SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้จากอดีตตั้งแต่ก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 20 จนถึงปัจจุบัน
ผู้นาเสนอจะนาเสนอทฤษฎีร่วมสมัยที่มีความสาคัญและได้รับความนิยมอย่างกว้างขวางมา
นาเสนอจานวน 6 ทฤษฎี โดยจะนาเสนอสาระของแต่ละทฤษฎีแยกเป็น 2 ส่วนคือ ส่วนที่
เป็นแนวคิดสาคัญของทฤษฎี และส่วนที่เป็นการประยุกต์ใช้ทฤษฎีเหล่านั้นในการจัดการ
เรียนรู้ ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยที่นาเสนอในบทนี้มีดังนี้
1. ทฤษฎีประมวลสารสนเทศ (Information Processing Theory)
2. ทฤษฎีพหุปัญญา (Theory of Multiple Intelligences)
3. ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism)
4. ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยการสร้างสรรค์ชิ้นงาน (Constructionism)
5. ทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Theory of Cooperative or
Collaborative Learning)
6. ทฤษฎีการเรียนรู้ด้วยสมอง (Brain-Based Learning Theory)
ทฤษฎีประมวลสารสนเทศ
เป็นทฤษฎีที่จัดอยู่ในกลุ่มพุทธินิยม (Cognitivism) ซึ่งเป็นกลุ่มที่ให้ความสนใจกับ
กระบวนการคิด และการให้เหตุผลของผู้เรียน เป็นทฤษฎีที่เกิดขึ้นประมาณช่วงกลางของปี ค.ศ.
1950 ทฤษฎีนี้เกิดขึ้นเนื่องจากนักจิตวิทยารู้สึกไม่พอใจกับแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่ม
พฤติกรรมนิยมที่ไม่ได้พูดถึงกระบวนการคิดของคน ทฤษฎีประมวลสารสนเทศ จึงเป็นทฤษฎีที่
สนใจศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการพัฒนาสติปัญญา โดยให้ความสนใจเกี่ยวกับการทางานของ
สมองของมนุษย์
นอกจากนี้การประมวลผลการทางานของคอมพิวเตอร์ได้ให้ข้อคิดกับ
นักจิตวิทยาในการมองมนุษย์ว่า มนุษย์เป็นสัญลักษณ์ของระบบควบคุม
ระบบนี้คือ การสะสมความจา ซึ่งจะผ่านขั้นตอนการทางานเช่นเดียวกับการ
ทางานของคอมพิวเตอร์ มีทั้งการใส่รหัสข้อมูลการสะสมข้อมูล และการเรียก
ข้อมูลออกมาใช้
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ คลอสเมียร์
กระบวนการประมวลข้อมูล เริ่มต้นจากการที่มนุษย์รับสิ่งเร้าเข้ามาทาง
ประสาทสัมผัสทั้ง 5 (การมองเห็น การได้ยิน การได้กลิ่น การลิ้มรส การรับ
สัมผัส) สิ่งเร้าที่เข้ามาจะได้รับการบันทึกไว้ในความจาระยะสั้น ซึ่งการบันทึก
นี้จะขึ้นอยู่กับองค์ประกอบ 2 ประการ คือการรู้จัก (recognition)
และความใส่ใจ (attention) ของบุคคลขณะที่รับสิ่งเร้า เมื่อบุคคล
เลือกรับสิ่งเร้าที่ตนรู้จักหรือสนใจ สิ่งเร้านั้นจะได้รับการบันทึกลงใน
ความจาระยะสั้น (short-term memory (STM)
สามารถทาได้โดยข้อมูลนั้นจาเป็นต้องได้รับการประมวลและเปลี่ยนรูปโดยการ
เข้ารหัส (encoding) เพื่อนาไปเก็บไว้ในความจาระยะยาว (long
term memory (LTM) เช่น การท่องซ้าหลายๆครั้ง การทา
ข้อมูลให้มีความหมายกับตนเอง โดยการสัมพันธ์สิ่งที่เรียนรู้ใหม่กับสิ่งเก่าที่เคย
เรียนรู้มาก่อนซึ่งเรียกว่าเป็นกระบวนการขยายความคิด (elaborative
operations process)
ความจาระยะยาวนี้มี 2 ชนิด คือ ความจาที่เกี่ยวกับภาษา
(semantic) และ ความจาที่เกี่ยวกับเหตุการณ์
(episodic)
ความจาระยะ
ยาว*นาออกมาใช้ได้ทุกเมื่อ
ความจาระสั้น
แนวคิดสาคัญของทฤษฎีประมวล
สารสนเทศ ประกอบด้วย
1. ความจา ประกอบด้วย ความจา 3 รูปแบบ อันได้แก่
1) การบันทึกสัมผัส (Sensory Memory หรือ SM)
2) ความจาระยะสั้น (Short-Term Memory หรือ
STM)
3) ความจาระยะยาว (Long Term Memory หรือ
LTM)
2. กระบวนการควบคุม จะเป็นตัวกาหนดสารสนเทศจากความจาหนึ่งไปสู่
ความจาหนึ่ง ซึ่งประกอบด้วยการระลึกได้ (recognition) ความใส่ใจ
(attention) การพูดปากเปล่า หรือการท่องจา (rehearsal)
การท่องจาด้วยความเข้าใจ (elaborative rehearsal)
ส่วนการบริหารควบคุมการประมวลข้อมูลของสมอง คือการที่บุคคลรู้
ถึงการคิดของตนและสามารถควบคุมการคิดของตนให้เป็นไปในทิศทางที่
ตนต้องการ การรู้ในลักษณะนี้ใช้ศัพท์ทางวิชาการว่า “อภิปัญญา” หรือ
“metacognition” หรือ “การรู้คิด” ซึ่งหมายถึงการตระหนักรู้
(awareness)
สิ่งต่าง ๆที่บุคคลใช้ในการบริหารควบคุมตนเอง สามารถสรุปแนวคิด
ดังกล่าว ในรูปแผนภาพได้ ดังนี้
ภาพที่ 4.1 อภิปัญญาในกรอบทฤษฎีประมวลสารสนเทศ
กระบวนการรู้คิด เริ่มตั้งแต่ความใส่ใจ (attention) ในการรับรู้การรู้คิด
ประการต่อไปคือ การรับรู้ (perception) ตัวอย่างเช่น ผู้เรียนที่
ตระหนักรู ้ว่าการรับรู ้ของตนอาจจะผิดพลาดได้จะยัง
ไม่ตัดสินใจจนกว่าจะได้ข้อมูลที่พอเพียง แสดงให้เห็นว่า
การรู้คิดสามารถควบคุมการกระทาได้ การรู้คิดอีกประการหนึ่งได้แก่กลวิธีต่าง ๆ
(strategies) ที่จะมาช่วยให้ผู้เรียนจดจาสิ่งที่เรียนได้ดี เช่น การท่องการ
ดังนั้น การรู้ในเชิงอภิปัญญาหรือการรู้คิด (metacognitive
knowledge) จึงมักประกอบไปด้วยความรู้เกี่ยวกับบุคคล
(person) งาน (task) และกลวิธี (strategy) ประกอบด้วย
ความรู้ย่อย ๆ ที่สาคัญดังนี้
1. ความรู้เกี่ยวกับบุคคล (person) ความแตกต่างระหว่าง
differences)
2. ความรู้เกี่ยวกับงาน (task)
3. ความรู้เกี่ยวกับกลวิธี (strategy)
ความรู้เกี่ยวกับความรู้คิดของตนเอง หรืออภิปัญญา รวมถึงสิ่ง
สาคัญอื่นๆที่มีผลต่อความคิดนั้น จอห์น ลลาเวลล์ (John
Flavel) ได้ให้ความหมายของ
metacognition และ Cognition ลลาเวลล์ 7 ได้
อธิบายไว้ว่า
Cognition หมายถึง การรู้คิดหรือปัญญาที่เกิดจากการเรียนรู้ด้วย
ความเข้าใจ Metacognition หมายถึง ความรู้ส่วนตัวของแต่ละ
บุคคลต่อสิ่งที่ได้เรียน หรือผู้เรียนคิดอย่างไรต่อสิ่งที่ได้เรียนรู้ไป
แนวคิด ทฤษฎีประมวลสารสนเทศ เป็นประโยชน์ต่อการจัดการเรียนการสอน
หลายประเภท ดังนี้
1. การรู้จัก (recognition)
2. ความใส่ใจ (attention)
3. วิธีการเข้ารหัส เช่น การท่องจาซ้า ๆ การทบทวนหรือการใช้กระบวนการ
ขยายความคิด (elaborative operations process)
ซึ่งได้แก่ การเรียบเรียง ผสมผสาน ขยายความ การสอนให้จาคาที่ยากๆเช่นคา
ว่า“ Arithmetic” โดยใช้ตัวหนังสือตัวแรกของประโยค A Rat
in the House May Eat the Ice Cream การสอน
ให้จาอักษรกลางในไวยากรณ์ภาษาไทย (กจฎฏดตบปอ) ด้วยการผูกคา “ไก่
จิกเด็กตายเด็กตายบนปากโอ่ง” เป็นต้น
4. ข้อมูลที่ถูกนาไปเก็บไว้ในหน่วยความจาระยะยาวแล้วสามารถเรียก
ออกมาใช้งาน เช่น ร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับการตั้งคาถามด้วยตนเอง ให้
นักเรียนได้ดูตัวอย่างคาถามที่ระดับความเข้าใจหลายๆตัวอย่าง
การประยุกต์ใช้ทฤษฎีในการจัดการเรียนร
ผู้บุกเบิกแนวคิดทฤษฎีพหุปัญญา คือ การ์ดเนอร์ (Gardner) จากมน
(Harvard University) ในปี ค.ศ. 1983
ทฤษฎีพหุปัญญา
การ์ดเนอร์ ได้นิยาม “เชาวน์ปัญญา” ไว้ว่า หมายถึง ความสามารถในการ
แก้ปัญหาในสภาพแวดล้อมต่างๆ หรือการสร้างสรรค์ผลงานต่างๆ ซึ่งจะมี
ความสัมพันธ์กับบริบททางวัฒนธรรมในแต่ละแห่ง รวมความสามารถในการ
ตั้งปัญหาเพื่อจะหาคาตอบและเพิ่มพูนความรู้
การ์ดเนอร์ มีความเชื่อว่า เชาวน์ปัญญาของบุคคลมิได้มีเพียงความสามารถ
ทางภาษาและทางคณิตศาสตร์เท่านั้น แต่มีอยู่อย่างหลากหลายถึง 8 ประเภท
ด้วยกันและอาจจะมีมากกว่า คนแต่ละคนจะมีความสามารถเฉพาะด้านที่
แตกต่างไปจากคนอื่น และมีความสามารถในด้านต่าง ๆไม่เท่ากัน มีเอกลักษณ์
เฉพาะตน
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู ้
เชาวน์ปัญญา 8 ด้านตามแนวคิดของการ์ดเนอร์ มีดังนี้
1. เชาวน์ปัญญาด้านภาษา (Linguistic intelligence) เชาวน์
ปัญญาด้านนี้ถูกควบคุมสมองส่วนที่เรียกว่า “broca 's area”
สติปัญญาด้านนี้แสดงออกทางความสามารถใน การอ่าน การเขียน การพูดอภิปราย
การสื่อสารกับผู้อื่น การแสดงออกของความคิด การประพันธ์ การแต่งเรื่อง การเล่าเรื่อง
เป็นต้น
เชาวน์ปัญญาด้านนี้เป็นศักยภาพของ นักพูด นักเล่านิทาน กวี นักการเมือง บรรณาธิการ
นักเขียน ทนายความ นักโต้วาที เป็นต้น
เชาวน์ปัญญา 8 ด้านตามแนวคิดของการ์ดเนอร์ มีดังนี้
2. เชาวน์ปัญญาด้านคณิตศาสตร์หรือการใช้เหตุผลเชิงตรรกะ (logical-
mathermatical intelligence)
เชาวน์ปัญญาด้านนี้เป็นความสามารถระดับสูงของบุคคลใน การเข้าใจหลักการของเหตุและ
ผลรวมทั้งการใช้ตัวเลขปริมาณและการปฏิบัติการทางคณิตศาสตร์ รวมถึงความไวในการเห็น
ความสัมพันธ์แบบแผนตรรกวิทยา การคิดเชิงนามธรรม และการคิดที่เป็นเหตุเป็นผล (cause
effect) และคิดคาดการณ์ (if-then)
เชาวน์ปัญญาด้านนี้เป็นศักยภาพของ นักคณิตศาสตร์ นักวิทยาศาสตร์ นักจัดทาโปรแกรม
เชาวน์ปัญญา 8 ด้านตามแนวคิดของการ์ดเนอร์ มีดังนี้
3. เชาวน์ปัญญาด้านมิติสัมพันธ์ (spatial intelligence) เชาวน์ปัญญาด้าน
นี้ถูกควบคุมโดย สมองซีกขวา
เชาวน์ปัญญาด้านนี้ความสามารถระดับสูงในการสร้างภาพ 3 มิติของโลกภายนอกขึ้นใน
จิตใจของตนเอง ไวต่อสีเส้นรูปร่าง เนื้อที่
เชาวน์ปัญญาด้านนี้เป็นศักยภาพของ ผู้นาทาง นักเดินเรือ นักบิน นายพราน นักเล่นหมากรุก
ซ่างแกะสลัก สถาปนิก ศิลปิน มัณฑนากร และนักประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์
เชาวน์ปัญญา 8 ด้านตามแนวคิดของการ์ดเนอร์ มีดังนี้
4. เชาวน์ปัญญาด้านดนตรี (musical intelligence) เชาวน์ปัญญาด้วย
สมองซีกขวาแต่ยังไม่สามารถระบุตาแหน่งที่แน่นอนได้
เชาวน์ปัญญาด้านนี้ด้านจังหวะการร้องเพลง การลังเพลงและดนตรี การแต่งเพลง การเต้น
และมีความไวต่อการรับรู้เสียง และจังหวะต่าง ๆ
เชาวน์ปัญญาด้านนี้เป็นศักยภาพของ นักดนตรี นักแต่งเพลง นักวิจารณ์ดนตรีและเพลง
เชาวน์ปัญญา 8 ด้านตามแนวคิดของการ์ดเนอร์ มีดังนี้
5. เชาวน์ปัญญาด้านการเคลื่อนไหวร่างกายและกล้ามเนื้อ (bodily-kinesthetic
intelligence) เชาวน์ปัญญาด้านนี้ถูกควบคุมโดยสมองส่วนที่ เรียกว่า คอร์เท็กซ์ โดย
ด้านซ้ายควบคุมการเคลื่อนไหวของร่างกายซีกขวาและด้านขวาควบคุมการเคลื่อนไหวของร่าย
กายซีกซ้าย
เชาวน์ปัญญาด้านนี้ความสามารถระดับสูงในการใช้ร่างกายทั้งหมดหรือบางส่วนของตน แสดง
ความคิดความรู้สึกทักษะทางกาย เช่น ความคล่องแคล่ว ความแข็งแรง ความรวดเร็ว ความ
ยืดหยุ่น ความประณีต และความไวทางประสาทสัมผัส
เชาวน์ปัญญาด้านนี้เป็นศักยภาพของ นักกีฬา นักแสดงท่าใบ้ นาฏกร นักล้อนรา ช่างปั้น ช่างแก้
รถยนต์และศัลยแพทย์
เชาวน์ปัญญา 8 ด้านตามแนวคิดของการ์ดเนอร์ มีดังนี้
6. เชาวน์ปัญญาด้านมนุษยสัมพันธ์ (interpersonal intelligence)
เชาวน์ปัญญาด้านนี้ถูกควบคุมโดยสมองส่วนหน้า
เชาวน์ปัญญาด้านนี้การปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น การทางานกับผู้อื่น การเข้าใจและเคารพผู้อื่น การ
แก้ปัญหาความขัดแย้ง และการจัดระเบียบ
เชาวน์ปัญญาด้านนี้เป็นศักยภาพของ นักประชาสัมพันธ์ โฆษก พิธีกร นักสื่อสารมวลชน
ผู้สอนแพทย์พยาบาล นักการตลาด
เชาวน์ปัญญา 8 ด้านตามแนวคิดของการ์ดเนอร์ มีดังนี้
7. เชาวน์ปัญญาด้านการเข้าใจตนเอง (intrapersonal
intelligence)
เชาวน์ปัญญาด้านนี้รู้จักตนเอง เข้าใจในอารมณ์ความรู้สึกนึกคิดของ
ความเป็นจริงเกี่ยวกับจุดอ่อนจุดแข็งในเรื่องใด ๆ มีความรู้เท่าทัน
อารมณ์ความคิดของตน สามารถฝึกฝนตนเองได้
เชาวน์ปัญญาด้านนี้เป็นศักยภาพของ ผู้นาทางศาสนา นักจิตวิทยา
เชาวน์ปัญญา 8 ด้านตามแนวคิดของการ์ดเนอร์ มีดังนี้
8. เชาวน์ปัญญาด้านความเข้าใจสภาพธรรมชาติ (naturalist
intelligence)
เชาวน์ปัญญาด้านนี้รู้จักธรรมชาติของพืชและสัตว์ สามารถแยกแยะจัดจาแนก
และสัตว์ มีความไวในการเข้าใจลักษณะอื่นๆ ของธรรมชาติ รักธรรมชาติ
เชาวน์ปัญญาด้านนี้เป็นศักยภาพของ นักพฤกษศาสตร์ นักสิ่งแวดล้อมทางสังคม
เชื่อว่า ในการกระทาอย่างใดอย่างหนึ่ง แม้จะดูเหมือนว่าใช้เชาวน์ปัญญาด้านหนึ่งด้าน
ใดอย่างชัดเจน แต่แท้จริงแล้ว ต้องอาศัยเชาวน์ปัญญาหลายๆด้านผสมผสานกัน เช่น นัก
ดนตรีที่ประสบความสาเร็จแม้จะดูเหมือนว่าต้องอาศัยเชาวน์ปัญญาด้านดนตรี แต่จริง ๆแล้ว
การประสบผลสาเร็จยังอาจต้องอาศัยเชาวน์ปัญญาด้านการสัมพันธ์กับผู้อื่น ด้านภาษา และ
ด้านการเข้าใจตนเองด้วย เป็นต้น
การ ์ดเนอร ์
1. การจัดการเรียนการสอนควรมีกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลายที่สามารถส่งเสริมเชาวน์
ปัญญาหลาย ๆด้าน จะช่วยให้ผู้เรียนทุกคนมีโอกาสที่จะพัฒนาตนเองอย่างรอบด้านพร้อมทั้ง
ช่วยส่งเสริมความสามารถเฉพาะตนของผู้เรียนไปในตัว
2. การสอนควรเน้นการส่งเสริมความเป็นเอกลักษณ์ของผู้เรียน ผู้สอนควรสอนโดยเน้นให้
ผู้เรียนค้นหาเอกลักษณ์ของตนเอง ส่งเสริมให้ผู้เรียนภูมิใจในตนเอง
การประยุกต์ใช้ทฤษฎีในการจัดการเรียนรู ้
ตัวอย่างขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู ้ ดังนี้
2.1 กลวิธีการสอนที่สัมพันธ์กับปัญญาด้านภาษา เช่น การเล่านิทาน การระดมสมอง
การอัดเสียงเทป การเขียนบันทึกประจาวัน การตีพิมพ์หนังสือ
2.2 กลวิธีการสอนที่สัมพันธ์กับปัญญาด้านเหตุผล-คณิตศาสตร์ เช่น การจัด
หมวดหมู่และแยกประเภท การสอนให้คิดวิเคราะห์วิจารณ์
2.3 กลวิธีการสอนที่สัมพันธ์กับปัญญาด้านมิติ เช่น การให้เห็นภาพ การใช้สีระบายสี
ระบายเรื่องที่ชอบ การใช้แผนภาพแทนข้อมูลต่าง ๆ
2.4 กลวิธีการสอนที่สัมพันธ์กับปัญญาด้านการเคลื่อนไหวร่างกาย เช่น ใช้ภาษาร่างกาย
พูดโต้ตอบโดยการให้ผู้เรียนสื่อสารด้วยภาษาท่าทาง
2.5 กลวิธีการสอนที่สัมพันธ์กับปัญญาด้านดนตรี เช่น ใช้ดนตรีช่วยความจา การใช้ดนตรี
ตามอารมณ์
2.6 กลวิธีการสอนที่สัมพันธ์กับปัญญาด้านมนุษยสัมพันธ์ เช่น การสอนด้วยกิจกรรมการ
เรียนรู้แบบร่วมมือ สถานการณ์จาลอง
2.7 กลวิธีการสอนที่สัมพันธ์กับปัญญาด้านเข้าใจตนเอง เช่น การให้ผู้เรียนคิดตรึกตรองเป็น
เวลา 1 นาที เกี่ยวกับเรื่องที่เรียน
2.8 กลวิธีการสอนที่สัมพันธ์กับปัญญาด้านธรรมชาติ เช่น การปลูกต้นไม้ เยี่ยมชมแหล่ง
การเรียนรู้ ศึกษาธรรมชาติจากการเข้าร่วมกิจกรรมอนุรักษ์ธรรมชาติ
ตัวอย่างขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู ้ ดังนี้
3. ระบบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ควรมีการประเมินหลาย ๆ ด้าน และในแต่ละด้านควร
ประเมินในสภาพการณ์ของปัญหาที่สามารถแก้ปัญหาด้วยอุปกรณ์ที่สัมพันธ์กับเชาวน์ปัญญาด้าน
นั้น ๆ
วีก็อทสกี (Vygotsky) เป็นนักจิตวิทยาชาวรัสเซียที่ได้ศึกษาเกี่ยวกับพัฒนาการทาง
เชาวน์ปัญญา เป็นที่ยอมรับกันในประเทศรัสเซีย และเริ่มเผยแพร่สู่ประเทศสหรัฐอเมริกาและ
ประเทศต่าง ๆในยุโรป
ในปี ค.ศ. 1986 โคซูลิน (Kozulin) ได้แปลและปรับปรุงหนังสือของวีก็อทสกีอีกครั้ง
หนึ่ง เป็นผลทาให้มีผู้นิยมนามาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนอย่างแพร่หลาย
ทฤษฎีการสร้างความรู ้ด้วยตนเอง
แนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ้
วีก็อทสกี้ ให้ความสาคัญกับวัฒนธรรมและสังคม โดยมีแนวคิดว่ามนุษย์ได้รับ
อิทธิพลจากสิ่งแวดล้อมตั้งแต่แรกเกิด ได้แก่ สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมทาง
สังคม
ดังนั้น สถาบันสังคมต่าง ๆเริ่มตั้งแต่สถาบันครอบครัวจะมีอิทธิพลต่อพัฒนาการทางเชาวน์
ปัญญาของแต่ละบุคคล
วีก็อทสกี้ มีความเชื่อว่าการให้ความช่วยเหลือ ด้วยการชี้แนะให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
ในลักษณะของการให้ความช่วยเหลือทางการเรียนรู้ “assisted Learning”
หรือ “scaffolding” เป็นสิ่งสาคัญมากเพราะสามารถช่วยพัฒนาผู้เรียนถึงระดับ
ศักยภาพที่แท้จริงของผู้เรียนได้
การประยุกต์ใช้ทฤษฎีในการจัดการเรียนรู ้
1. เป้าหมายการเรียนรู้จะต้องมาจากการปฏิบัติงานจริง (authentic tasks)
ผู้สอนจึงควรกาหนดการเรียนการสอนให้เห็นเรื่องหรือปัญหาที่มีขอบเขตกว้าง
2. ในการเรียนการสอนแบบสร้างความรู้ผู้สอนจะมีบทบาทในการอานวยความสะดวกและ
ช่วยเหลือผู้เรียนในการเรียนรู้ เปลี่ยนจาก “instruction” ไปเป็น
“construction” คือเปลี่ยนจาก “การให้ความรู ้” ไปเป็ น “การให้
ผู้เรียนสร้างความรู ้” สร้างแรงจูงใจภายในให้เกิดแก่ผู้เรียน
3. ออกแบบการเรียนรู้ที่มีลักษณะสมจริง จัดสถานการณ์
4. ผู้สอนอาจเสนอแนะให้ผู้เรียนใช้ข้อมูลเดิมหรือข้อมูลจากแหล่งปฐมภูมิ
5. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีโอกาสวิเคราะห์เนื้อหาและกระบวนการเรียนการสอนใช้หลักการสร้าง
องค์ความรู้ด้วยตนเองการสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ดังกล่าวควรมีลักษ
5.1 ผู้เรียนเป็นเจ้าของความคิดมากกว่าเป็นผู้รับสารหรือซึมซับข้อมูล
5.2 การสื่อสารของผู้สอนจะเป็นลักษณะกระตุ้นให้ผู้เรียนคิดโดยไม่ต้องคาถามตรง ๆ
5.3 ผู้เรียน เรียนรู้ด้วยความเข้าใจ
5.4 สิ่งที่ผู้เรียนเข้าใจ เป็นสิ่งที่ผู้เรียนสร้างขึ้น ซึ่งไม่ใช่การลอกเลียนแบบแนวคิดผู้สอน
5.5 สิ่งที่เรียนและวิธีเรียนมีผลกระทบจากบริบทของสังคม
6. ผู้สอนยอมรับและส่งเสริมความคิดอย่างอิสระจะเป็นการช่วยพัฒนาเอกลักษณ์ทาง
วิชาการเฉพาะตัวของผู้เรียน
7. ผู้สอนควรออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ใช้ความคิดที่ซับซ้อนยิ่งขึ้น
8. ในการจัดการเรียนการสอนนอกจากเน้นในด้านวิชาการแล้วผู้สอนจะต้องพยายามสร้าง
บรรยากาศทางสังคมจริยธรรม (socio moral) ให้เกิดขึ้นด้วยโดยผู้เรียนจะต้องมีโอกาส
เรียนรู้ในบรรยากาศที่เอื้อต่อการปฏิสัมพันธ์ทางสังคม
9. ในด้านการประเมินผลการเรียนการสอนเนื่องจากการเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วย
ตนเอง ซึ่งอาจเป็นการประเมินจากเพื่อนแล้มผลงาน (portfolio) รวมทั้งการประเมิน
ตนเองด้วย
THANK YOU
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองโดย
การสร้างสรรค์ชิ้นงาน

More Related Content

What's hot

สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์แวมไพร์ แวมไพร์
 
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมthnaporn999
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานSamorn Tara
 
ทฤษฏีไวก็อตสกี้
ทฤษฏีไวก็อตสกี้ทฤษฏีไวก็อตสกี้
ทฤษฏีไวก็อตสกี้Proud N. Boonrak
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือSAKANAN ANANTASOOK
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์Nonsawan Exschool
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมPhakawat Owat
 
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformationการปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious ReformationWarinthorn Limpanakorn
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์โทโต๊ะ บินไกล
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 

What's hot (20)

สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
 
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
Cippa model
Cippa modelCippa model
Cippa model
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงาน
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
ทฤษฏีไวก็อตสกี้
ทฤษฏีไวก็อตสกี้ทฤษฏีไวก็อตสกี้
ทฤษฏีไวก็อตสกี้
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
ปก
ปกปก
ปก
 
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformationการปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 

Similar to แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย

09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciencesKruBeeKa
 
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...Natcha Wannakot
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5moohmed
 
วิจัยเพื่อพัฒนาโมเดลใหม่หรือรูปแบบใหม่
วิจัยเพื่อพัฒนาโมเดลใหม่หรือรูปแบบใหม่วิจัยเพื่อพัฒนาโมเดลใหม่หรือรูปแบบใหม่
วิจัยเพื่อพัฒนาโมเดลใหม่หรือรูปแบบใหม่DrDanai Thienphut
 
การพัฒนาเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์การพัฒนาเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์Benz Lovestory
 
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอกเค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอกarunrat bamrungchit
 
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาitedu355
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2kanwan0429
 

Similar to แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย (20)

09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences
 
Power point นำเสนองานวิจัย
Power point นำเสนองานวิจัยPower point นำเสนองานวิจัย
Power point นำเสนองานวิจัย
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการ
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
03chap1
03chap103chap1
03chap1
 
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
Intro sciproject
Intro sciprojectIntro sciproject
Intro sciproject
 
Ch1 innovation
Ch1 innovationCh1 innovation
Ch1 innovation
 
Random 120812202117-phpapp01
Random 120812202117-phpapp01Random 120812202117-phpapp01
Random 120812202117-phpapp01
 
วิจัยเพื่อพัฒนาโมเดลใหม่หรือรูปแบบใหม่
วิจัยเพื่อพัฒนาโมเดลใหม่หรือรูปแบบใหม่วิจัยเพื่อพัฒนาโมเดลใหม่หรือรูปแบบใหม่
วิจัยเพื่อพัฒนาโมเดลใหม่หรือรูปแบบใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
การพัฒนาเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์การพัฒนาเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอกเค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
 
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 

More from khanidthakpt

สื่อ PPT เรื่อง There is,There are ป.6
สื่อ PPT เรื่อง There is,There are ป.6สื่อ PPT เรื่อง There is,There are ป.6
สื่อ PPT เรื่อง There is,There are ป.6khanidthakpt
 
PPT ทำใบงาน Part of body
PPT ทำใบงาน Part of bodyPPT ทำใบงาน Part of body
PPT ทำใบงาน Part of bodykhanidthakpt
 
ใบงาน Part of body
ใบงาน Part of bodyใบงาน Part of body
ใบงาน Part of bodykhanidthakpt
 
ประเภทการวิจัย
ประเภทการวิจัยประเภทการวิจัย
ประเภทการวิจัยkhanidthakpt
 
แบบฝึกหัด Listening
แบบฝึกหัด Listeningแบบฝึกหัด Listening
แบบฝึกหัด Listeningkhanidthakpt
 
บทละครสั้น The merchant of Venice
บทละครสั้น The merchant of Veniceบทละครสั้น The merchant of Venice
บทละครสั้น The merchant of Venicekhanidthakpt
 
Chant Playway in Habit song
Chant Playway in Habit songChant Playway in Habit song
Chant Playway in Habit songkhanidthakpt
 
วิเคราะห์บทแปล Twilight
วิเคราะห์บทแปล Twilight วิเคราะห์บทแปล Twilight
วิเคราะห์บทแปล Twilight khanidthakpt
 
The merchant of Venice
The merchant of VeniceThe merchant of Venice
The merchant of Venicekhanidthakpt
 
Sickness lesson plan
Sickness lesson planSickness lesson plan
Sickness lesson plankhanidthakpt
 
บทละคร Mangita and larina สำหรับแสดงละครสั้นภาษาอังกฤษ
บทละคร Mangita and larina สำหรับแสดงละครสั้นภาษาอังกฤษบทละคร Mangita and larina สำหรับแสดงละครสั้นภาษาอังกฤษ
บทละคร Mangita and larina สำหรับแสดงละครสั้นภาษาอังกฤษkhanidthakpt
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถาม แบบสอบถาม
แบบสอบถาม khanidthakpt
 
แผนการสอนระดับท้องถิ่น - ร.พ เจ้าพระยาอภับภูเบศร
แผนการสอนระดับท้องถิ่น - ร.พ เจ้าพระยาอภับภูเบศรแผนการสอนระดับท้องถิ่น - ร.พ เจ้าพระยาอภับภูเบศร
แผนการสอนระดับท้องถิ่น - ร.พ เจ้าพระยาอภับภูเบศรkhanidthakpt
 
สรุปนิทาน Anna karenina
สรุปนิทาน Anna kareninaสรุปนิทาน Anna karenina
สรุปนิทาน Anna kareninakhanidthakpt
 
Short story - Past tense
Short story - Past tenseShort story - Past tense
Short story - Past tensekhanidthakpt
 
Love of others กิจกรรมโฮมรูม
Love of others กิจกรรมโฮมรูมLove of others กิจกรรมโฮมรูม
Love of others กิจกรรมโฮมรูมkhanidthakpt
 
Homeroom games for children
Homeroom games for childrenHomeroom games for children
Homeroom games for childrenkhanidthakpt
 
Who is Christiane Amanpour?
Who is Christiane Amanpour?Who is Christiane Amanpour?
Who is Christiane Amanpour?khanidthakpt
 
What is leaf clovers?
What is leaf clovers?What is leaf clovers?
What is leaf clovers?khanidthakpt
 

More from khanidthakpt (20)

สื่อ PPT เรื่อง There is,There are ป.6
สื่อ PPT เรื่อง There is,There are ป.6สื่อ PPT เรื่อง There is,There are ป.6
สื่อ PPT เรื่อง There is,There are ป.6
 
PPT ทำใบงาน Part of body
PPT ทำใบงาน Part of bodyPPT ทำใบงาน Part of body
PPT ทำใบงาน Part of body
 
ใบงาน Part of body
ใบงาน Part of bodyใบงาน Part of body
ใบงาน Part of body
 
ประเภทการวิจัย
ประเภทการวิจัยประเภทการวิจัย
ประเภทการวิจัย
 
แบบฝึกหัด Listening
แบบฝึกหัด Listeningแบบฝึกหัด Listening
แบบฝึกหัด Listening
 
บทละครสั้น The merchant of Venice
บทละครสั้น The merchant of Veniceบทละครสั้น The merchant of Venice
บทละครสั้น The merchant of Venice
 
Chant Playway in Habit song
Chant Playway in Habit songChant Playway in Habit song
Chant Playway in Habit song
 
วิเคราะห์บทแปล Twilight
วิเคราะห์บทแปล Twilight วิเคราะห์บทแปล Twilight
วิเคราะห์บทแปล Twilight
 
The merchant of Venice
The merchant of VeniceThe merchant of Venice
The merchant of Venice
 
Sickness lesson plan
Sickness lesson planSickness lesson plan
Sickness lesson plan
 
บทละคร Mangita and larina สำหรับแสดงละครสั้นภาษาอังกฤษ
บทละคร Mangita and larina สำหรับแสดงละครสั้นภาษาอังกฤษบทละคร Mangita and larina สำหรับแสดงละครสั้นภาษาอังกฤษ
บทละคร Mangita and larina สำหรับแสดงละครสั้นภาษาอังกฤษ
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถาม แบบสอบถาม
แบบสอบถาม
 
แผนการสอนระดับท้องถิ่น - ร.พ เจ้าพระยาอภับภูเบศร
แผนการสอนระดับท้องถิ่น - ร.พ เจ้าพระยาอภับภูเบศรแผนการสอนระดับท้องถิ่น - ร.พ เจ้าพระยาอภับภูเบศร
แผนการสอนระดับท้องถิ่น - ร.พ เจ้าพระยาอภับภูเบศร
 
สรุปนิทาน Anna karenina
สรุปนิทาน Anna kareninaสรุปนิทาน Anna karenina
สรุปนิทาน Anna karenina
 
Short story - Past tense
Short story - Past tenseShort story - Past tense
Short story - Past tense
 
Friends game
Friends gameFriends game
Friends game
 
Love of others กิจกรรมโฮมรูม
Love of others กิจกรรมโฮมรูมLove of others กิจกรรมโฮมรูม
Love of others กิจกรรมโฮมรูม
 
Homeroom games for children
Homeroom games for childrenHomeroom games for children
Homeroom games for children
 
Who is Christiane Amanpour?
Who is Christiane Amanpour?Who is Christiane Amanpour?
Who is Christiane Amanpour?
 
What is leaf clovers?
What is leaf clovers?What is leaf clovers?
What is leaf clovers?
 

แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย

  • 2. แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้จากอดีตตั้งแต่ก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 20 จนถึงปัจจุบัน ผู้นาเสนอจะนาเสนอทฤษฎีร่วมสมัยที่มีความสาคัญและได้รับความนิยมอย่างกว้างขวางมา นาเสนอจานวน 6 ทฤษฎี โดยจะนาเสนอสาระของแต่ละทฤษฎีแยกเป็น 2 ส่วนคือ ส่วนที่ เป็นแนวคิดสาคัญของทฤษฎี และส่วนที่เป็นการประยุกต์ใช้ทฤษฎีเหล่านั้นในการจัดการ เรียนรู้ ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยที่นาเสนอในบทนี้มีดังนี้ 1. ทฤษฎีประมวลสารสนเทศ (Information Processing Theory) 2. ทฤษฎีพหุปัญญา (Theory of Multiple Intelligences) 3. ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism) 4. ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยการสร้างสรรค์ชิ้นงาน (Constructionism) 5. ทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Theory of Cooperative or Collaborative Learning) 6. ทฤษฎีการเรียนรู้ด้วยสมอง (Brain-Based Learning Theory)
  • 3. ทฤษฎีประมวลสารสนเทศ เป็นทฤษฎีที่จัดอยู่ในกลุ่มพุทธินิยม (Cognitivism) ซึ่งเป็นกลุ่มที่ให้ความสนใจกับ กระบวนการคิด และการให้เหตุผลของผู้เรียน เป็นทฤษฎีที่เกิดขึ้นประมาณช่วงกลางของปี ค.ศ. 1950 ทฤษฎีนี้เกิดขึ้นเนื่องจากนักจิตวิทยารู้สึกไม่พอใจกับแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่ม พฤติกรรมนิยมที่ไม่ได้พูดถึงกระบวนการคิดของคน ทฤษฎีประมวลสารสนเทศ จึงเป็นทฤษฎีที่ สนใจศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการพัฒนาสติปัญญา โดยให้ความสนใจเกี่ยวกับการทางานของ สมองของมนุษย์ นอกจากนี้การประมวลผลการทางานของคอมพิวเตอร์ได้ให้ข้อคิดกับ นักจิตวิทยาในการมองมนุษย์ว่า มนุษย์เป็นสัญลักษณ์ของระบบควบคุม ระบบนี้คือ การสะสมความจา ซึ่งจะผ่านขั้นตอนการทางานเช่นเดียวกับการ ทางานของคอมพิวเตอร์ มีทั้งการใส่รหัสข้อมูลการสะสมข้อมูล และการเรียก ข้อมูลออกมาใช้
  • 4. แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ คลอสเมียร์ กระบวนการประมวลข้อมูล เริ่มต้นจากการที่มนุษย์รับสิ่งเร้าเข้ามาทาง ประสาทสัมผัสทั้ง 5 (การมองเห็น การได้ยิน การได้กลิ่น การลิ้มรส การรับ สัมผัส) สิ่งเร้าที่เข้ามาจะได้รับการบันทึกไว้ในความจาระยะสั้น ซึ่งการบันทึก นี้จะขึ้นอยู่กับองค์ประกอบ 2 ประการ คือการรู้จัก (recognition) และความใส่ใจ (attention) ของบุคคลขณะที่รับสิ่งเร้า เมื่อบุคคล เลือกรับสิ่งเร้าที่ตนรู้จักหรือสนใจ สิ่งเร้านั้นจะได้รับการบันทึกลงใน ความจาระยะสั้น (short-term memory (STM)
  • 5. สามารถทาได้โดยข้อมูลนั้นจาเป็นต้องได้รับการประมวลและเปลี่ยนรูปโดยการ เข้ารหัส (encoding) เพื่อนาไปเก็บไว้ในความจาระยะยาว (long term memory (LTM) เช่น การท่องซ้าหลายๆครั้ง การทา ข้อมูลให้มีความหมายกับตนเอง โดยการสัมพันธ์สิ่งที่เรียนรู้ใหม่กับสิ่งเก่าที่เคย เรียนรู้มาก่อนซึ่งเรียกว่าเป็นกระบวนการขยายความคิด (elaborative operations process) ความจาระยะยาวนี้มี 2 ชนิด คือ ความจาที่เกี่ยวกับภาษา (semantic) และ ความจาที่เกี่ยวกับเหตุการณ์ (episodic) ความจาระยะ ยาว*นาออกมาใช้ได้ทุกเมื่อ ความจาระสั้น
  • 6. แนวคิดสาคัญของทฤษฎีประมวล สารสนเทศ ประกอบด้วย 1. ความจา ประกอบด้วย ความจา 3 รูปแบบ อันได้แก่ 1) การบันทึกสัมผัส (Sensory Memory หรือ SM) 2) ความจาระยะสั้น (Short-Term Memory หรือ STM) 3) ความจาระยะยาว (Long Term Memory หรือ LTM) 2. กระบวนการควบคุม จะเป็นตัวกาหนดสารสนเทศจากความจาหนึ่งไปสู่ ความจาหนึ่ง ซึ่งประกอบด้วยการระลึกได้ (recognition) ความใส่ใจ (attention) การพูดปากเปล่า หรือการท่องจา (rehearsal) การท่องจาด้วยความเข้าใจ (elaborative rehearsal)
  • 7. ส่วนการบริหารควบคุมการประมวลข้อมูลของสมอง คือการที่บุคคลรู้ ถึงการคิดของตนและสามารถควบคุมการคิดของตนให้เป็นไปในทิศทางที่ ตนต้องการ การรู้ในลักษณะนี้ใช้ศัพท์ทางวิชาการว่า “อภิปัญญา” หรือ “metacognition” หรือ “การรู้คิด” ซึ่งหมายถึงการตระหนักรู้ (awareness) สิ่งต่าง ๆที่บุคคลใช้ในการบริหารควบคุมตนเอง สามารถสรุปแนวคิด ดังกล่าว ในรูปแผนภาพได้ ดังนี้ ภาพที่ 4.1 อภิปัญญาในกรอบทฤษฎีประมวลสารสนเทศ
  • 8. กระบวนการรู้คิด เริ่มตั้งแต่ความใส่ใจ (attention) ในการรับรู้การรู้คิด ประการต่อไปคือ การรับรู้ (perception) ตัวอย่างเช่น ผู้เรียนที่ ตระหนักรู ้ว่าการรับรู ้ของตนอาจจะผิดพลาดได้จะยัง ไม่ตัดสินใจจนกว่าจะได้ข้อมูลที่พอเพียง แสดงให้เห็นว่า การรู้คิดสามารถควบคุมการกระทาได้ การรู้คิดอีกประการหนึ่งได้แก่กลวิธีต่าง ๆ (strategies) ที่จะมาช่วยให้ผู้เรียนจดจาสิ่งที่เรียนได้ดี เช่น การท่องการ
  • 9. ดังนั้น การรู้ในเชิงอภิปัญญาหรือการรู้คิด (metacognitive knowledge) จึงมักประกอบไปด้วยความรู้เกี่ยวกับบุคคล (person) งาน (task) และกลวิธี (strategy) ประกอบด้วย ความรู้ย่อย ๆ ที่สาคัญดังนี้ 1. ความรู้เกี่ยวกับบุคคล (person) ความแตกต่างระหว่าง differences) 2. ความรู้เกี่ยวกับงาน (task) 3. ความรู้เกี่ยวกับกลวิธี (strategy) ความรู้เกี่ยวกับความรู้คิดของตนเอง หรืออภิปัญญา รวมถึงสิ่ง สาคัญอื่นๆที่มีผลต่อความคิดนั้น จอห์น ลลาเวลล์ (John Flavel) ได้ให้ความหมายของ metacognition และ Cognition ลลาเวลล์ 7 ได้ อธิบายไว้ว่า Cognition หมายถึง การรู้คิดหรือปัญญาที่เกิดจากการเรียนรู้ด้วย ความเข้าใจ Metacognition หมายถึง ความรู้ส่วนตัวของแต่ละ บุคคลต่อสิ่งที่ได้เรียน หรือผู้เรียนคิดอย่างไรต่อสิ่งที่ได้เรียนรู้ไป
  • 10. แนวคิด ทฤษฎีประมวลสารสนเทศ เป็นประโยชน์ต่อการจัดการเรียนการสอน หลายประเภท ดังนี้ 1. การรู้จัก (recognition) 2. ความใส่ใจ (attention) 3. วิธีการเข้ารหัส เช่น การท่องจาซ้า ๆ การทบทวนหรือการใช้กระบวนการ ขยายความคิด (elaborative operations process) ซึ่งได้แก่ การเรียบเรียง ผสมผสาน ขยายความ การสอนให้จาคาที่ยากๆเช่นคา ว่า“ Arithmetic” โดยใช้ตัวหนังสือตัวแรกของประโยค A Rat in the House May Eat the Ice Cream การสอน ให้จาอักษรกลางในไวยากรณ์ภาษาไทย (กจฎฏดตบปอ) ด้วยการผูกคา “ไก่ จิกเด็กตายเด็กตายบนปากโอ่ง” เป็นต้น 4. ข้อมูลที่ถูกนาไปเก็บไว้ในหน่วยความจาระยะยาวแล้วสามารถเรียก ออกมาใช้งาน เช่น ร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับการตั้งคาถามด้วยตนเอง ให้ นักเรียนได้ดูตัวอย่างคาถามที่ระดับความเข้าใจหลายๆตัวอย่าง การประยุกต์ใช้ทฤษฎีในการจัดการเรียนร
  • 11. ผู้บุกเบิกแนวคิดทฤษฎีพหุปัญญา คือ การ์ดเนอร์ (Gardner) จากมน (Harvard University) ในปี ค.ศ. 1983 ทฤษฎีพหุปัญญา การ์ดเนอร์ ได้นิยาม “เชาวน์ปัญญา” ไว้ว่า หมายถึง ความสามารถในการ แก้ปัญหาในสภาพแวดล้อมต่างๆ หรือการสร้างสรรค์ผลงานต่างๆ ซึ่งจะมี ความสัมพันธ์กับบริบททางวัฒนธรรมในแต่ละแห่ง รวมความสามารถในการ ตั้งปัญหาเพื่อจะหาคาตอบและเพิ่มพูนความรู้
  • 12. การ์ดเนอร์ มีความเชื่อว่า เชาวน์ปัญญาของบุคคลมิได้มีเพียงความสามารถ ทางภาษาและทางคณิตศาสตร์เท่านั้น แต่มีอยู่อย่างหลากหลายถึง 8 ประเภท ด้วยกันและอาจจะมีมากกว่า คนแต่ละคนจะมีความสามารถเฉพาะด้านที่ แตกต่างไปจากคนอื่น และมีความสามารถในด้านต่าง ๆไม่เท่ากัน มีเอกลักษณ์ เฉพาะตน แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู ้
  • 13. เชาวน์ปัญญา 8 ด้านตามแนวคิดของการ์ดเนอร์ มีดังนี้ 1. เชาวน์ปัญญาด้านภาษา (Linguistic intelligence) เชาวน์ ปัญญาด้านนี้ถูกควบคุมสมองส่วนที่เรียกว่า “broca 's area” สติปัญญาด้านนี้แสดงออกทางความสามารถใน การอ่าน การเขียน การพูดอภิปราย การสื่อสารกับผู้อื่น การแสดงออกของความคิด การประพันธ์ การแต่งเรื่อง การเล่าเรื่อง เป็นต้น เชาวน์ปัญญาด้านนี้เป็นศักยภาพของ นักพูด นักเล่านิทาน กวี นักการเมือง บรรณาธิการ นักเขียน ทนายความ นักโต้วาที เป็นต้น
  • 14. เชาวน์ปัญญา 8 ด้านตามแนวคิดของการ์ดเนอร์ มีดังนี้ 2. เชาวน์ปัญญาด้านคณิตศาสตร์หรือการใช้เหตุผลเชิงตรรกะ (logical- mathermatical intelligence) เชาวน์ปัญญาด้านนี้เป็นความสามารถระดับสูงของบุคคลใน การเข้าใจหลักการของเหตุและ ผลรวมทั้งการใช้ตัวเลขปริมาณและการปฏิบัติการทางคณิตศาสตร์ รวมถึงความไวในการเห็น ความสัมพันธ์แบบแผนตรรกวิทยา การคิดเชิงนามธรรม และการคิดที่เป็นเหตุเป็นผล (cause effect) และคิดคาดการณ์ (if-then) เชาวน์ปัญญาด้านนี้เป็นศักยภาพของ นักคณิตศาสตร์ นักวิทยาศาสตร์ นักจัดทาโปรแกรม
  • 15. เชาวน์ปัญญา 8 ด้านตามแนวคิดของการ์ดเนอร์ มีดังนี้ 3. เชาวน์ปัญญาด้านมิติสัมพันธ์ (spatial intelligence) เชาวน์ปัญญาด้าน นี้ถูกควบคุมโดย สมองซีกขวา เชาวน์ปัญญาด้านนี้ความสามารถระดับสูงในการสร้างภาพ 3 มิติของโลกภายนอกขึ้นใน จิตใจของตนเอง ไวต่อสีเส้นรูปร่าง เนื้อที่ เชาวน์ปัญญาด้านนี้เป็นศักยภาพของ ผู้นาทาง นักเดินเรือ นักบิน นายพราน นักเล่นหมากรุก ซ่างแกะสลัก สถาปนิก ศิลปิน มัณฑนากร และนักประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์
  • 16. เชาวน์ปัญญา 8 ด้านตามแนวคิดของการ์ดเนอร์ มีดังนี้ 4. เชาวน์ปัญญาด้านดนตรี (musical intelligence) เชาวน์ปัญญาด้วย สมองซีกขวาแต่ยังไม่สามารถระบุตาแหน่งที่แน่นอนได้ เชาวน์ปัญญาด้านนี้ด้านจังหวะการร้องเพลง การลังเพลงและดนตรี การแต่งเพลง การเต้น และมีความไวต่อการรับรู้เสียง และจังหวะต่าง ๆ เชาวน์ปัญญาด้านนี้เป็นศักยภาพของ นักดนตรี นักแต่งเพลง นักวิจารณ์ดนตรีและเพลง
  • 17. เชาวน์ปัญญา 8 ด้านตามแนวคิดของการ์ดเนอร์ มีดังนี้ 5. เชาวน์ปัญญาด้านการเคลื่อนไหวร่างกายและกล้ามเนื้อ (bodily-kinesthetic intelligence) เชาวน์ปัญญาด้านนี้ถูกควบคุมโดยสมองส่วนที่ เรียกว่า คอร์เท็กซ์ โดย ด้านซ้ายควบคุมการเคลื่อนไหวของร่างกายซีกขวาและด้านขวาควบคุมการเคลื่อนไหวของร่าย กายซีกซ้าย เชาวน์ปัญญาด้านนี้ความสามารถระดับสูงในการใช้ร่างกายทั้งหมดหรือบางส่วนของตน แสดง ความคิดความรู้สึกทักษะทางกาย เช่น ความคล่องแคล่ว ความแข็งแรง ความรวดเร็ว ความ ยืดหยุ่น ความประณีต และความไวทางประสาทสัมผัส เชาวน์ปัญญาด้านนี้เป็นศักยภาพของ นักกีฬา นักแสดงท่าใบ้ นาฏกร นักล้อนรา ช่างปั้น ช่างแก้ รถยนต์และศัลยแพทย์
  • 18. เชาวน์ปัญญา 8 ด้านตามแนวคิดของการ์ดเนอร์ มีดังนี้ 6. เชาวน์ปัญญาด้านมนุษยสัมพันธ์ (interpersonal intelligence) เชาวน์ปัญญาด้านนี้ถูกควบคุมโดยสมองส่วนหน้า เชาวน์ปัญญาด้านนี้การปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น การทางานกับผู้อื่น การเข้าใจและเคารพผู้อื่น การ แก้ปัญหาความขัดแย้ง และการจัดระเบียบ เชาวน์ปัญญาด้านนี้เป็นศักยภาพของ นักประชาสัมพันธ์ โฆษก พิธีกร นักสื่อสารมวลชน ผู้สอนแพทย์พยาบาล นักการตลาด
  • 19. เชาวน์ปัญญา 8 ด้านตามแนวคิดของการ์ดเนอร์ มีดังนี้ 7. เชาวน์ปัญญาด้านการเข้าใจตนเอง (intrapersonal intelligence) เชาวน์ปัญญาด้านนี้รู้จักตนเอง เข้าใจในอารมณ์ความรู้สึกนึกคิดของ ความเป็นจริงเกี่ยวกับจุดอ่อนจุดแข็งในเรื่องใด ๆ มีความรู้เท่าทัน อารมณ์ความคิดของตน สามารถฝึกฝนตนเองได้ เชาวน์ปัญญาด้านนี้เป็นศักยภาพของ ผู้นาทางศาสนา นักจิตวิทยา
  • 20. เชาวน์ปัญญา 8 ด้านตามแนวคิดของการ์ดเนอร์ มีดังนี้ 8. เชาวน์ปัญญาด้านความเข้าใจสภาพธรรมชาติ (naturalist intelligence) เชาวน์ปัญญาด้านนี้รู้จักธรรมชาติของพืชและสัตว์ สามารถแยกแยะจัดจาแนก และสัตว์ มีความไวในการเข้าใจลักษณะอื่นๆ ของธรรมชาติ รักธรรมชาติ เชาวน์ปัญญาด้านนี้เป็นศักยภาพของ นักพฤกษศาสตร์ นักสิ่งแวดล้อมทางสังคม
  • 21. เชื่อว่า ในการกระทาอย่างใดอย่างหนึ่ง แม้จะดูเหมือนว่าใช้เชาวน์ปัญญาด้านหนึ่งด้าน ใดอย่างชัดเจน แต่แท้จริงแล้ว ต้องอาศัยเชาวน์ปัญญาหลายๆด้านผสมผสานกัน เช่น นัก ดนตรีที่ประสบความสาเร็จแม้จะดูเหมือนว่าต้องอาศัยเชาวน์ปัญญาด้านดนตรี แต่จริง ๆแล้ว การประสบผลสาเร็จยังอาจต้องอาศัยเชาวน์ปัญญาด้านการสัมพันธ์กับผู้อื่น ด้านภาษา และ ด้านการเข้าใจตนเองด้วย เป็นต้น การ ์ดเนอร ์
  • 22. 1. การจัดการเรียนการสอนควรมีกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลายที่สามารถส่งเสริมเชาวน์ ปัญญาหลาย ๆด้าน จะช่วยให้ผู้เรียนทุกคนมีโอกาสที่จะพัฒนาตนเองอย่างรอบด้านพร้อมทั้ง ช่วยส่งเสริมความสามารถเฉพาะตนของผู้เรียนไปในตัว 2. การสอนควรเน้นการส่งเสริมความเป็นเอกลักษณ์ของผู้เรียน ผู้สอนควรสอนโดยเน้นให้ ผู้เรียนค้นหาเอกลักษณ์ของตนเอง ส่งเสริมให้ผู้เรียนภูมิใจในตนเอง การประยุกต์ใช้ทฤษฎีในการจัดการเรียนรู ้ ตัวอย่างขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู ้ ดังนี้ 2.1 กลวิธีการสอนที่สัมพันธ์กับปัญญาด้านภาษา เช่น การเล่านิทาน การระดมสมอง การอัดเสียงเทป การเขียนบันทึกประจาวัน การตีพิมพ์หนังสือ 2.2 กลวิธีการสอนที่สัมพันธ์กับปัญญาด้านเหตุผล-คณิตศาสตร์ เช่น การจัด หมวดหมู่และแยกประเภท การสอนให้คิดวิเคราะห์วิจารณ์ 2.3 กลวิธีการสอนที่สัมพันธ์กับปัญญาด้านมิติ เช่น การให้เห็นภาพ การใช้สีระบายสี ระบายเรื่องที่ชอบ การใช้แผนภาพแทนข้อมูลต่าง ๆ
  • 23. 2.4 กลวิธีการสอนที่สัมพันธ์กับปัญญาด้านการเคลื่อนไหวร่างกาย เช่น ใช้ภาษาร่างกาย พูดโต้ตอบโดยการให้ผู้เรียนสื่อสารด้วยภาษาท่าทาง 2.5 กลวิธีการสอนที่สัมพันธ์กับปัญญาด้านดนตรี เช่น ใช้ดนตรีช่วยความจา การใช้ดนตรี ตามอารมณ์ 2.6 กลวิธีการสอนที่สัมพันธ์กับปัญญาด้านมนุษยสัมพันธ์ เช่น การสอนด้วยกิจกรรมการ เรียนรู้แบบร่วมมือ สถานการณ์จาลอง 2.7 กลวิธีการสอนที่สัมพันธ์กับปัญญาด้านเข้าใจตนเอง เช่น การให้ผู้เรียนคิดตรึกตรองเป็น เวลา 1 นาที เกี่ยวกับเรื่องที่เรียน 2.8 กลวิธีการสอนที่สัมพันธ์กับปัญญาด้านธรรมชาติ เช่น การปลูกต้นไม้ เยี่ยมชมแหล่ง การเรียนรู้ ศึกษาธรรมชาติจากการเข้าร่วมกิจกรรมอนุรักษ์ธรรมชาติ ตัวอย่างขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู ้ ดังนี้ 3. ระบบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ควรมีการประเมินหลาย ๆ ด้าน และในแต่ละด้านควร ประเมินในสภาพการณ์ของปัญหาที่สามารถแก้ปัญหาด้วยอุปกรณ์ที่สัมพันธ์กับเชาวน์ปัญญาด้าน นั้น ๆ
  • 24. วีก็อทสกี (Vygotsky) เป็นนักจิตวิทยาชาวรัสเซียที่ได้ศึกษาเกี่ยวกับพัฒนาการทาง เชาวน์ปัญญา เป็นที่ยอมรับกันในประเทศรัสเซีย และเริ่มเผยแพร่สู่ประเทศสหรัฐอเมริกาและ ประเทศต่าง ๆในยุโรป ในปี ค.ศ. 1986 โคซูลิน (Kozulin) ได้แปลและปรับปรุงหนังสือของวีก็อทสกีอีกครั้ง หนึ่ง เป็นผลทาให้มีผู้นิยมนามาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนอย่างแพร่หลาย ทฤษฎีการสร้างความรู ้ด้วยตนเอง แนวคิดทฤษฎีการเรียนรู ้ วีก็อทสกี้ ให้ความสาคัญกับวัฒนธรรมและสังคม โดยมีแนวคิดว่ามนุษย์ได้รับ อิทธิพลจากสิ่งแวดล้อมตั้งแต่แรกเกิด ได้แก่ สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมทาง สังคม ดังนั้น สถาบันสังคมต่าง ๆเริ่มตั้งแต่สถาบันครอบครัวจะมีอิทธิพลต่อพัฒนาการทางเชาวน์ ปัญญาของแต่ละบุคคล วีก็อทสกี้ มีความเชื่อว่าการให้ความช่วยเหลือ ด้วยการชี้แนะให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ในลักษณะของการให้ความช่วยเหลือทางการเรียนรู้ “assisted Learning” หรือ “scaffolding” เป็นสิ่งสาคัญมากเพราะสามารถช่วยพัฒนาผู้เรียนถึงระดับ ศักยภาพที่แท้จริงของผู้เรียนได้
  • 25. การประยุกต์ใช้ทฤษฎีในการจัดการเรียนรู ้ 1. เป้าหมายการเรียนรู้จะต้องมาจากการปฏิบัติงานจริง (authentic tasks) ผู้สอนจึงควรกาหนดการเรียนการสอนให้เห็นเรื่องหรือปัญหาที่มีขอบเขตกว้าง 2. ในการเรียนการสอนแบบสร้างความรู้ผู้สอนจะมีบทบาทในการอานวยความสะดวกและ ช่วยเหลือผู้เรียนในการเรียนรู้ เปลี่ยนจาก “instruction” ไปเป็น “construction” คือเปลี่ยนจาก “การให้ความรู ้” ไปเป็ น “การให้ ผู้เรียนสร้างความรู ้” สร้างแรงจูงใจภายในให้เกิดแก่ผู้เรียน 3. ออกแบบการเรียนรู้ที่มีลักษณะสมจริง จัดสถานการณ์ 4. ผู้สอนอาจเสนอแนะให้ผู้เรียนใช้ข้อมูลเดิมหรือข้อมูลจากแหล่งปฐมภูมิ
  • 26. 5. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีโอกาสวิเคราะห์เนื้อหาและกระบวนการเรียนการสอนใช้หลักการสร้าง องค์ความรู้ด้วยตนเองการสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ดังกล่าวควรมีลักษ 5.1 ผู้เรียนเป็นเจ้าของความคิดมากกว่าเป็นผู้รับสารหรือซึมซับข้อมูล 5.2 การสื่อสารของผู้สอนจะเป็นลักษณะกระตุ้นให้ผู้เรียนคิดโดยไม่ต้องคาถามตรง ๆ 5.3 ผู้เรียน เรียนรู้ด้วยความเข้าใจ 5.4 สิ่งที่ผู้เรียนเข้าใจ เป็นสิ่งที่ผู้เรียนสร้างขึ้น ซึ่งไม่ใช่การลอกเลียนแบบแนวคิดผู้สอน 5.5 สิ่งที่เรียนและวิธีเรียนมีผลกระทบจากบริบทของสังคม 6. ผู้สอนยอมรับและส่งเสริมความคิดอย่างอิสระจะเป็นการช่วยพัฒนาเอกลักษณ์ทาง วิชาการเฉพาะตัวของผู้เรียน 7. ผู้สอนควรออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ใช้ความคิดที่ซับซ้อนยิ่งขึ้น
  • 27. 8. ในการจัดการเรียนการสอนนอกจากเน้นในด้านวิชาการแล้วผู้สอนจะต้องพยายามสร้าง บรรยากาศทางสังคมจริยธรรม (socio moral) ให้เกิดขึ้นด้วยโดยผู้เรียนจะต้องมีโอกาส เรียนรู้ในบรรยากาศที่เอื้อต่อการปฏิสัมพันธ์ทางสังคม 9. ในด้านการประเมินผลการเรียนการสอนเนื่องจากการเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วย ตนเอง ซึ่งอาจเป็นการประเมินจากเพื่อนแล้มผลงาน (portfolio) รวมทั้งการประเมิน ตนเองด้วย THANK YOU