้สามารถควบคุมให้หุ่นยนต์ไปหน้า,เลี้ยว
ซ้าย,เลี้ยวขวาและหยุดเคลื่อนที่เมื่อไม่กด
ควบคุมหุ่นยนต์ด้วยสวิตช์
Lab05
โปรแกรมใช้ลูป forever ที่จะทางานไปเรื่อย ๆ โดยภายในจะตรวจสอบเงื่อนไข 4
เงื่อนไขในชุดเดียวกัน คือการกดสวิตช์ที่ขา P1 และ P2 โดยถ้าเป็นการกดทั้งคู่ (ใช้
ตัวเชื่อม AND ในการตรวจสอบ) จะให้หุ่นยนต์ไปหน้า ถ้า P1 กดจะให้หุ่นยนต์เลี้ยวขวา
ถ้า P2 กดจะให้หุ่นยนต์เลี้ยวซ้าย ถ้าไม่กดทั้งคู่ จะให้หุ่นยนต์หยุดเคลื่อนที่
การทางานของโปรแกรม
ควบคุมหุ่นยนต์ด้วยสวิตช์
Note2 : คำสั่ง and จะให้ผลลัพธ์เป็นจริงเมื่อเงื่อนไขทั้งสองเป็นจริง
Note1 : สวิตช์ ZX-Switch01 เมื่อกดสวิตช์จะให้ค่ำเป็น "0" ไม่กดให้ค่ำเป็น "1"
Lab06 ติดตั้งแผงวงจรสวิตช์ด้านหน้า
นอต 3 มม.
สกรู 3x10 มม.
ชิ้นต่อตรง
ยึดชิ้นต่อตรงเข้าที่ด้านหน้าของหุ่นยนต์ จากนั้นใช้สกรู 3x10 มม.
ขันยึดให้แน่นด้วยนอต 3 มม.
Lab06 ติดตั้งแผงวงจรสวิตช์ด้านหน้า
สกรู 3x15 มม.
ZX-Switch01
ชิ้นต่อมุมป้าน
ชิ้นต่อมุมฉาก
นอต 3 มม.
นา ZX-Switch01 ยึดเข้ากับชิ้นต่อมุมฉากโดยใช้สกรู 3x15 มม. ขันยึดด้วยนอต 3
มม. นาชิ้นต่อมุมป้านเสียบ จากนั้นนาไปเสียบเข้ากับด้านหน้าของหุ่นยนต์
เสียบสายเซนเซอร์เข้าที่ช่อง 8 (ขวา) และ ช่อง 12 (ซ้าย)
Lab07 หุ่นยนต์ตรวจจับการชนด้วยสวิตช์
การทางานของหุ่นยนต์แบบอัตโนมัติ จะต้องมี อินพุต นามาประมวลผล และสั่งผลลัพธ์ไปที่เอาต์พุต ตัวอย่างนี้เป็นการให้หุ่นยนต์
ทางานอัตโนมัติ โดยใช้สวิตช์ที่ติดตั้งด้านหน้าเป็นอินพุต เมื่อถูกชน จะเคลื่อนที่ถอยหลังและเลี้ยวเปลี่ยนเส้นทาง
1
2
3
1
2
3
Lab07 หุ่นยนต์ตรวจจับการชนด้วยสวิตช์
ส่วน on start รอให้กด A เพื่อเริ่มต้นทางาน
ส่วน forever สั่งให้หุ่นยนต์เคลื่อนที่ไปหน้า จากนั้นตรวจสอบ
การชนของสวิตช์ ถ้าชนด้านซ้ายสั่งถอยหลัง 0.5 วินาทีแล้วเลี้ยว
ขวา ด้วยระยะเวลาที่สุ่มค่าจากคาสั่ง random ในช่วง 0-3
วินาที สาหรับการชนด้านขวาก็ทางานแบบเดียวกันแต่เป็นการ
เลี้ยวไปทางซ้าย
การทางานของโปรแกรม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ LDR ตัวต้านทานแปรค่าตามแสง
LDR (Light Dependent Resistor) เป็นอุปกรณ์สารกึ่งตัวนาที่มีคุณสมบัติคือ เมื่อได้รับแสง ความ
ต้านทานไฟฟ้าจะลดลง ดังนั้น LDR จึงเหมาะการนามาใช้ตรวจจับแสง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ LDR ตัวต้านทานแปรค่าตามแสง
แผงวงจรตรวจจับแสง ใช้ตัวต้านทานแปรค่าตามแสงต่อเข้ากับตัวต้านทาน R1 ในลักษณะวงจรแบ่งแรงดัน
เมื่อค่าความต้านทานของ LDR มีค่ามาก เนื่องจากแสงตกกระทบน้อย ทาให้ขา DATA มีแรงดันน้อย เมื่อค่า
ความต้านทาน LDR มีค่าน้อย เนื่องจากแสงตกกระทบน้อย ทาให้ขา DATA มีแรงดันมาก
Lab08 ติดตั้งแผงวงจรตรวจจับแสง ZX-02F
นอต 3 มม.
สกรู 3x10 มม.
ชิ้นต่อมุมฉาก
นาชิ้นต่อมุมฉากยึดเข้าที่ด้านข้างของหุ่นยนต์ โดยใช้สกรู 3x10 มม. และขันให้แน่นด้วย
นอต 3 มม. ทาเหมือนกันทั้งสองด้าน
Lab08 ติดตั้งแผงวงจรตรวจจับแสง ZX-02F
ชิ้นต่อมุมป้าน
ชิ้นต่อตรง
นอต 3 มม.สกรู 3x15 มม.
ZX-02F
นาแผงวงจร ZX-02F ยึดเข้ากับชิ้นต่อมุมป้านด้วยสกรู 3x15 มม. ขันยึดให้แน่น
ด้วนอต 3 มม. นาชิ้นต่อตรงเสียบเข้าที่ปลายของชิ้นต่อมุมป้าน
Lab08 ติดตั้งแผงวงจรตรวจจับแสง ZX-02F
นาแผงวงจร ZX-02F เสียบเข้าที่ปลายของชิ้นต่อมุมฉาก
โดยให้หันออกด้านหน้าดังรูป จากนั้นเสียบสายเข้าที่ช่อง
ADC0 (ซ้าย) และ ADC1 (ขวา)
Lab09 ทดสอบอ่านค่าแสง
ค่าตัวเลขที่เกิดขึ้นจะเป็นค่า 0-4095 ซึ่งเมื่อนามาแสดงที่หน้าจอ ค่า
ตัวเลขจะเป็นการเลื่อนเพื่อให้แสดงครบทั้ง 4 หลัก ทาให้อ่านค่ายาก
รูปแบบที่ 1 อ่านค่าจากช่อง ADC0 แสดงเป็นตัวเลข
การทดสอบให้เอามือบังแสง ที่ ZX-02F (LDR) ค่าตัวเลขที่อ่านได้จะต้องน้อยลง เมื่อได้รับ
แสงค่าที่อ่านได้จะต้องมีค่ามาก
Lab09 ทดสอบอ่านค่าแสง
การทดสอบให้เอามือบังแสง ที่ ZX-02F (LDR) ค่าตัวเลขที่อ่านได้จะต้องน้อยลง เมื่อได้รับแสงค่าที่
อ่านได้จะต้องมีค่ามาก
รูปแบบที่ 2 อ่านค่าแสดงเป็นตัวเลข 0-9
ต่างจากรูปแบบที่ 1 คือค่าตัวเลขที่เกิดขึ้นจะเป็นค่า 0-9 ซึ่งเมื่อนามาแสดง
ที่หน้าจอ ค่าตัวเลขไม่มีมีการเลื่อน แต่ความละเอียดไม่มากนัก
Lab09 ทดสอบอ่านค่าแสง (ต่อ)
รูปแบบที่ 3 อ่านค่าจากช่อง ADC0 แสดงเป็นกราฟ
ค่าตัวเลขที่เกิดขึ้นจะเป็นค่า 0-4095 ซึ่งเมื่อนาพล็อตออกหน้าจอ
จานวนเม็ด LED จะหมายถึงค่าปริมาณที่อ่านได้จาก ADC0 (ค่าสูงสุด
4095 LED ทั้ง 25 ดวงจะติดสว่าง การทดสอบให้เอามือบังแสง ที่
ZX-02F (LDR) จานวน LED จะติดน้อย เมื่อได้รับแสงมาก จานวน
LED จะติดมากขึ้น
Note1 : นอกจาก สามารถแสดงที่หน้าจอ LED แล้ว ถ้าใช้งานใน
โหมด Offline หรือโหมด Application ยังสามารถ เลือกที่เมนู
Show data Device เพื่อเปิดการแสดงผลข้อมูลกราฟ และข้อมูล
ตัวเลขได้อีกด้วย (โดยต้องต่อสำย USB ค้ำงไว้เพื่อส่งข้อมล)
Lab09 ทดสอบอ่านค่าแสงผ่านคาสั่งสื่อสารอนุกรม สาหรับ App บน windows 10 และซอฟต์แวร์แบบ Offline เท่านั้น
รูปแบบที่ 4 แสดงข้อมูล 2 ชุดพร้อมกันผ่าน คาสั่ง serial
คาสั่ง serial ใช้รับส่งข้อมูลอนุกรมระหว่างอุปกรณ์ ในที่นี้คือ
micro:bit ส่งข้อมูลให้กับคอมพิวเตอร์ โดย Makecode รับ
ค่าแล้วนาไปแสดงที่หน้าจอพร้อมพล็อตกราฟ ออกมา โดยใช้
ข้อความเป็นตัวกาหนดเส้นกราฟ โดย L หมายถึง ZX-02F
ติดตั้งด้านซ้าย ส่วน R หมายถึง ZX-02F ที่ติดตั้งด้านขวา
จำกรูปพบว่ำ ค่ำสภำวะแสงปกติของเซนเซอร์ทั้งสองตัวอยู่
ในช่วง 2400-2900 เรำสำมำรถนำค่ำนี้ไปประยุกต์กับกำร
เขียนโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์ต่อไป
Lab10 ควบคุมหุ่นยนต์ด้วยไฟฉาย
รอรับการกดคีย์เพื่อเริ่มต้นทางาน จากนั้นทาการ
เก็บค่าแสงปกติ ขณะเริ่มต้นทางานไว้ที่ตัวแปรชื่อ
L และ R โดยให้เพิ่มค่าขึ้น 300 เพื่อกาหนด
ระยะห่างเพื่อใช้เปรียบเทียบ
การทางานของโปรแกรม on start
จะตรวจสอบค่าแสงทั้งสองฝั่ง ถ้าน้อยกว่าค่าที่
อ่านได้ตอนแรกให้เคลื่อนที่ตรง
ถ้าค่าด้านซ้ายมาก ให้เลี้ยวซ้าย
ถ้าค่าด้านขวามากให้เลี้ยวขวา
การทางานของโปรแกรม forever
Lab10 ควบคุมหุ่นยนต์ด้วยไฟฉาย
1. นาหุ่นยนต์ iBIT วางไว้ในที่ความสว่างน้อย
2. กดสวิตช์ A ให้หุ่นยนต์เริ่มทางาน และเก็บค่าแสง
ปัจจุบันเอาไว้
3. ใช้ไฟฉายหรือแหล่งกาเนิดแสงอื่นๆ ส่งไปยัง
เซนเซอร์แสงด้านใดด้านหนึ่ง
4. หุ่นยนต์ iBIT จะเคลื่อนที่เข้าหาแสงทิศทางนั้นๆ
การทดสอบ
ความรู้เกี่ยวกับแผงวงจรตรวจจับแสงสะท้อนอินฟราเรด ZX-03
แผงวงจร ZX-03 จะมี LED อินฟราเรด
ทาหน้าที่ส่งแสงออกไป ส่วนโฟโต้
ทรานซิสเตอร์จะรับแสงอินฟราเรดที่
สะท้อนกลับมา ค่ามากหรือน้อยขึ้นอยู่
กับพื้นผิวที่แสงตกกระทบ สีอ่อน
สะท้อนแสงได้ดีกว่าสีเข้ม
แผงวงจร ZX-03 เป็นตัวตรวจจับแบบอะนาลอก ต่อ
วงจรให้ค่าแรงดันเปลี่ยนแปลงตามพื้นผิวที่ตกกระทบ
ระยะห่างที่เหมาะสมอยู่ในช่วง 3 -10 มิลลิเมตรจาก
พื้น
Lab11 การติดตั้ง ZX-03 เข้ากับหุ่นยนต์ iBIT Circle
ZX-03
แท่งต่อ 5 รู
สกรู 3x15 มม. นอต 3 มม.
iBIT Circle
Lab11 การติดตั้ง ZX-03 เข้ากับหุ่นยนต์ iBIT Circle
นา ZX-03 ยึดเข้ากับแท่งต่อ ตาแหน่งริมสุด โดยใช้สกรู 3x15 มม.ขันยึดด้วย
นอต 3 มม. ทาเหมือนกัน 2 ชุด
สกรู 3x10 มม.
นอต 3 มม.
Lab11 การติดตั้ง ZX-03 เข้ากับหุ่นยนต์ iBIT Circle
นา ZX-03 ยึดเข้ากับโครงสร้างของหุ่นยนต์โดย
ใช้สกรู 3x10 มม. และขันยึดด้วยนอต 3 มม.
เสียบสายเข้าที่ช่อง ADC0 (ซ้าย) และ ADC1
(ขวา)
Lab12 การทาสนามทดสอบหุ่นยนต์อย่างง่าย
เทปพันสายไฟ ยี่ห้อ 3M
รายการอุปกรณ์
พลาสติกลูกฟูกสีขาวขนาดประมาณ 80x120 CM
จุดประสงค์คือสร้ำงเส้นตัดสีดำขึ้นที่พื้นสีขำวให้หุ่นยนต์สำมำรถ
แยกแยะจำกกำรสะท้อนกลับของแผงวงจร ZX-03 ได้
นาเทปพันสายไฟแนะนายี่ห้อ 3M เนื่องจากมีความ
ยืดหยุ่นสูงและเกิดคราบกาวน้อย ติดเส้นลงบน
พลาสติกลูกฟูกลักษณะตามรูป
ตรวจสอบอ่านค่าจากแผงวงจร ZX-03Lab13
นาหุ่นยนต์วางบนพื้นสีขาว นาหุ่นยนต์วางบนเส้นสีดา
กดปุ่ม A (ซ้าย) ค่าที่อ่านได้เท่ากับ
กดปุ่ม B (ขวา)ค่าที่อ่านได้เท่ากับ
3800
3850
ซ้าย ขวา ซ้าย ขวา
กดปุ่ม A (ซ้าย) ค่าที่อ่านได้เท่ากับ
กดปุ่ม B (ขวา)ค่าที่อ่านได้เท่ากับ
400
450
คาสั่งชุดแรกจะรอการกดปุ่ม A เพื่ออ่านค่าจากช่อง ADC0 ซึ่งต่อ
กับ ZX-03 ด้านซ้ายมาแสดง
คาสั่งชุดที่ 2 จะรอการกดปุ่ม B เพื่ออ่านค่าจากช่อง ADC1 ซึ่ง
ต่อกับ ZX-03 ด้านขวามาแสดง
การทางานของโปรแกรม
การทดสอบ
นาหุ่นยนต์ วางบนพื้นสีขาว จากนั้นกดปุ่ม A และ B เพื่ออ่านค่า
มาเก็บไว้ ก่อนนาไปวางไว้บนเส้นสีดา อ่านค่ามาเก็บไว้
เช่นเดียวกันเพื่อ นาค่าทั้งสองมาหาค่ากลางในการเปรียบเทียบ
ค่ากลาง = ค่าที่อ่านได้จากสีขาว + ค่าที่อ่านได้จากสีดา
2
= 3800 + 400
2
= 2100
หุ่นยนต์เคลื่อนที่ไปหยุดที่เส้นสีดาLab14
การทางานของโปรแกรม
โปรแกรมเลือกใช้เหตุการณ์รอรับการกดคีย์ A เพียงอย่างเดียว
โดยเมื่อกดคีย์ จะเริ่มตรวจสอบลูป while ว่าค่าที่อ่านได้จากช่อง
ADC0 (ZX-03 ด้านซ้าย) ยังมีค่ามากกว่าค่ากลางหรือไม่ ถ้าใช่ ให้
วนลูปสั่งให้หุ่นยนต์เคลื่อนที่ไปด้านหน้าต่อไป เมื่อเงื่อนไขของ
while เป็นเท็จเนื่องจากค่าที่อ่านได้จาก ADC0 มีค่าน้อยกว่าค่า
กลาง จะสั่งให้หุ่นยนต์หยุดทางาน และส่งเสียงออกลาโพง
การทดสอบ
นาหุ่นยนต์ วางบนพื้นสีขาว จากนั้นกดปุ่ม A หุ่นยนต์จะเคลื่อนที่ไปด้านหน้า
เรื่อย ๆ จนกระทั่ง ZX-03 ด้านซ้ายเจอเส้นสีดา หุ่นยนต์จะหยุดการเคลื่อนที่
ทันที
แนวคิดหุ่นยนต์เคลื่อนที่ตามเส้น (แบบไม่มีทางแยก)
อ อ อ
กรณีที่แผงวงจร ZX-03 ทั้งสองคร่อมอยู่บน
เส้น จะต้องสั่งให้หุ่นยนต์เคลื่อนที่ไป
ด้านหน้า
กรณีที่แผงวงจร ZX-03 ด้านซ้ายเจอเส้นสี
ดา แสดงว่าเริ่มเอียงตัวออกนอกเส้นทางไป
ทางด้านขวา จะต้องสั่งให้หุ่นยนต์หมุนตัว
ทางซ้ายเพื่อกลับมาคร่อมเส้น
กรณีที่แผงวงจร ZX-03 ด้านขวาเจอเส้นสีดา
แสดงว่าเริ่มเอียงตัวมาทางด้านซ้าย จะต้อง
สั่งให้หุ่นยนต์หมุนตัวทางขวาเพื่อกลับมา
คร่อมเส้น
โปรแกรมจะเริ่มจากการสร้างตัวแปรเพื่อเก็บค่ากลาง ชื่อ RefL
(ด้านซ้าย) และ RefR (ด้านขวา) ซึ่งมาจากการคานวณก่อนหน้านี้
หุ่นยนต์เคลื่อนที่ตามเส้นอย่างง่าย (ไม่มีเส้นตัด)Lab15
การทางานของโปรแกรม
สาหรับการทางานในลูป จะอ่านค่าเซนเซอร์มาเก็บไว้ในตัวแปร L
และ R ก่อนนาค่ามาเปรียบเทียบ ถ้าตรงกับเงื่อนไข ก็ให้ทาคาสั่ง
ตามเงื่อนไขนั้น ๆ
แนวคิดหุ่นยนต์เคลื่อนที่ตามเส้น (เมื่อมีเส้นตัดทางแยก)
จากรูปจะพบว่ากรณีเกิดขึ้นเมื่อ เซนเซอร์ทั้งทางด้านซ้ายและด้านขวาตรวจพบเส้นสีดา ดังนั้นจะต้อง
เพิ่มเงื่อนไขเข้าไป ซึ่งเป็นได้ทั้ง
เมื่อเจอทำงแยก ให้เคลื่อนที่ตรงไป ข้ำมทำงแยก
เมื่อเจอทำงแยก ให้เคลื่อนที่ตรงไปเล็กน้อยแล้วเลี้ยวซ้ำย เพื่อไปคร่อมเส้นด้ำนซ้ำย
เมื่อเจอทำงแยก ให้เคลื่อนที่ตรงไปเล็กน้อยแล้วเลี้ยวขวำ เพื่อไปคร่อมเส้นด้ำนขวำ
เมื่อเจอทำงแยก ให้ถอยหลังและหมุนตัวกลับเพื่อเคลื่อนที่ในเส้นทำงเดิม
หุ่นยนต์เคลื่อนที่ตามเส้นส่งเสียงเมื่อเจอเส้นตัดLab16
การทางานของโปรแกรม
เพิ่มเติมจาก Lab ก่อนหน้าคือชุด else if ชุดสุดท้าย เมื่อตรวจ
พบว่าค่าน้อยกว่าค่ากลางทั้งสองด้าน ให้หุ่นยนต์ เดินตรงและส่ง
เสียงออกมา ระยะเวลาของเสียง 1/2 beat (250 มิลลิวินาที) ที่ค่า
Tempo 120 bpm
Note1 : ส่วน on start ทำงำนเหมือนกับ Lab ก่อนหน้ำนี้
หุ่นยนต์เคลื่อนที่ตามเส้น เจอเส้นตัดเลี้ยวขวาLab17
การทางานของโปรแกรม
เพิ่มเติมจาก Lab ก่อนหน้า เมื่อหุ่นยนต์เจอเส้นตัด หุ่นยนต์จะต้อง
เคลื่อนที่ตรงไปเล็กน้อย ก่อนจะเลี้ยว เนื่องจากจุดหมุนของ
หุ่นยนต์อยู่กลางลาตัว จากนั้นสั่งเลี้ยวขวาเพื่อให้คร่อมเส้นพอดี
Note1 : ส่วน on start ทำงำนเหมือนกับ Lab ก่อนหน้ำนี้
เพิ่มเติม : ให้ทดสอบปรับแก้คำสั่งเลี้ยวขวำเป็นเลี้ยวซ้ำย และดู ผลว่ำเมื่อ
เจอเส้นตัดแล้วสำมำรถเปลี่ยนทิศทำงกำรเลี้ยวได้หรือไม่
ยุบชุดคาสั่ง กลายเป็นฟังก์ชั่นLab18
ฟังก์ชั่น RRR ทาหน้าที่เหมือน Lab ก่อนหน้านี้ โดยเพิ่มการตรวจสอบตัวแปร
Status ซึ่งจะทาให้หลุดจากลูปเมื่อเดินเจอเส้นตัดและเลี้ยวเรียบร้อยแล้ว ฟังก์ชั่นที่
สร้างขึ้นสามารถเรียกใช้งานผ่าน Call function RRR ได้ ดังแสดงในตัวอย่างขวามือ
ฟังก์ชั่น LLL เจอแยกเลี้ยวซ้าย
ฟังก์ชั่น LLL ทางานคล้ายกับ RRR แต่เปลี่ยนการเลี้ยวเป็นเลี้ยวซ้าย และสามารถ
เรียกผ่านชื่อ LLL ได้ทันที
ฟังก์ชั่น FFF เจอแยกตรงไป
ฟังก์ชั่น FFF เป็นอีกหนึ่งฟังก์ชั่นที่ทดสอบการใช้งานก่อนหน้านี้และยุบรวมเป็น
ฟังก์ชั่น สามารถเรียกผ่านชื่อ FFF ได้ทันที
เป็นการเรียนใช้งานฟังก์ชั่น LLL และ RRR ตามการเลี้ยวจากเส้นตัวอย่าง โดยตั้งใจให้
เป็นลักษณะเลข 8 ซึ่งมีการเลี้ยวซ้าย 4 ครั้งและเลี้ยวขวา 4 ครั้ง ทั้งหมดอยู่ภายในลูป
ของ while ซึ่งเงื่อนไขเป็น True หมายถึงเป็นจริงตลอดเวลา วนทางานซ้าไปเรื่อยๆ
เคลื่อนที่ตามเส้นตัดเป็นเลข 8Lab19
Note1 : ต้องมีฟังก์ชั่น RRR และ LLL อยู่ในโปรแกรมด้วย
การทางานของโปรแกรม
ควบคุมการเคลื่อนที่ของหุ่นยนต์จาก micro:bit อีกตัวผ่านฟังก์ชั่น radioLab20
ชุดคาสั่งสาคัญที่ต้องใช้งาน
เมื่อมีข้อมูลถูกส่งมาเหตุการณ์นี้จะถูกเรียกใช้ โดยค่าข้อมูลที่
รับได้จะเก็บในตัวแปรชื่อ receivedNumber
ใช้เพื่อเป็นการส่งข้อมูล แบบตัวเลขไปยังปลายทาง
กาหนดช่องสัญญาณในการสื่อสาร ช่อง 0 -255
ช่องเดียวกันรับส่งข้อมูลกันได้
ควบคุมการเคลื่อนที่ของหุ่นยนต์จาก micro:bit อีกตัวผ่านฟังก์ชั่น radioLab20
โปรแกรมทดสอบฝั่งภาคส่ง
ภาคสั่งแบ่งงานออกเป็น 4 เหตุการณ์จากการกระตุ้น เพื่อส่ง
ค่าตัวเลขออกไปให้ภาครับได้รับข้อมูลและนาไปสั่งการ
หุ่นยนต์ โดยกาหนดช่องสัญญาณไว้ที่หมายเลข 7
เหตุการณ์ logo up คือหันด้านโลโก้ขึ้นด้านบน ทาให้มีการ
ส่งเลข 1 ไปให้ภาครับ
เหตุการณ์ logo down คือหันด้านโลโก้ลงด้านล่างทาให้มี
การส่งเลข 2 ไปให้ภาครับ
เหตุการณ์ tilt left คือการเอียงบอร์ดไปทางซ้าย ทาให้มี
การส่งเลข 3 ไปยังภาครับ
เหตุการณ์ tilt right คือการเอียงบอร์ดไปทางขวา ทาให้มี
การส่งเลข 4 ไปยังภาครับ
เหตุการณ์ shake คือการเขย่า ทาให้มีการส่งเลข 5 ไปยัง
ภาครับ
การทางานของโปรแกรม
ควบคุมการเคลื่อนที่ของหุ่นยนต์จาก micro:bit อีกตัวผ่านฟังก์ชั่น radioLab20
โปรแกรมทดสอบฝั่งภาครับ
ภาครับ จะมีเหตุการณ์ on radio received ซึ่งเกิดเมื่อมีข้อมูลถูกส่งมา ค่า
ข้อมูลถูกเก็บในตัวแปร receivedNuber สามารถนามาตรวจสอบว่าตรงกับค่า
ตัวเลขตัวใด
เมื่อตรงกับเลข 1 ก็สั่งให้หุ่นยนต์เคลื่อนที่ไปหน้า
เมื่อตรงกับเลข 2 ก็สั่งให้หุ่นยนต์เคลื่อนที่ถอยหลัง
เมื่อตรงกับเลข 3 ก็สั่งให้หุ่นยนต์เลี้ยวซ้าย
เมื่อตรงกับเลข 4 ก็สั่งให้หุ่นยนต์เลี้ยวขวา
เมื่อตรงกับเลข 5 ก็สั่งให้หุ่นยนต์หยุดเคลื่อนที่
การทางานของโปรแกรม
โหลดโปรแกรมเข้าไปที่ ภาครับสาหรับตัวหุ่นยนต์ และภาคสั่ง เป็น micro:bit
เปล่าทาหน้าที่เป็นรีโมตคอนโทรล โดยภาคส่งสามารถใช้ไฟเลี้ยงจาก USB ได้
ส่วนภาครับ ก็ใช้ไฟจากถ่าน AAA 4 ก้อนที่ใช้กับการขับเคลื่อนหุ่นยนต์ได้
การทางานของโปรแกรม
• 2 เซล 7.4V
• กระแส 1100mA
• จ่ายกระแส 30 เท่า
• ชาร์จ 5 เท่า
แดง บวก
ดา ลบ
แดง บวก
ดา ลบ
แบตเตอรี่ Li-Po
1 เซล 3.7V อนุกรมกัน 2 เซล = 7.4V
จ่ายไฟ 1100 mA ต่อเนื่องได้ประมาณ 1 ชั่วโมง
จ่ายกระแสชั่วขณะได้ 1100 x 30 = 33000mA O_o!
ชาร์จได้ 5 เท่า 1100x5 = 5500mA ใช้เวลาประมาณ 20 นาที
รายละเอียดแบตเตอรี่ ลิเธียม-โพลิเมอร์
วัด Volt อย่างเดียว
แสดงไฟและเตือน
วัดโวลต์และเตือน
เตือนแรงดันต่า
กะพริบเมื่อไหร่เปลี่ยนแบตทันที
ตรวจสอบแรงดันต่า
ชาร์จถ่าน Ni-MH
ชาร์จแบต Li-Po
ชาร์จแบตรถยนต์
เครื่องชาร์จแบตเตอรี่
กฤษดา ใจเย็น
บริษัท อินโนเวตีฟ เอ็กเพอริเมนต์ จากัด
108 ซอยสุขุมวิท 101/2 ถ.สุขุมวิท
แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260
โทรศัพท์ 027477001-4 โทรสาร 02-7477005
www.inex.co.th
facebook.com/innovativeexperiment

More Related Content

What's hot

บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
การใช้งานบอร์ด micro:bit เบื้องต้นด้วย Microsoft Make Code
การใช้งานบอร์ด micro:bit เบื้องต้นด้วย Microsoft Make Codeการใช้งานบอร์ด micro:bit เบื้องต้นด้วย Microsoft Make Code
การใช้งานบอร์ด micro:bit เบื้องต้นด้วย Microsoft Make CodeInnovative Experiment Co.,Ltd.
 
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60Krittalak Chawat
 
ทรัพย์สินทางปัญญา
ทรัพย์สินทางปัญญาทรัพย์สินทางปัญญา
ทรัพย์สินทางปัญญาshikapu
 
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีแผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีเทวัญ ภูพานทอง
 
กฎหมายทะเบียนราษฎร
กฎหมายทะเบียนราษฎรกฎหมายทะเบียนราษฎร
กฎหมายทะเบียนราษฎรYosiri
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560daykrm
 
ทฤษฎีของอิริคสัน
ทฤษฎีของอิริคสันทฤษฎีของอิริคสัน
ทฤษฎีของอิริคสัน7roommate
 
โครงงานตุง ตุง
โครงงานตุง ตุงโครงงานตุง ตุง
โครงงานตุง ตุงSarinya Tunrongchang
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อsukanya5729
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาAon Narinchoti
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยchatsawat265
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานSAKANAN ANANTASOOK
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์Khwanruthai Kongpol
 

What's hot (20)

Beginning with IROVER Robot (IPST WiFi + IKB+1)
Beginning with IROVER Robot (IPST WiFi + IKB+1)Beginning with IROVER Robot (IPST WiFi + IKB+1)
Beginning with IROVER Robot (IPST WiFi + IKB+1)
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
การใช้งานบอร์ด micro:bit เบื้องต้นด้วย Microsoft Make Code
การใช้งานบอร์ด micro:bit เบื้องต้นด้วย Microsoft Make Codeการใช้งานบอร์ด micro:bit เบื้องต้นด้วย Microsoft Make Code
การใช้งานบอร์ด micro:bit เบื้องต้นด้วย Microsoft Make Code
 
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
 
Ast.c2560.5t
Ast.c2560.5tAst.c2560.5t
Ast.c2560.5t
 
ทรัพย์สินทางปัญญา
ทรัพย์สินทางปัญญาทรัพย์สินทางปัญญา
ทรัพย์สินทางปัญญา
 
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีแผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
กฎหมายทะเบียนราษฎร
กฎหมายทะเบียนราษฎรกฎหมายทะเบียนราษฎร
กฎหมายทะเบียนราษฎร
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
 
ทฤษฎีของอิริคสัน
ทฤษฎีของอิริคสันทฤษฎีของอิริคสัน
ทฤษฎีของอิริคสัน
 
โครงงานตุง ตุง
โครงงานตุง ตุงโครงงานตุง ตุง
โครงงานตุง ตุง
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหา
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 

Similar to iBIT CIRCLE Programming Robot with microbit

Similar to iBIT CIRCLE Programming Robot with microbit (8)

อิเล็กทรอนิกส์
อิเล็กทรอนิกส์อิเล็กทรอนิกส์
อิเล็กทรอนิกส์
 
รายงานภาคปฏิบัติวิชา Sm es service
รายงานภาคปฏิบัติวิชา Sm es serviceรายงานภาคปฏิบัติวิชา Sm es service
รายงานภาคปฏิบัติวิชา Sm es service
 
หน่วยที่ 7การควบคุมทางไฟฟ้า
หน่วยที่ 7การควบคุมทางไฟฟ้าหน่วยที่ 7การควบคุมทางไฟฟ้า
หน่วยที่ 7การควบคุมทางไฟฟ้า
 
Jn 85 utr manual
Jn 85 utr manualJn 85 utr manual
Jn 85 utr manual
 
Electronic
ElectronicElectronic
Electronic
 
Elec1
Elec1Elec1
Elec1
 
วันอังคารที่ 22 ธันวาคม 2554
วันอังคารที่ 22 ธันวาคม 2554วันอังคารที่ 22 ธันวาคม 2554
วันอังคารที่ 22 ธันวาคม 2554
 
วันอังคารที่ 22 ธันวาคม 2554
วันอังคารที่ 22 ธันวาคม 2554วันอังคารที่ 22 ธันวาคม 2554
วันอังคารที่ 22 ธันวาคม 2554
 

More from Innovative Experiment Co.,Ltd.

Robot Arena Programable Line Junior WRG Thailand 2019 310x240cm
Robot Arena Programable Line Junior WRG Thailand 2019 310x240cmRobot Arena Programable Line Junior WRG Thailand 2019 310x240cm
Robot Arena Programable Line Junior WRG Thailand 2019 310x240cmInnovative Experiment Co.,Ltd.
 
Robot Arena - Programable Line Senior WRG Thailand 2019 360x240 CM
Robot Arena - Programable Line Senior WRG Thailand 2019 360x240 CMRobot Arena - Programable Line Senior WRG Thailand 2019 360x240 CM
Robot Arena - Programable Line Senior WRG Thailand 2019 360x240 CMInnovative Experiment Co.,Ltd.
 

More from Innovative Experiment Co.,Ltd. (20)

Robot Arena Maze Runner Senior @ TMC 2019
Robot Arena Maze Runner Senior @ TMC 2019 Robot Arena Maze Runner Senior @ TMC 2019
Robot Arena Maze Runner Senior @ TMC 2019
 
Robot Arena TMC 2019 Line Tracing Junior and Mentor
Robot Arena TMC 2019 Line Tracing Junior and MentorRobot Arena TMC 2019 Line Tracing Junior and Mentor
Robot Arena TMC 2019 Line Tracing Junior and Mentor
 
Robot Arena TPA Junior Competition 2019 Bit Racer
Robot Arena TPA Junior Competition 2019 Bit Racer Robot Arena TPA Junior Competition 2019 Bit Racer
Robot Arena TPA Junior Competition 2019 Bit Racer
 
Robot Arena Programable Line Master 2019 300x240cm
Robot Arena Programable Line Master 2019 300x240cmRobot Arena Programable Line Master 2019 300x240cm
Robot Arena Programable Line Master 2019 300x240cm
 
Robot Arena Programable Line Junior WRG Thailand 2019 310x240cm
Robot Arena Programable Line Junior WRG Thailand 2019 310x240cmRobot Arena Programable Line Junior WRG Thailand 2019 310x240cm
Robot Arena Programable Line Junior WRG Thailand 2019 310x240cm
 
Robot Arena-Beam Senior WRG Thailand2019 480x240cm
Robot Arena-Beam Senior WRG Thailand2019 480x240cmRobot Arena-Beam Senior WRG Thailand2019 480x240cm
Robot Arena-Beam Senior WRG Thailand2019 480x240cm
 
Robot Arena-Beam Master WRG Thailand 2019 360x240cm
Robot Arena-Beam Master WRG Thailand 2019 360x240cmRobot Arena-Beam Master WRG Thailand 2019 360x240cm
Robot Arena-Beam Master WRG Thailand 2019 360x240cm
 
Robot Arena - Beam Junior WRG Thailand 2019 360x240cm
Robot Arena - Beam Junior WRG Thailand 2019 360x240cmRobot Arena - Beam Junior WRG Thailand 2019 360x240cm
Robot Arena - Beam Junior WRG Thailand 2019 360x240cm
 
Robot Arena - Programable Line Senior WRG Thailand 2019 360x240 CM
Robot Arena - Programable Line Senior WRG Thailand 2019 360x240 CMRobot Arena - Programable Line Senior WRG Thailand 2019 360x240 CM
Robot Arena - Programable Line Senior WRG Thailand 2019 360x240 CM
 
Programmable Line Tracing Senior Arena
 Programmable Line Tracing Senior Arena Programmable Line Tracing Senior Arena
Programmable Line Tracing Senior Arena
 
Programmable Line Tracing Junior Arena
Programmable Line Tracing Junior ArenaProgrammable Line Tracing Junior Arena
Programmable Line Tracing Junior Arena
 
Battle Ball Z Robot with Robo Creator XT
Battle Ball Z Robot with Robo Creator XTBattle Ball Z Robot with Robo Creator XT
Battle Ball Z Robot with Robo Creator XT
 
POP-7 Robot with RQ-7 Platform (PDF)
POP-7 Robot with RQ-7 Platform  (PDF)POP-7 Robot with RQ-7 Platform  (PDF)
POP-7 Robot with RQ-7 Platform (PDF)
 
Pop x2 FireBOT present
Pop x2 FireBOT presentPop x2 FireBOT present
Pop x2 FireBOT present
 
POP-X2 Education Kit Presentation
POP-X2 Education Kit PresentationPOP-X2 Education Kit Presentation
POP-X2 Education Kit Presentation
 
I-Beam Robot From inex.co.th
I-Beam Robot From inex.co.thI-Beam Robot From inex.co.th
I-Beam Robot From inex.co.th
 
Wireless x channel programming
Wireless x channel programmingWireless x channel programming
Wireless x channel programming
 
How To Use Robo-Circle
How To Use Robo-Circle How To Use Robo-Circle
How To Use Robo-Circle
 
Interactive C Robot with AX-11 Board
Interactive C Robot with AX-11 BoardInteractive C Robot with AX-11 Board
Interactive C Robot with AX-11 Board
 
Bit racer final 215x215 cm robot arena
Bit racer final 215x215 cm robot arenaBit racer final 215x215 cm robot arena
Bit racer final 215x215 cm robot arena
 

iBIT CIRCLE Programming Robot with microbit

  • 1.
  • 2. การม้วนสายเพื่อลดการพันกันของสาย สาย JST ไขควง สายไฟที่ใช้งานกับชุด iBIT Circle มีจานวนหลายเส้น ความยาวของมันอาจทาให้ดูยุ่งเหยิง วิธีการเก็บสายง่ายๆ คือพยายามม้วนเป็นเกลียว สายจะสั้นลง ดูเป็นระเบียบ การม้วน เกลียวให้ใช้ไขควงเป็นแกนหลัก แล้วพันสายเข้าไปที่แกนให้แน่น จากนั้นดึงไขควงออก จะได้สายที่ม้วนเป็นเกลียว นาไปเชื่อมต่อกับเซนเซอร์ต่างๆ บนบอร์ดได้ทันที
  • 3. การประกอบกรอบอะคริลิค สาหรับ micro:bit แผ่นด้านบน แผ่นด้านล่าง แผ่นด้านข้าง สกรูพลาสติก 3x10 มม. นอต 3 มม. นาแผ่นอะคริลิค ทั้ง 4 ชิ้นมาแกะกระดาษกันรอยออกก่อน จากนั้นนามาประกบกันแล้วใช้สกรูพลาสติกร้อยและขันยึดด้วยนอตพลาสติก 3 มม. รายการอุปกรณ์ แผ่นด้านบน แผ่นด้านล่าง แผ่นด้านข้าง
  • 10.
  • 11.
  • 12.
  • 14. การยึดกะบะถ่าน กับบอร์ด iBIT+ กะบะถ่านติดกาวสองหน้าแล้ว บอร์ด iBIT+ 1. พลิกบอร์ด iBIT+ เป็นด้านหลัง รายการอุปกรณ์ 2. ลอกกาวสองหน้า ที่กะบะถ่าน 3. แปะกะบะถ่านในตาแหน่งดังรูป 4. เสียบสายเข้าที่จุดต่ออะแดปเตอร์
  • 15.
  • 16.
  • 17.
  • 18.
  • 19.
  • 20.
  • 21.
  • 22.
  • 23.
  • 24.
  • 25. การใช้งานซอฟต์แวร์ Makecode โหมด Offline 1. เชื่อมต่ออินเตอร์เนทครั้งแรกก่อน เข้าไปที่ www.microbit.org รูปแบบที่ 1 2. เลือก Let's Code เพื่อเปิดใช้งาน Makecode
  • 26. การใช้งานซอฟต์แวร์ Makecode โหมด Offline 3. เปิดหน้าต่างสาคัญเพื่อโหลดข้อมูลมาเก็บใน Cookies ของ Browser ที่เราใช้งาน รูปแบบที่ 1 4. Bookmark เอาไว้เพื่อเปิดใช้งานแบบ Offline ในครั้งต่อไปได้
  • 27. การใช้งานซอฟต์แวร์ Makecode โหมด Offline 5. ขณะไม่ได้เชื่อมต่ออินเตอร์เนท ถ้าต้องการใช้งานกลุ่มคาสั่งของหุ่นยนต์ iBIT สามารถเปิดไฟล์ตัวอย่างของ iBIT ขึ้นมา ชุดกลุ่มคาสั่งของ iBIT ก็จะตามมาด้วย รูปแบบที่ 1 5.1 กดเลือกที่เมนู Project 5.2 เลือก Import File... 5.3 เลือกไฟล์ตัวอย่างที่มีชุดคาสั่ง iBIT อยู่ แล้วกดปุ่ม Go ahead! 5.4 ชุดคาสั่งของ iBIT ก็จะมาพร้อมให้เราใช้งาน
  • 28. การใช้งานซอฟต์แวร์ Makecode โหมด Offline สาหรับผู้ใช้งาน Windows 10 ที่มี Microsoft Store ติดตั้งมาเรียบร้อยแล้ว สามารถติดตั้ง micro:bit ผ่าน Microsoft Store ได้เลย รูปแบบที่ 2 1. เปิด Microsoft Store 2. พิมพ์ค้นหา microbit 3. เลือก Install เพื่อติดตั้ง 4. ขณะไม่ได้เชื่อมต่ออินเตอร์เนท ให้ทาเช่นเดียวกับรูปแบบแรก คือเปิดไฟล์ตัวอย่างของ iBIT ขึ้นมา ชุดกลุ่มคาสั่งของ iBIT ก็จะตามมาด้วย
  • 29. การใช้งานซอฟต์แวร์ Makecode โหมด Offline ใช้ตัวติดตั้งแบบ Offline (มีให้ในแผ่น CDROM หรือดาวน์โหลดจาก https://inex.co.th/shop/index.php/software-download รูปแบบที่ 3 2. ในโฟลเดอร์ที่ติดตั้งเรียกไฟล์ makecode.exe ขึ้นมาใช้งาน1. แตกไฟล์โปรแกรม Makecode ไว้ที่ตาแหน่งโฟลเดอร์ที่ต้องการ 3. ขณะไม่ได้เชื่อมต่ออินเตอร์เนท ให้ทาเช่นเดียวกับรูปแบบที่ 1 คือเปิดไฟล์ตัวอย่างของ iBIT ขึ้นมา ชุดกลุ่มคาสั่งของ iBIT ก็จะตามมาด้วย
  • 30. Lab01 หลังจากสร้างหุ่นยนต์เรียบร้อยและเชื่อมต่อสายมอเตอร์แล้ว เพื่อตรวจสอบว่า การเชื่อมต่อสายมอเตอร์นั้น ทาให้มอเตอร์เคลื่อนที่ไปในทิศทางที่ถูกต้อง สามารถเขียนโปรแกรมเพื่อ ตรวจสอบได้ โดยเมื่อกดปุ่ม A ให้มอเตอร์ 1 ทางานและหยุดการทางานของมอเตอร์ 2 เมื่อกดปุ่ม B ให้มอเตอร์ 2 ทางานและหยุดการทางานของมอเตอร์ 1 โปรแกรมรอการตรวจสอบเหตุการณ์ 2 เหตุการณ์คือการกดสวิตช์ A และ B ที่อยู่บน บอร์ด micro:bit เมื่อกดสวิตช์ A ให้หยุดมอเตอร์ทั้งสองตัว และสั่งมอเตอร์ 1 เดินหน้าด้วยความเร็ว 50% เมื่อกดสวิตช์ B ให้หยุดมอเตอร์ทั้งสองตัว และสั่งมอเตอร์ 2 เดินหน้าด้วยความเร็ว 50% การทางานของโปรแกรม motor 1 motor 2 A B motor 1 motor 2 ตรวจสอบการทางานของมอเตอร์
  • 31. Lab02 เพื่อทดสอบการเคลื่อนที่ของหุ่นยนต์ ด้วยการเคลื่อนที่ไปด้านหน้า และ เคลื่อนที่ไปด้านหลัง ด้วยการกดสวิตช์ A และ B โดยให้ทางานเป็นเวลา 2 วินาที โปรแกรมรอการตรวจสอบเหตุการณ์ 2 เหตุการณ์คือการกดสวิตช์ A และ B ที่อยู่บน บอร์ด micro:bit เมื่อกดสวิตช์ A ให้มอเตอร์ทั้งสองตัวเคลื่อนที่ไปด้านหน้า หน่วงเวลา 2 วินาทีแล้วสั่งให้ มอเตอร์หยุด จากนั้นสร้างเสียงออกลาโพงเพื่อแจ้งการหยุด เมื่อกดสวิตช์ B ให้มอเตอร์ทั้งสองตัวเคลื่อนที่ไปด้านหลัง หน่วงเวลา 2 วินาทีแล้วสั่งให้ มอเตอร์หยุด จากนั้นสร้างเสียงออกลาโพงเพื่อแจ้งการหยุด การทางานของโปรแกรม การเคลื่อนที่ไปหน้า ถอยหลัง
  • 32. Lab03 ความเร็วของมอเตอร์มีค่าระหว่าง 0-100 การปรับค่าความเร็วของ มอเตอร์ 1 และ 2 ต่างกันทาให้หุ่นยนต์เคลื่อนที่ไปด้านที่มีความเร็วน้อย กว่า สร้างเป็นการเคลื่อนที่แบบวงกลมได้ โปรแกรมรอการตรวจสอบเหตุการณ์ 2 เหตุการณ์คือการกดสวิตช์ A และ B ที่อยู่บน บอร์ด micro:bit เมื่อกดสวิตช์ A ให้มอเตอร์ 1 มีความเร็ว 70% และมอเตอร์ 2 ความเร็ว 30% ทาให้ หุ่นยนต์หมุนตัวทางขวา พร้อมแสดงลูกศรชี้ทางขวา เมื่อกดสวิตช์ B ให้มอเตอร์ 1 มีความเร็ว 30% และมอเตอร์ 2 ความเร็ว 70% ทาให้ หุ่นยนต์หมุนตัวทางซ้าย พร้อมแสดงลูกศรชี้ทางซ้าย การทางานของโปรแกรม การเคลื่อนที่เป็นวงกลม v
  • 33. Lab04 เป็นโปรแกรมทดสอบการเลี้ยวของหุ่นยนต์ องศาของการเลี้ยวจะมาจากความเร็ว ของหุ่นยนต์ต่อระยะเวลา ดังนั้นเพื่อให้หุ่นยนต์เลี้ยวได้ 90 องศาพอดี ต้องกาหนด 2 ค่านี้ให้เหมาะสม โปรแกรมแบ่งเป็น 2 ส่วนคือ ส่วน on start จะเริ่มทางานเมื่อจ่ายไฟครั้งแรก ที่นี่จะรอ การกดสวิตช์ ถ้ายังไม่กดสวิตช์ให้วนแสดงลูกศรชี้ทางซ้ายไปเรื่อยๆ เมื่อกดสวิตช์เงื่อนไข เป็นเท็จหลุดจากลูป while ออกมาให้แสดงหน้ายิ้ม (Happy) สาหรับส่วน forever จะวนทาซ้าไม่มีที่สิ้นสุด โดยเดินตรงด้วยเวลา 1 วินาทีและเลี้ยว ด้วยเวลา 550 มิลลิวินาที ซึ่งค่าเวลาเลี้ยวนี้จะต้องปรับตั้งเพื่อให้หุ่นยนต์เลี้ยวได้ 90 องศา การทางานของโปรแกรม หุ่นยนต์เคลื่อนที่เป็นรูปสี่เหลี่ยม อ
  • 34. กดสวิตช์ = ลอจิก “0” ไม่กด = ลอจิก “1” แผงวงจรสวิตช์ : ZX-SWITCH01
  • 35. ต่อขา 1/AN1 ต่อขา 2/AN2 ต่อสายจากสวิตช์ไปยัง iBIT
  • 36. Lab05 เป็นการนาเอา ZX-Switch01 เป็นสวิตช์ที่กดแล้วให้ลอจิก "0" เมื่อใช้ 2 ตัวทาให้เกิด เหตุการณ์ไม่ซ้ากันได้ 4 เหตุการณ์ (22 ) จึงทาให้สามารถควบคุมให้หุ่นยนต์ไปหน้า,เลี้ยว ซ้าย,เลี้ยวขวาและหยุดเคลื่อนที่เมื่อไม่กด ควบคุมหุ่นยนต์ด้วยสวิตช์
  • 37. Lab05 โปรแกรมใช้ลูป forever ที่จะทางานไปเรื่อย ๆ โดยภายในจะตรวจสอบเงื่อนไข 4 เงื่อนไขในชุดเดียวกัน คือการกดสวิตช์ที่ขา P1 และ P2 โดยถ้าเป็นการกดทั้งคู่ (ใช้ ตัวเชื่อม AND ในการตรวจสอบ) จะให้หุ่นยนต์ไปหน้า ถ้า P1 กดจะให้หุ่นยนต์เลี้ยวขวา ถ้า P2 กดจะให้หุ่นยนต์เลี้ยวซ้าย ถ้าไม่กดทั้งคู่ จะให้หุ่นยนต์หยุดเคลื่อนที่ การทางานของโปรแกรม ควบคุมหุ่นยนต์ด้วยสวิตช์ Note2 : คำสั่ง and จะให้ผลลัพธ์เป็นจริงเมื่อเงื่อนไขทั้งสองเป็นจริง Note1 : สวิตช์ ZX-Switch01 เมื่อกดสวิตช์จะให้ค่ำเป็น "0" ไม่กดให้ค่ำเป็น "1"
  • 38. Lab06 ติดตั้งแผงวงจรสวิตช์ด้านหน้า นอต 3 มม. สกรู 3x10 มม. ชิ้นต่อตรง ยึดชิ้นต่อตรงเข้าที่ด้านหน้าของหุ่นยนต์ จากนั้นใช้สกรู 3x10 มม. ขันยึดให้แน่นด้วยนอต 3 มม.
  • 39. Lab06 ติดตั้งแผงวงจรสวิตช์ด้านหน้า สกรู 3x15 มม. ZX-Switch01 ชิ้นต่อมุมป้าน ชิ้นต่อมุมฉาก นอต 3 มม. นา ZX-Switch01 ยึดเข้ากับชิ้นต่อมุมฉากโดยใช้สกรู 3x15 มม. ขันยึดด้วยนอต 3 มม. นาชิ้นต่อมุมป้านเสียบ จากนั้นนาไปเสียบเข้ากับด้านหน้าของหุ่นยนต์ เสียบสายเซนเซอร์เข้าที่ช่อง 8 (ขวา) และ ช่อง 12 (ซ้าย)
  • 40. Lab07 หุ่นยนต์ตรวจจับการชนด้วยสวิตช์ การทางานของหุ่นยนต์แบบอัตโนมัติ จะต้องมี อินพุต นามาประมวลผล และสั่งผลลัพธ์ไปที่เอาต์พุต ตัวอย่างนี้เป็นการให้หุ่นยนต์ ทางานอัตโนมัติ โดยใช้สวิตช์ที่ติดตั้งด้านหน้าเป็นอินพุต เมื่อถูกชน จะเคลื่อนที่ถอยหลังและเลี้ยวเปลี่ยนเส้นทาง 1 2 3 1 2 3
  • 41. Lab07 หุ่นยนต์ตรวจจับการชนด้วยสวิตช์ ส่วน on start รอให้กด A เพื่อเริ่มต้นทางาน ส่วน forever สั่งให้หุ่นยนต์เคลื่อนที่ไปหน้า จากนั้นตรวจสอบ การชนของสวิตช์ ถ้าชนด้านซ้ายสั่งถอยหลัง 0.5 วินาทีแล้วเลี้ยว ขวา ด้วยระยะเวลาที่สุ่มค่าจากคาสั่ง random ในช่วง 0-3 วินาที สาหรับการชนด้านขวาก็ทางานแบบเดียวกันแต่เป็นการ เลี้ยวไปทางซ้าย การทางานของโปรแกรม
  • 42. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ LDR ตัวต้านทานแปรค่าตามแสง LDR (Light Dependent Resistor) เป็นอุปกรณ์สารกึ่งตัวนาที่มีคุณสมบัติคือ เมื่อได้รับแสง ความ ต้านทานไฟฟ้าจะลดลง ดังนั้น LDR จึงเหมาะการนามาใช้ตรวจจับแสง
  • 43. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ LDR ตัวต้านทานแปรค่าตามแสง แผงวงจรตรวจจับแสง ใช้ตัวต้านทานแปรค่าตามแสงต่อเข้ากับตัวต้านทาน R1 ในลักษณะวงจรแบ่งแรงดัน เมื่อค่าความต้านทานของ LDR มีค่ามาก เนื่องจากแสงตกกระทบน้อย ทาให้ขา DATA มีแรงดันน้อย เมื่อค่า ความต้านทาน LDR มีค่าน้อย เนื่องจากแสงตกกระทบน้อย ทาให้ขา DATA มีแรงดันมาก
  • 44. Lab08 ติดตั้งแผงวงจรตรวจจับแสง ZX-02F นอต 3 มม. สกรู 3x10 มม. ชิ้นต่อมุมฉาก นาชิ้นต่อมุมฉากยึดเข้าที่ด้านข้างของหุ่นยนต์ โดยใช้สกรู 3x10 มม. และขันให้แน่นด้วย นอต 3 มม. ทาเหมือนกันทั้งสองด้าน
  • 45. Lab08 ติดตั้งแผงวงจรตรวจจับแสง ZX-02F ชิ้นต่อมุมป้าน ชิ้นต่อตรง นอต 3 มม.สกรู 3x15 มม. ZX-02F นาแผงวงจร ZX-02F ยึดเข้ากับชิ้นต่อมุมป้านด้วยสกรู 3x15 มม. ขันยึดให้แน่น ด้วนอต 3 มม. นาชิ้นต่อตรงเสียบเข้าที่ปลายของชิ้นต่อมุมป้าน
  • 46. Lab08 ติดตั้งแผงวงจรตรวจจับแสง ZX-02F นาแผงวงจร ZX-02F เสียบเข้าที่ปลายของชิ้นต่อมุมฉาก โดยให้หันออกด้านหน้าดังรูป จากนั้นเสียบสายเข้าที่ช่อง ADC0 (ซ้าย) และ ADC1 (ขวา)
  • 47. Lab09 ทดสอบอ่านค่าแสง ค่าตัวเลขที่เกิดขึ้นจะเป็นค่า 0-4095 ซึ่งเมื่อนามาแสดงที่หน้าจอ ค่า ตัวเลขจะเป็นการเลื่อนเพื่อให้แสดงครบทั้ง 4 หลัก ทาให้อ่านค่ายาก รูปแบบที่ 1 อ่านค่าจากช่อง ADC0 แสดงเป็นตัวเลข การทดสอบให้เอามือบังแสง ที่ ZX-02F (LDR) ค่าตัวเลขที่อ่านได้จะต้องน้อยลง เมื่อได้รับ แสงค่าที่อ่านได้จะต้องมีค่ามาก
  • 48. Lab09 ทดสอบอ่านค่าแสง การทดสอบให้เอามือบังแสง ที่ ZX-02F (LDR) ค่าตัวเลขที่อ่านได้จะต้องน้อยลง เมื่อได้รับแสงค่าที่ อ่านได้จะต้องมีค่ามาก รูปแบบที่ 2 อ่านค่าแสดงเป็นตัวเลข 0-9 ต่างจากรูปแบบที่ 1 คือค่าตัวเลขที่เกิดขึ้นจะเป็นค่า 0-9 ซึ่งเมื่อนามาแสดง ที่หน้าจอ ค่าตัวเลขไม่มีมีการเลื่อน แต่ความละเอียดไม่มากนัก
  • 49. Lab09 ทดสอบอ่านค่าแสง (ต่อ) รูปแบบที่ 3 อ่านค่าจากช่อง ADC0 แสดงเป็นกราฟ ค่าตัวเลขที่เกิดขึ้นจะเป็นค่า 0-4095 ซึ่งเมื่อนาพล็อตออกหน้าจอ จานวนเม็ด LED จะหมายถึงค่าปริมาณที่อ่านได้จาก ADC0 (ค่าสูงสุด 4095 LED ทั้ง 25 ดวงจะติดสว่าง การทดสอบให้เอามือบังแสง ที่ ZX-02F (LDR) จานวน LED จะติดน้อย เมื่อได้รับแสงมาก จานวน LED จะติดมากขึ้น Note1 : นอกจาก สามารถแสดงที่หน้าจอ LED แล้ว ถ้าใช้งานใน โหมด Offline หรือโหมด Application ยังสามารถ เลือกที่เมนู Show data Device เพื่อเปิดการแสดงผลข้อมูลกราฟ และข้อมูล ตัวเลขได้อีกด้วย (โดยต้องต่อสำย USB ค้ำงไว้เพื่อส่งข้อมล)
  • 50. Lab09 ทดสอบอ่านค่าแสงผ่านคาสั่งสื่อสารอนุกรม สาหรับ App บน windows 10 และซอฟต์แวร์แบบ Offline เท่านั้น รูปแบบที่ 4 แสดงข้อมูล 2 ชุดพร้อมกันผ่าน คาสั่ง serial คาสั่ง serial ใช้รับส่งข้อมูลอนุกรมระหว่างอุปกรณ์ ในที่นี้คือ micro:bit ส่งข้อมูลให้กับคอมพิวเตอร์ โดย Makecode รับ ค่าแล้วนาไปแสดงที่หน้าจอพร้อมพล็อตกราฟ ออกมา โดยใช้ ข้อความเป็นตัวกาหนดเส้นกราฟ โดย L หมายถึง ZX-02F ติดตั้งด้านซ้าย ส่วน R หมายถึง ZX-02F ที่ติดตั้งด้านขวา จำกรูปพบว่ำ ค่ำสภำวะแสงปกติของเซนเซอร์ทั้งสองตัวอยู่ ในช่วง 2400-2900 เรำสำมำรถนำค่ำนี้ไปประยุกต์กับกำร เขียนโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์ต่อไป
  • 51. Lab10 ควบคุมหุ่นยนต์ด้วยไฟฉาย รอรับการกดคีย์เพื่อเริ่มต้นทางาน จากนั้นทาการ เก็บค่าแสงปกติ ขณะเริ่มต้นทางานไว้ที่ตัวแปรชื่อ L และ R โดยให้เพิ่มค่าขึ้น 300 เพื่อกาหนด ระยะห่างเพื่อใช้เปรียบเทียบ การทางานของโปรแกรม on start จะตรวจสอบค่าแสงทั้งสองฝั่ง ถ้าน้อยกว่าค่าที่ อ่านได้ตอนแรกให้เคลื่อนที่ตรง ถ้าค่าด้านซ้ายมาก ให้เลี้ยวซ้าย ถ้าค่าด้านขวามากให้เลี้ยวขวา การทางานของโปรแกรม forever
  • 52. Lab10 ควบคุมหุ่นยนต์ด้วยไฟฉาย 1. นาหุ่นยนต์ iBIT วางไว้ในที่ความสว่างน้อย 2. กดสวิตช์ A ให้หุ่นยนต์เริ่มทางาน และเก็บค่าแสง ปัจจุบันเอาไว้ 3. ใช้ไฟฉายหรือแหล่งกาเนิดแสงอื่นๆ ส่งไปยัง เซนเซอร์แสงด้านใดด้านหนึ่ง 4. หุ่นยนต์ iBIT จะเคลื่อนที่เข้าหาแสงทิศทางนั้นๆ การทดสอบ
  • 53. ความรู้เกี่ยวกับแผงวงจรตรวจจับแสงสะท้อนอินฟราเรด ZX-03 แผงวงจร ZX-03 จะมี LED อินฟราเรด ทาหน้าที่ส่งแสงออกไป ส่วนโฟโต้ ทรานซิสเตอร์จะรับแสงอินฟราเรดที่ สะท้อนกลับมา ค่ามากหรือน้อยขึ้นอยู่ กับพื้นผิวที่แสงตกกระทบ สีอ่อน สะท้อนแสงได้ดีกว่าสีเข้ม แผงวงจร ZX-03 เป็นตัวตรวจจับแบบอะนาลอก ต่อ วงจรให้ค่าแรงดันเปลี่ยนแปลงตามพื้นผิวที่ตกกระทบ ระยะห่างที่เหมาะสมอยู่ในช่วง 3 -10 มิลลิเมตรจาก พื้น
  • 54. Lab11 การติดตั้ง ZX-03 เข้ากับหุ่นยนต์ iBIT Circle ZX-03 แท่งต่อ 5 รู สกรู 3x15 มม. นอต 3 มม. iBIT Circle
  • 55. Lab11 การติดตั้ง ZX-03 เข้ากับหุ่นยนต์ iBIT Circle นา ZX-03 ยึดเข้ากับแท่งต่อ ตาแหน่งริมสุด โดยใช้สกรู 3x15 มม.ขันยึดด้วย นอต 3 มม. ทาเหมือนกัน 2 ชุด สกรู 3x10 มม. นอต 3 มม.
  • 56. Lab11 การติดตั้ง ZX-03 เข้ากับหุ่นยนต์ iBIT Circle นา ZX-03 ยึดเข้ากับโครงสร้างของหุ่นยนต์โดย ใช้สกรู 3x10 มม. และขันยึดด้วยนอต 3 มม. เสียบสายเข้าที่ช่อง ADC0 (ซ้าย) และ ADC1 (ขวา)
  • 57. Lab12 การทาสนามทดสอบหุ่นยนต์อย่างง่าย เทปพันสายไฟ ยี่ห้อ 3M รายการอุปกรณ์ พลาสติกลูกฟูกสีขาวขนาดประมาณ 80x120 CM จุดประสงค์คือสร้ำงเส้นตัดสีดำขึ้นที่พื้นสีขำวให้หุ่นยนต์สำมำรถ แยกแยะจำกกำรสะท้อนกลับของแผงวงจร ZX-03 ได้ นาเทปพันสายไฟแนะนายี่ห้อ 3M เนื่องจากมีความ ยืดหยุ่นสูงและเกิดคราบกาวน้อย ติดเส้นลงบน พลาสติกลูกฟูกลักษณะตามรูป
  • 58. ตรวจสอบอ่านค่าจากแผงวงจร ZX-03Lab13 นาหุ่นยนต์วางบนพื้นสีขาว นาหุ่นยนต์วางบนเส้นสีดา กดปุ่ม A (ซ้าย) ค่าที่อ่านได้เท่ากับ กดปุ่ม B (ขวา)ค่าที่อ่านได้เท่ากับ 3800 3850 ซ้าย ขวา ซ้าย ขวา กดปุ่ม A (ซ้าย) ค่าที่อ่านได้เท่ากับ กดปุ่ม B (ขวา)ค่าที่อ่านได้เท่ากับ 400 450 คาสั่งชุดแรกจะรอการกดปุ่ม A เพื่ออ่านค่าจากช่อง ADC0 ซึ่งต่อ กับ ZX-03 ด้านซ้ายมาแสดง คาสั่งชุดที่ 2 จะรอการกดปุ่ม B เพื่ออ่านค่าจากช่อง ADC1 ซึ่ง ต่อกับ ZX-03 ด้านขวามาแสดง การทางานของโปรแกรม การทดสอบ นาหุ่นยนต์ วางบนพื้นสีขาว จากนั้นกดปุ่ม A และ B เพื่ออ่านค่า มาเก็บไว้ ก่อนนาไปวางไว้บนเส้นสีดา อ่านค่ามาเก็บไว้ เช่นเดียวกันเพื่อ นาค่าทั้งสองมาหาค่ากลางในการเปรียบเทียบ ค่ากลาง = ค่าที่อ่านได้จากสีขาว + ค่าที่อ่านได้จากสีดา 2 = 3800 + 400 2 = 2100
  • 59. หุ่นยนต์เคลื่อนที่ไปหยุดที่เส้นสีดาLab14 การทางานของโปรแกรม โปรแกรมเลือกใช้เหตุการณ์รอรับการกดคีย์ A เพียงอย่างเดียว โดยเมื่อกดคีย์ จะเริ่มตรวจสอบลูป while ว่าค่าที่อ่านได้จากช่อง ADC0 (ZX-03 ด้านซ้าย) ยังมีค่ามากกว่าค่ากลางหรือไม่ ถ้าใช่ ให้ วนลูปสั่งให้หุ่นยนต์เคลื่อนที่ไปด้านหน้าต่อไป เมื่อเงื่อนไขของ while เป็นเท็จเนื่องจากค่าที่อ่านได้จาก ADC0 มีค่าน้อยกว่าค่า กลาง จะสั่งให้หุ่นยนต์หยุดทางาน และส่งเสียงออกลาโพง การทดสอบ นาหุ่นยนต์ วางบนพื้นสีขาว จากนั้นกดปุ่ม A หุ่นยนต์จะเคลื่อนที่ไปด้านหน้า เรื่อย ๆ จนกระทั่ง ZX-03 ด้านซ้ายเจอเส้นสีดา หุ่นยนต์จะหยุดการเคลื่อนที่ ทันที
  • 60. แนวคิดหุ่นยนต์เคลื่อนที่ตามเส้น (แบบไม่มีทางแยก) อ อ อ กรณีที่แผงวงจร ZX-03 ทั้งสองคร่อมอยู่บน เส้น จะต้องสั่งให้หุ่นยนต์เคลื่อนที่ไป ด้านหน้า กรณีที่แผงวงจร ZX-03 ด้านซ้ายเจอเส้นสี ดา แสดงว่าเริ่มเอียงตัวออกนอกเส้นทางไป ทางด้านขวา จะต้องสั่งให้หุ่นยนต์หมุนตัว ทางซ้ายเพื่อกลับมาคร่อมเส้น กรณีที่แผงวงจร ZX-03 ด้านขวาเจอเส้นสีดา แสดงว่าเริ่มเอียงตัวมาทางด้านซ้าย จะต้อง สั่งให้หุ่นยนต์หมุนตัวทางขวาเพื่อกลับมา คร่อมเส้น
  • 61. โปรแกรมจะเริ่มจากการสร้างตัวแปรเพื่อเก็บค่ากลาง ชื่อ RefL (ด้านซ้าย) และ RefR (ด้านขวา) ซึ่งมาจากการคานวณก่อนหน้านี้ หุ่นยนต์เคลื่อนที่ตามเส้นอย่างง่าย (ไม่มีเส้นตัด)Lab15 การทางานของโปรแกรม สาหรับการทางานในลูป จะอ่านค่าเซนเซอร์มาเก็บไว้ในตัวแปร L และ R ก่อนนาค่ามาเปรียบเทียบ ถ้าตรงกับเงื่อนไข ก็ให้ทาคาสั่ง ตามเงื่อนไขนั้น ๆ
  • 62. แนวคิดหุ่นยนต์เคลื่อนที่ตามเส้น (เมื่อมีเส้นตัดทางแยก) จากรูปจะพบว่ากรณีเกิดขึ้นเมื่อ เซนเซอร์ทั้งทางด้านซ้ายและด้านขวาตรวจพบเส้นสีดา ดังนั้นจะต้อง เพิ่มเงื่อนไขเข้าไป ซึ่งเป็นได้ทั้ง เมื่อเจอทำงแยก ให้เคลื่อนที่ตรงไป ข้ำมทำงแยก เมื่อเจอทำงแยก ให้เคลื่อนที่ตรงไปเล็กน้อยแล้วเลี้ยวซ้ำย เพื่อไปคร่อมเส้นด้ำนซ้ำย เมื่อเจอทำงแยก ให้เคลื่อนที่ตรงไปเล็กน้อยแล้วเลี้ยวขวำ เพื่อไปคร่อมเส้นด้ำนขวำ เมื่อเจอทำงแยก ให้ถอยหลังและหมุนตัวกลับเพื่อเคลื่อนที่ในเส้นทำงเดิม
  • 63. หุ่นยนต์เคลื่อนที่ตามเส้นส่งเสียงเมื่อเจอเส้นตัดLab16 การทางานของโปรแกรม เพิ่มเติมจาก Lab ก่อนหน้าคือชุด else if ชุดสุดท้าย เมื่อตรวจ พบว่าค่าน้อยกว่าค่ากลางทั้งสองด้าน ให้หุ่นยนต์ เดินตรงและส่ง เสียงออกมา ระยะเวลาของเสียง 1/2 beat (250 มิลลิวินาที) ที่ค่า Tempo 120 bpm Note1 : ส่วน on start ทำงำนเหมือนกับ Lab ก่อนหน้ำนี้
  • 64. หุ่นยนต์เคลื่อนที่ตามเส้น เจอเส้นตัดเลี้ยวขวาLab17 การทางานของโปรแกรม เพิ่มเติมจาก Lab ก่อนหน้า เมื่อหุ่นยนต์เจอเส้นตัด หุ่นยนต์จะต้อง เคลื่อนที่ตรงไปเล็กน้อย ก่อนจะเลี้ยว เนื่องจากจุดหมุนของ หุ่นยนต์อยู่กลางลาตัว จากนั้นสั่งเลี้ยวขวาเพื่อให้คร่อมเส้นพอดี Note1 : ส่วน on start ทำงำนเหมือนกับ Lab ก่อนหน้ำนี้ เพิ่มเติม : ให้ทดสอบปรับแก้คำสั่งเลี้ยวขวำเป็นเลี้ยวซ้ำย และดู ผลว่ำเมื่อ เจอเส้นตัดแล้วสำมำรถเปลี่ยนทิศทำงกำรเลี้ยวได้หรือไม่
  • 65. ยุบชุดคาสั่ง กลายเป็นฟังก์ชั่นLab18 ฟังก์ชั่น RRR ทาหน้าที่เหมือน Lab ก่อนหน้านี้ โดยเพิ่มการตรวจสอบตัวแปร Status ซึ่งจะทาให้หลุดจากลูปเมื่อเดินเจอเส้นตัดและเลี้ยวเรียบร้อยแล้ว ฟังก์ชั่นที่ สร้างขึ้นสามารถเรียกใช้งานผ่าน Call function RRR ได้ ดังแสดงในตัวอย่างขวามือ
  • 66. ฟังก์ชั่น LLL เจอแยกเลี้ยวซ้าย ฟังก์ชั่น LLL ทางานคล้ายกับ RRR แต่เปลี่ยนการเลี้ยวเป็นเลี้ยวซ้าย และสามารถ เรียกผ่านชื่อ LLL ได้ทันที
  • 67. ฟังก์ชั่น FFF เจอแยกตรงไป ฟังก์ชั่น FFF เป็นอีกหนึ่งฟังก์ชั่นที่ทดสอบการใช้งานก่อนหน้านี้และยุบรวมเป็น ฟังก์ชั่น สามารถเรียกผ่านชื่อ FFF ได้ทันที
  • 68. เป็นการเรียนใช้งานฟังก์ชั่น LLL และ RRR ตามการเลี้ยวจากเส้นตัวอย่าง โดยตั้งใจให้ เป็นลักษณะเลข 8 ซึ่งมีการเลี้ยวซ้าย 4 ครั้งและเลี้ยวขวา 4 ครั้ง ทั้งหมดอยู่ภายในลูป ของ while ซึ่งเงื่อนไขเป็น True หมายถึงเป็นจริงตลอดเวลา วนทางานซ้าไปเรื่อยๆ เคลื่อนที่ตามเส้นตัดเป็นเลข 8Lab19 Note1 : ต้องมีฟังก์ชั่น RRR และ LLL อยู่ในโปรแกรมด้วย การทางานของโปรแกรม
  • 69. ควบคุมการเคลื่อนที่ของหุ่นยนต์จาก micro:bit อีกตัวผ่านฟังก์ชั่น radioLab20 ชุดคาสั่งสาคัญที่ต้องใช้งาน เมื่อมีข้อมูลถูกส่งมาเหตุการณ์นี้จะถูกเรียกใช้ โดยค่าข้อมูลที่ รับได้จะเก็บในตัวแปรชื่อ receivedNumber ใช้เพื่อเป็นการส่งข้อมูล แบบตัวเลขไปยังปลายทาง กาหนดช่องสัญญาณในการสื่อสาร ช่อง 0 -255 ช่องเดียวกันรับส่งข้อมูลกันได้
  • 70. ควบคุมการเคลื่อนที่ของหุ่นยนต์จาก micro:bit อีกตัวผ่านฟังก์ชั่น radioLab20 โปรแกรมทดสอบฝั่งภาคส่ง ภาคสั่งแบ่งงานออกเป็น 4 เหตุการณ์จากการกระตุ้น เพื่อส่ง ค่าตัวเลขออกไปให้ภาครับได้รับข้อมูลและนาไปสั่งการ หุ่นยนต์ โดยกาหนดช่องสัญญาณไว้ที่หมายเลข 7 เหตุการณ์ logo up คือหันด้านโลโก้ขึ้นด้านบน ทาให้มีการ ส่งเลข 1 ไปให้ภาครับ เหตุการณ์ logo down คือหันด้านโลโก้ลงด้านล่างทาให้มี การส่งเลข 2 ไปให้ภาครับ เหตุการณ์ tilt left คือการเอียงบอร์ดไปทางซ้าย ทาให้มี การส่งเลข 3 ไปยังภาครับ เหตุการณ์ tilt right คือการเอียงบอร์ดไปทางขวา ทาให้มี การส่งเลข 4 ไปยังภาครับ เหตุการณ์ shake คือการเขย่า ทาให้มีการส่งเลข 5 ไปยัง ภาครับ การทางานของโปรแกรม
  • 71. ควบคุมการเคลื่อนที่ของหุ่นยนต์จาก micro:bit อีกตัวผ่านฟังก์ชั่น radioLab20 โปรแกรมทดสอบฝั่งภาครับ ภาครับ จะมีเหตุการณ์ on radio received ซึ่งเกิดเมื่อมีข้อมูลถูกส่งมา ค่า ข้อมูลถูกเก็บในตัวแปร receivedNuber สามารถนามาตรวจสอบว่าตรงกับค่า ตัวเลขตัวใด เมื่อตรงกับเลข 1 ก็สั่งให้หุ่นยนต์เคลื่อนที่ไปหน้า เมื่อตรงกับเลข 2 ก็สั่งให้หุ่นยนต์เคลื่อนที่ถอยหลัง เมื่อตรงกับเลข 3 ก็สั่งให้หุ่นยนต์เลี้ยวซ้าย เมื่อตรงกับเลข 4 ก็สั่งให้หุ่นยนต์เลี้ยวขวา เมื่อตรงกับเลข 5 ก็สั่งให้หุ่นยนต์หยุดเคลื่อนที่ การทางานของโปรแกรม โหลดโปรแกรมเข้าไปที่ ภาครับสาหรับตัวหุ่นยนต์ และภาคสั่ง เป็น micro:bit เปล่าทาหน้าที่เป็นรีโมตคอนโทรล โดยภาคส่งสามารถใช้ไฟเลี้ยงจาก USB ได้ ส่วนภาครับ ก็ใช้ไฟจากถ่าน AAA 4 ก้อนที่ใช้กับการขับเคลื่อนหุ่นยนต์ได้ การทางานของโปรแกรม
  • 72. • 2 เซล 7.4V • กระแส 1100mA • จ่ายกระแส 30 เท่า • ชาร์จ 5 เท่า แดง บวก ดา ลบ แดง บวก ดา ลบ แบตเตอรี่ Li-Po
  • 73. 1 เซล 3.7V อนุกรมกัน 2 เซล = 7.4V จ่ายไฟ 1100 mA ต่อเนื่องได้ประมาณ 1 ชั่วโมง จ่ายกระแสชั่วขณะได้ 1100 x 30 = 33000mA O_o! ชาร์จได้ 5 เท่า 1100x5 = 5500mA ใช้เวลาประมาณ 20 นาที รายละเอียดแบตเตอรี่ ลิเธียม-โพลิเมอร์
  • 76. กฤษดา ใจเย็น บริษัท อินโนเวตีฟ เอ็กเพอริเมนต์ จากัด 108 ซอยสุขุมวิท 101/2 ถ.สุขุมวิท แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท์ 027477001-4 โทรสาร 02-7477005 www.inex.co.th facebook.com/innovativeexperiment