SlideShare a Scribd company logo
1 of 78
แบบสอบถาม
และ
แบบสารวจ
แบบสอบถาม
(Questionnaires)
เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวมรวมข้อมูลอย่างหนึ่ง ประกอบด้วยข้อความที่ต้องการทราบจาก
ผู้ตอบ ทาให้ได้มาซึ่งข้อเท็จจริง ส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปของคาถามเป็นชุดๆ เพื่อวัดสิ่งที่ต้องการวัด
และเป็นเครื่องมือที่นิยมใช้วัดทางด้านจิตพิสัย (Affective Domain)
1. แบบสอบถามแบบ
ปลายเปิ ด (Open-End)
แบบสอบถามโดยทั่วไปที่นิยมใช้มี 2 รูปแบบ
2. แบบสอบถามแบบปลาย
ปิ ด (Close-End)
1. แบบสอบถามแบบ
ปลายเปิ ด (Open-End)แบบสอบถามแบบนี้ไม่ได้กาหนดคาตอบไว้ ผู้ตอบสามารถเขียนตอบหรือ
แสดงความคิดเห็นได้อย่างอิสระด้วยคาพูดของตนเองคล้ายกับข้อสอบแบบ
อัตนัย
ตัวอย่าง
ย่างแบบสอบถามปลายเปิ ด
แบบสอบถามแบบรูปภาพ
(Pictorial Form)
ย่างแบบสอบถามปลายเปิ ด
2. แบบสอบถามแบบปลาย
ปิ ด (Close-End)เป็นแบบสอบถามที่กาหนดคาตอบไว้ให้เลือก ผู้ตอบจะต้องเลือกคาตอบที่มีไว้ให้
เลือกเท่านั้น จะตอบอย่างเสรีไม่ได้ แบบสอบถามปลายปิด
สามารถแบ่งออกได้ 6 แบบ ดังนี้
2.1 แบบเติมคาสั้นๆ ในช่องว่าง (Short
Answer)
2.2 แบบให้เลือกตอบ (Multiple
Choices)
2.3 แบบประเมินค่า (Rating Scale)
2.4 แบบมาตรวัดการจาแนกตามความหมายของ
คา (Semantic Differential
Scale)
2.5 แบบจัดอันดับ (Ranking)
2.6 แบบสอบถามที่มี 2 ตัวเลือกหรือเรียกว่าแบบ
สารวจ (Check List)
แบบสอบถามแบบนี้ให้ผู้ตอบเติมข้อความลงในช่องว่าง
ที่เว้นไว้ให้
2.1 แบบเติมคาสั้นๆ ใน
ช่องว่าง (Short Answer)
*ข้อควรระวัง
ควรกาหนดขอบเขตคาถามให้ชัดเจนจาเพาะเจาะจงลงไป หากสร้างคาถามไม่ชัดเจนอาจทาให้ ผู้ตอบ
ตีความหมายของคาถามไปคนละเรื่อง และตอบไม่ไปในทางเดียวกัน
ตัวอย่าง
เป็นแบบสอบถามที่กาหนดตัวเลือกไว้ให้ผู้ตอบเลือกตอบตามความจริง
โดยทั่ว ๆไปจะมีคาชี้แจงประกอบการตอบว่า
“ โปรดเขียน ลงในช่อง ให้ตรงกับ
ความเป็ นจริง ”
2.2 แบบให้เลือกตอบ
(Multiple Choices)
ตัวอย่าง
แบบประเมินค่า (Rating Scale) ของลิเคอร์ท (Likert) แบบสอบถามชนิดนี้จะ
ประกอบด้วยข้อคาถามที่ต้องการให้ผู้ตอบประเมินข้อความ หรือให้แสดงความคิดเห็นโดยมีสเกล
บอกระดับ ส่วนใหญ่มักจะมี 5สเกล เช่น
2.3 แบบประเมินค่า (Rating
Scale)
ตัวอย่าง
มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด หรือชอบมาก ชอบ เฉยๆ ไม่ชอบ ไม่ชอบเลย
การประเมินค่าของผู้ตอบแต่ละคนหาได้จากการหาค่าเฉลี่ยของคาตอบจากทุกๆ
าง แบบประเมินค่า (Rating Scale)
ข้อดีของมาตรา
ส่วนประมาณค่า
1. สามารถนาไปใช้วัด สังเกต
พฤติกรรมต่าง ๆได้อย่างละเอียด
ชัดเจน
1. ในการประเมินเป็น
รายบุคคลโดยใช้การสังเกต จะ
ใช้เวลามาก
ข้อจากัดของมาตราส่วน
ข้อดี-ข้อเสีย แบบประเมิน
ค่า (Rating Scale)
2. สามารถนาผลการ
ประเมินไปพิจารณาปรับปรุง
ได้
2. บางครั้งมีคาถามมากเกินไป
ผู้ตอบสับสน
วิธีการสร้างแบบสอบถาม: แบบประเมินค่า (Rating
3. ตรวจสอบข้อความในคาถามให้สอดคล้องกับแนวทางการตอบ เช่น
เห็นด้วยอย่างยิ่ง เห็นด้วย ไม่แน่ใจ ไม่เห็นด้วย หรือ ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง
เป็นต้น
4. นาแบบวัดที่สร้างไปทดลองใช้ และปรับปรุง
1. รวบรวมข้อความที่ต้องการให้แสดงความคิดเห็น
5. กาหนดน้าหนักคะแนนตัวเลือกในแต่ละข้อ เช่น 5-1 หรือ
4-0
เป็นแบบสอบถามที่ใช้ความหมายทางภาษาในรูปคาคุณศัพท์ ที่แสดงความหมาย
ตรงกันข้าม ประกอบด้วยข้อความที่ถาม หรือ มาตรวัด "สิ่งนามธรรม" ภายในใจ สากล
เรียกว่า "เจตคติ" (attitude)
แบ่งมาตรวัดเป็น 7 สเกล โดยมีสองขั้ว ตั้งแต่ขั้วบวกมากไปจนถึงลบมาก หรือลบมากไป
หาบวกมาก
2.4 แบบมาตรวัดการจาแนก
ตามความหมายของคา
Semantic Differential Scale ของ
ออสกูต (Osgood)
ตัวอย่าง
แบ่งได้ 3 กลุ่ม ดังนี้
องค์ประกอบของความหมายทางภาษา
ประเมิน
ศักยภาพ
- แข็งแรง-
อ่อนแอ
- เก่ง-อ่อน
- หนัก-เบา
ประเมินคุณค่า
- ดี-เลว
- เกลียด-ชอบ
- หล่อ/สวย-ขี้
เหร่
- เหมาะสม-ไม่
เหมาะสม
ประเมินการ
เปลี่ยนแปลง
เคลื่อนไหว
ประเมินทาง
กายภาพ
- เร็ว-ช้า
- สว่าง-มืด
- ร่าเริง-ซึมเศร้า
1. เลือกมโนมติที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่ต้องการจะศึกษาเจตคติ
2. การสร้างมาตรา (Scale) คือการเลือกคาคุณศัพท์ที่ตรง
ข้ามกันให้เหมาะสม มาอธิบายความคิด
2. การจัดมาตราวัด (Scale) นาคาคุณศัพท์ที่กาหนดไว้
จัดเรียงลงในมาตราวัดแบบสุ่ม
3. จัดทาคาชี้แจงและเสนอตัวอย่างคาถามคาตอบ
4. นาไปทดลองใช้เพื่อหาคุณภาพของเครื่องมือ
นาคาคุณศัพท์ที่กาหนดไว้จัดเรียงลงในมาตราวัดแบบสุ่ม โดยไม่แยก
องค์ประกอบและทิศทาง ไม่ควรจัดให้คาคุณศัพท์ทางบวกอยู่ด้านเดียวกันหมด ควร
คละกันไป เพื่อป้องกันการตอบของผู้ตอบที่ประเมินค่าโดยมีอคติ หรือตอบโดยไม่มี
การพิจารณา ในการวัดแต่ละมโนมติควรใช้คาคุณศัพท์คู่ประมาณ 5-30 คู่
ใช้วิธีกาหนดน้าหนักสมมุติ (Arbitrary weighting)
อาจเป็น 3, 5, 7 หรือ 9 ช่วงก็ได้ แต่ออสกูดเสนอแนะว่ามาตรา
แบบ 7 ช่วงเป็นแบบที่มีประสิทธิภาพในการวัดมากกว่า
คะแนนเจตคติของ นักเรียนคนหนึ่งที่มีต่อ "ครู" ซึ่งมี 4 มโน
มติ
แบบสอบถามประเภทนี้จะประกอบด้วยตัวเลือกชุดหนึ่ง ให้ผู้ตอบเรียงลาดับตาม
ความคิดเห็นของตน หรือ เรียงอันดับตามความสาคัญจากมาก
ไปหาน้อยตามความรู ้สึกของผู้ตอบ
2.5 แบบจัดอันดับ
(Ranking)
ตัวอย่าง
ถ้าท่านสอบเข้าเรียนในมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ได้ท่านจะเลือกเรียนคณะใด?
โปรดใส่ อันดับ 1 ใน หน้าชื่อคณะที่ท่านอยากเรียนมากที่สุด
อันดับ 2 ใน หน้าชื่อคณะที่ท่านอยากเรียนรองลงมา และใส่เลขมากขึ้นเรื่อย ๆ
จนถึงคณะที่ท่านชอบน้อยที่สุด
ครุศาสตร์
วิทยาการจัดการ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
ตัวอย่าง แบบจัดอันดับ (Ranki
โดยให้ผู้ตอบเลือกแสดงความเห็นของตนอย่างใดอย่างหนึ่ง
2.6 แบบสอบถามที่มี 2
ตัวเลือก หรือแบบสารวจ
(Check List)
ตัวอย่าง
1. ท่านคิดว่าการเรียนภาษาอังกฤษให้ได้ผล
ต้องให้ครูต่างชาติสอน
2. ในปีการศึกษา 2563 ท่านคิดว่าวิชา
ภาษาอังกฤษควรให้ครูต่างชาติสอนทุกชั่วโมง
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย
วอย่างแบบ Check List
โครงสร้างของแบบสอบถาม ประกอบ
ไปด้วย 3 ส่วนสาคัญ ดังนี้
1. คาชี้แจง โดยมากมักจะอยู่ส่วนแรกของ
แบบสอบถาม ระบุถึง
- จุดประสงค์ที่ให้ตอบแบบสอบถาม
- การนาคาตอบที่ได้ไปใช้ประโยชน์อย่างไร
- คาอธิบายลักษณะของแบบสอบถาม
- วิธีการตอบแบบสอบถามพร้อมตัวอย่าง
- ชื่อ และที่อยู่ของผู้วิจัย
- ประเด็นที่สาคัญคือ การแสดงข้อความที่ทาให้
ผู้ตอบมีความมั่นใจว่าข้อมูลที่ตอบไปจะไม่ถูกเปิดเผยเป็น
รายบุคคล จะไม่มีผลกระทบต่อผู้ตอบ และมีการพิทักษ์
สิทธิของผู้ตอบด้วย2. คาถามเกี่ยวกับข้อมูล
ส่วนตัว เป็นข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับผู้ตอบ
คาถาม เช่น เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพ
ศาสนา เป็นต้น โดยมากมักใช้เป็นตัวแปรอิสระใน
งานวิจัยนอกจากนี้ไม่นิยมให้ผู้ตอบแบบสอบถาม
กรอกชื่อ-นามสกุลตนเอง
3. คาถามเกี่ยวกับคุณลักษณะ
หรือตัวแปรที่จะวัด อาจเป็นคาถาม
แบบปลายเปิดหรือแบบปลายปิดก็ได้ อาจเป็น
การแสดงความคิดเห็นทัศนคติ หรือข้อเท็จจริง
ของแต่ละบุคคล
แบ่งออกได้ 7 ขั้นตอน
ขั้นที่ 1 ศึกษา
คุณลักษณะที่จะวัด
ขั้นที่ 2 กาหนด
ประเภทของข้อคาถาม
ขั้นที่ 3 การร่าง
แบบสอบถาม
ขั้นที่ 6 ปรับปรุง
แบบสอบถามให้สมบูรณ์
ขั้นที่ 5 วิเคราะห์
คุณภาพแบบสอบถาม
ขั้นที่ 4 ตรวจสอบ
และปรับปรุงร่าง
แบบสอบถาม
ขั้นที่ 7 จัดพิมพ์
แบบสอบถามและเก็บ
ข้อมูลจากตัวอย่างจริง
ขั้นที่ 1 ศึกษา
คุณลักษณะที่จะวัด
การศึกษาคุณลักษณะ สามารถดูได้จาก วัตถุประสงค์ของการวิจัย กรอบ
แนวความคิดหรือสมมติฐานการวิจัย จากนั้นจึงศึกษาคุณลักษณะ หรือตัว
แปรที่จะวัดให้เข้าใจอย่างละเอียดทั้งเชิงทฤษฎีและนิยามเชิงปฏิบัติการ
ขั้นที่ 2 กาหนดประเภทของ
ข้อคาถาม
เป็นคาถามที่เปิดโอกาสให้ผู้ตอบสามารถตอบได้อย่างเต็มที่
คาถามปลายเปิดจะนิยมใช้กันมากในกรณีที่ผู้วิจัยไม่สามารถ
คาดเดาได้ล่วงหน้าว่าคาตอบจะเป็นอย่างไร หรือใช้คาถาม
ปลายเปิดในกรณีที่ต้องการได้คาตอบเพื่อนามาเป็นแนวทางใน
การสร้างคาถามปลายปิด
เป็นคาถามที่ผู้วิจัยมีแนวคาตอบไว้ให้ผู้ตอบเลือกตอบจาก
คาตอบที่กาหนดไว้เท่านั้น คาตอบที่ผู้วิจัยกาหนดไว้ล่วงหน้า
มักได้มาจากการทดลองใช้คาถามในลักษณะที่เป็นคาถาม
ปลายเปิด หรือการศึกษากรอบแนวความคิด สมมติฐานการ
วิจัย และนิยามเชิงปฏิบัติการ
ข้อคาถามในแบบสอบถามแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ
1. คาถามปลายเปิ ด
(Open-End)
2. คาถามปลายปิ ด
(Close-End)
ขั้นที่ 3 การร่าง
แบบสอบถาม
การเขียนข้อคาถามต่างๆ ให้สอดคล้องกับสิ่งต้องการศึกษาหาคาตอบ และคาดด้วย
ว่าคาตอบเหล่านั้นจะสนองวัตถุประสงค์ของการวิจัย เพียงใด อาจใช้เป็นคาถาม
ปลายปิดหรือปลายเปิดก็ได้ขึ้นอยู่กับความเหมาะสม
โดยมีหลักการในการสร้างแบบสอบถาม ดังนี้
หลักการในการสร้าง
แบบสอบถาม
หลักการในการสร้าง
แบบสอบถาม
คาถามต้องน่าสนใจสามารถ
กระตุ้นให้เกิดความอยากตอบ
สอดคล้อง
กับ
วัตถุประสง
ค์การวิจัย
ใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย
เหมาะสมกับผู้ตอบ
ใช้ข้อความที่
สั้น กระทัดรัด
ได้ใจความ
แต่ละคาถามควรมีนัย เพียงประเด็นเดีย
หลีกเลี่ยงการใช้ประโยคปฏิเสธซ้อน
ไม่ควรใช้คาย่อ
หลีกเลี่ยงการใช้คาที่
เป็นนามธรรมมาก
ไม่ชี้นาการตอบให้
เป็นไปแนวทางใด
แนวทางหนึ่ง
หลีกเลี่ยงคาถามที่ทาให้
ผู้ตอบเกิดความลาบากใจใน
การตอบ
คาตอบที่มีให้เลือก
ต้องชัดเจนและ
ครอบคลุมคาตอบที่
เป็นไปได้
หลีกเลี่ยงคาที่สื่อความหมายหลายอย่าง
ไม่ควรเป็นแบบสอบถามที่มีจานวน
มากเกินไป ไม่ควรให้ผู้ตอบใช้เวลา
ในการตอบแบบสอบถามนานเกินไป
ข้อคาถามควรถามประเด็นที่
เฉพาะเจาะจงตามเป้าหมายของการ
วิจัย
ไม่ถามเรื่องที่เป็นความลับ
เพราะจะทาให้ได้คาตอบที่ไม่
ตรงกับข้อเท็จจริง
ต้องเรียงจากข้อคาถามจากง่ายไป
หายาก เพื่อชักจูงให้ผู้ตอบอยาก
ตอบคาถามต่อ
ข้อคาถามต้องเหมาะสมกับกลุ่ม
ตัวอย่าง คือ ต้องคานึงถึงระดับ
การศึกษา ความ
สนใจ สภาพเศรษฐกิจ ฯลฯ
ขั้นที่ 4 ตรวจสอบและปรับปรุงร่าง
แบบสอบถาม
เป็นการหาข้อบกพร่องของแบบสอบถาม สามารถทาได้ 2 วิธี คือ
เพื่อพิจารณาถึงถ้อยคาและประโยคว่าชัดเจนหรือไม่ และดูการ
จัดเรียงข้อคาถามว่าเหมาะสมหรือยัง
เพื่อขอคาแนะนาและคาวิจารณ์สาหรับแนวทางในการปรับปรุง
แบบสอบถามให้ความน่าเชื่อถือมากที่สุด รวมทั้งการพิจารณา
เกี่ยวกับความเที่ยงตรง ของแบบสอบถามด้วย
4.1 การตรวจสอบโดยผู้ศึกษาวิจัยเองอีกครั้ง
4.2 การตรวจสอบโดยผู้ทรงคุณวุฒิ
ขั้นที่ 5 วิเคราะห์
คุณภาพแบบสอบถาม
เป็นการนาแบบสอบถามที่ได้ปรับปรุงแล้วไปทดลอง การนาไปทดลองใช้
(Try out) ควรนาไปทดลองกับกลุ่มที่มีลักษณะเหมือน หรือใกล้เคียงกับกลุ่ม
ที่จะไปเก็บรวบรวมข้อมูลจริง (โดยทั่วไปประมาณ 20 คน)
เพื่อนาผลมาตรวจสอบคุณภาพของแบบสอบถาม ซึ่งการวิเคราะห์หรือ
ตรวจสอบคุณภาพของแบบสอบถามทาได้หลายวิธี แต่ที่สาคัญมี 2 วิธี ได้แก่
1. ความตรง/
เที่ยงตรง (Validity)
2. ความเที่ยง/เชื่อมั่น (Reliability)
วิธีที่ 1 วิธีที่ 2
1. ความตรง/
เที่ยงตรง (VALIDITY)
หมายถึง
แบบสอบถามมีความตรงกับสิ่งที่ต้องการวัด
1. ความตรง/
เที่ยงตรง (Validity)
ประเภทของความตรง (Type of Validit
1. ความตรงตาม
เนื้อหา
(content
validity)
2. ความตรงตามเกณฑ์
สัมพันธ์ (criterion
related validity)
2.2 ความตรงตาม
พยากรณ์ (predictive
validity)
3. ความตรงตาม
โครงสร้าง
(construction
2.1 ความตรงตามสภาพ
ปัจจุบัน (concurrent
validity)
แบ่งได้ 3 ประเภท
ค่าสถิติที่ใช้ในการหาคุณภาพ คือ ค่าความสอดคล้องระหว่างข้อคาถามกับ
วัตถุประสงค์ หรือเนื้อหา (IOC: Index of item Objective
Congruence) หรือดัชนีความเหมาะสม โดย
ให้
ผู้เชี่ยวชาญ
ประเมิน
เนื้อหาของ
ข้อถามเป็ น
1) ความตรงตามเนื้อหา (Content Validity)
หมายถึง การที่แบบสอบถามมีความครอบคลุมวัตถุประสงค์หรือพฤติกรรมที่
ต้องการวัดหรือไม่
แบ่งออกได้เป็น ความตรงตามสภาพปัจจุบัน (concurren
validity)
และ ความตรงตามการพยากรณ์ (predictive validity)
สถิติที่ใช้วัดความเที่ยงตรงตามเกณฑ์ เช่น ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์
(Correlation Coefficient) ทั้งของ Pearson และ
Spearman และ ค่า t-test เป็นต้น
2) ความตรงตามเกณฑ์สัมพันธ์ (Criterion-
related Validity)
หมายถึง การประเมินความตรงโดยวิเคราะห์หาความสัมพันธ์กับเกณฑ์
มาตรฐาน
เป็นคุณสมบัติของเครื่องมือที่สามารถวัดคุณลักษณะที่ศึกษาได้ สอดคล้ององกับเกณฑ์
ที่กาหนดในปัจจุบัน
วิธีการ
นาแบบวัด 2 ฉบับซึ่งวันในคุณลักษณะเดียวกันหรือวัดตัวแปรเดียวกัน โดย
แบบวัดฉบับหนึ่งเป็นฉบับที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นและแบบวัดอีกฉบับหนึ่งเป็นแบบวัด
มาตรฐาน ไปให้กลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดียวกันตอบ
นาข้อมูล 2 ชุดมาวิเคราะห์หาค่าสหสัมพันธ์ หากค่าสหสัมพันธ์มีค่าสูงคือ
แบบวัดที่พัฒนาขึ้นมีความตรงตามสภาพปัจจุบัน
การตรวจสอบ: นาค่าคะแนนที่ได้ไปหาค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์ (r) กับ
เครื่องมือที่เป็นมาตรฐาน
ถ้าค่า r สูง (เข้าใกล้ 1) แสดงว่าเครื่องมือตรงตามสภาพสูง
2.1) ความตรงตามสภาพปัจจุบัน concurrent validity
2) ความตรงตามเกณฑ์สัมพันธ์ (Criterion-
related Validity)
เป็นคุณลักษณะของเครื่องมือที่สามารถวัดคุณลักษณะที่ศึกษาได้ตรงตามเกณฑ์
พยากรณ์ของคุณลักษณะนั้นๆ ในอนาคต
ความสัมพันธ์ของสิ่งที่เครื่องมือวัดได้ในปัจจุบันกับสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
การตรวจสอบ: เกณฑ์ เป็นเหตุการณ์จริงที่เกิดขึ้นตามมา (อนาคต)
ถ้าเหตุการณ์ถูกต้องมาก ความตรงจะมีค่าสูง
ถ้าถูกต้องน้อย ความตรงก็ต่า
สถิติที่ใช้ ค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์
ถ้า r > .45 อยู่ในเกณฑ์ดี
เช่น แบบวัดความเสี่ยงต่อการเป็นโรคหัวใจจะทดสอบความเที่ยงตรงตามการพยากรณ์
ได้
ต้องศึกษาติดตามบุคคลกลุ่มนั้น ว่าป่วยเป็นโรคหัวใจในอนาคต
2.2) ความตรงตามการพยากรณ์ (predictive validity)
2) ความตรงตามเกณฑ์สัมพันธ์ (Criterion-
related Validity)
หมายถึง ความสามารถของแบบสอบถามที่สามารถวัดได้ตรงตามโครงสร้าง
หรือ
คุณลักษณะตามทฤษฎีของสิ่งนั้น ซึ่งมักจะมีในแบบวัดทางจิตวิทยาและ
แบบวัดสติปัญญาสถิติที่ใช้วัดความเที่ยงตรงตามโครงสร้างมีหลายวิธี เช่น การวิเคราะห์องค์ประกอบ
(Factor Analysis) การตรวจสอบในเชิงเหตุผล เป็นต้น
3) ความตรงตามโครงสร้าง (Construct
Validity)
วิธีการหาความตรงตามโครงสร้าง
มีวิธีต่างๆดังนี้
1. เทคนิคการทดสอบกับกลุ่มที่รู้จัก known
group method
2. วิธีการตรวจสอบภายใน intratest method
3. วิธีตรวจสอบภายนอก intertest method
4. เทคนิคการวิเคราะห์ตัวประกอบ Factor
Analysis Technique
ทาได้ง่าย เป็นที่นิยม
วิธีการ: นาเครื่องมือไปทดสอบกับกลุ่มที่รู้จักดีอยู่แล้ว ว่ามีลักษณะที่
ต้องการจะวัด
คะแนนที่ได้จะบอกให้ทราบว่า เครื่องมือนั้นๆ มีความตรงหรือไม่
วิธีการหาความตรงตามโครงสร้าง
มีวิธีต่างๆดังนี้
1. เทคนิคการทดสอบกับกลุ่มที่รู้จัก known group
method
ศึกษาโครงสร้างของคาถามในเครื่องมือว่า วัดคุณลักษณะเดียวกันหรือ
หลายอย่าง
เป็ นการวัดความเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกัน
homogeneous
วิธีการคานวณ:
• คูเดอร์ ริชาร์ดสัน Kuder-Richardson
• ครอนบาค แอลฟา Cronbach's alpha
วิธีการหาความตรงตามโครงสร้าง
มีวิธีต่างๆดังนี้
2. วิธีการตรวจสอบภายใน intratest method
หาความสัมพันธ์ระหว่างคะแนนที่ได้จากแบบวัดที่สร้างขึ้นกับแบบวัดอื่น
ซึ่งวัดในทฤษฎีเดียวกัน และต้องเป็นแบบวัดที่ได้มาตรฐาน
4. เทคนิคการวิเคราะห์ตัวประกอบ Factor Analysis
Technique
วิธีการหาความตรงตามโครงสร้าง
มีวิธีต่างๆดังนี้
3. วิธีตรวจสอบภายนอก intertest method
2. ความเที่ยง/เชื่อมั่น
(RELIABILITY)
หมายถึง
ความคงที่ของผลที่ได้จากการวัดด้วย
เครื่องมือชุดใดชุดหนึ่งในการวัดหลายๆ ครั้ง
เอาตุ้มน้าหนัก 1 กิโลกรัม ไปชั่งด้วยเครื่องชั่งเครื่องหนึ่ง เครื่องชั่งจะ
บอกค่าน้าหนักออกมาค่าหนึ่ง อาจเป็น 1 กิโลกรัม หรือค่าอื่นๆ เมื่อเอาตุ้มน้าหนักนั้น
ชั่งด้วยเครื่องนี้หลายครั้ง จะปรากฏค่าน้าหนักเท่าเดิมเสมอ แสดงว่าเครื่องชั่งมีค่าความ
เชื่อมั่น
สถิติที่ใช้ในการหาค่าความเที่ยงมีหลายวิธี แต่นิยมใช้กันคือ การหาสัมประสิทธิ์แอลฟา
ของครอนบาค (Cronbach’s Alpha Coefficient) ซึ่งจะใช้
สาหรับข้อมูลที่มีการแบ่งระดับการวัดแบบประมาณค่า (Rating Scale)
ในทางแบบทดสอบก็เช่นเดียวกัน ถ้าหากแบบทดสอบชุดนี้มีค่าความเชื่อมั่นแล้ว จะ
นาไปทดสอบคนคนนี้กี่ครั้ง ผลที่ออกมาก็จะได้เท่าเดิม
2. ความเที่ยง/เชื่อมั่น
(RELIABILITY)
ตัวอย่าง
3. การหาสัมประสิทธิ์แอลฟา ของครอนบาค
วิธีการหาค่าความเชื่อมั่น
1. การวัดความคงที่ภายนอก measures of stability
หรือการวัดความคงเส้นคงวา measures of external
consistency
2. การวัดความสอดคล้องภายใน measures of internal
consistency
หมายเหตุ: การเลือกวิธีการหาค่าความเชื่อมั่นขึ้นอยู่กับข้อจากัดของแต่ละวิธี
ใช้แบบวัด 1 ชุดเดียวกัน ทดสอบกับบุคคลกลุ่มเดียวกันจานวน 2 ครั้ง ใน
ระยะเวลาต่างกัน
แล้วนาคะแนนที่ได้จากการวัดทั้ง 2 ครั้งมาหาความสัมพันธ์ โดยการคานวณค่าสัม
ประสิทธ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Peason Product Moment
Correlation Coeffient)
ถ้าค่าที่คานวณได้สูงแสดงว่าคะแนนจากการวัดทั้ง 2
ครั้งมี ความสัมพันธ ์กันสูง
1. วิธีการหาค่าความคงที่ภายนอก
1.1) วิธีการทดสอบซ้า test-retest method
วิธีการหาค่าความเชื่อมั่น
rxy หมายถึง ค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์แบบ
เพียร์สัน
X หมายถึง คะแนนที่ได้จาการตอบแบบวัดครั้งที่
1
วิธีการหาค่าความเชื่อมั่น
การคานวณค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Peason Product
Moment Correlation Coeffient)
ระยะเวลาในการทดสอบ: ไม่ควรเกิน 6 เดือน
ในทางปฏิบัติโดยมากใช้ช่วง 1 วัน - 1 สัปดาห์
ถ้าเป็นแบบวัดผลสัมฤทธิ์ควรห่างกันอย่างน้อย 1 สัปดาห์ แต่ไม่ควรเกิน 3
สัปดาห์
สาเหตุที่อาจทาให้เกิดความคลาดเคลื่อน
1. ผู้ตอบว่าข้อคาถามได้จากการตอบครั้งแรก
2. ระยะเวลาที่ห่างเปิดโอกาสให้ผู้ตอบได้เรียนรู้เพิ่มเติม
3. องค์ประกอบอื่นเช่นสถานที่บรรยากาศและเวลาที่ท่าการตอบไป
วิธีการหาค่าความเชื่อมั่น
r1 หมายถึง ค่าสัมประสิทธ์ความเที่ยงของ
ฉบับเต็ม
r หมายถึง ค่าสัมประสิทธ์ความเที่ยงของครึ่ง
ฉบับ
วิธีการหาค่าความเชื่อมั่น
2. วิธีการวัดความสอดคล้องภายใน
2.1 เทคนิคการแบ่งครึ่ง (split half technique)
3. การหาสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค (Cronbach’s Alpha
แอลฟา ต้องมีค่ามากกว่า 0.7 ขึ้นไป ถึงมีความเชื่อมั่น ยิ่งใกล้ 1 ยิ่งดี
หมายถึง ค่าความเชื่อมั่นจะสูงมากนั่นเอง แต่ถ้าเป็นลบ หรือน้อยๆ ก็แปลว่า
ข้อสอบบางข้อยังไม่สัมพันธ์กับข้ออื่นๆ หมายถึงต้องแก้ไข
วิธีการหาค่าความเชื่อมั่น
คานวณค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม
ด้วยโปรแกรม Excel
ทางเว็บไซต์ ทางYoutube
ขั้นที่ 6 ปรับปรุงแบบสอบถาม
ให้สมบูรณ์
ผู้วิจัยจะต้องทาการแก้ไขข้อบกพร่องที่ได้จากผลการวิเคราะห์คุณภาพแบบสอบถาม และ
ตรวจสอบความถูกต้องของถ้อยคาหรือสานวน เพื่อให้แบบสอบถามมีความสมบูรณ์และมีคุณภาพ
ผู้ตอบอ่านเข้าใจได้ตรงประเด็นที่ผู้วิจัยต้องการ ซึ่งจะทาให้ผลงานวิจัยเป็นที่น่าเชื่อถือยิ่งขึ้น
จัดพิมพ์แบบสอบถามที่ได้ปรับปรุงเรียบร้อยแล้วเพื่อนาไปใช้จริงในการเก็บรวบรวมข้อมูลกับ
กลุ่มเป้าหมาย โดยจานวนที่จัดพิมพ์ควรไม่น้อยกว่าจานวนเป้าหมายที่ต้องการเก็บรวบรวม
ข้อมูล และควรมีการพิมพ์สารองไว้ในกรณีที่แบบสอบถามเสียหรือสูญหายหรือผู้ตอบไม่ตอบ
กลับ
ขั้นที่ 7 จัดพิมพ์แบบสอบถามและ
เก็บข้อมูลจากตัวอย่างจริง
เกร็ดความรู้
เทคนิคการใช้
แบบสอบถาม
วิธีใช้แบบสอบถามมี 2 วิธี คือการส่งทางไปรษณีย์ กับการเก็บข้อมูลด้วยตนเอง ซึ่ง
ไม่ว่ากรณีใดต้องมีจดหมายระบุวัตถุประสงค์ของการเก็บข้อมูล ตลอดจนความสาคัญของข้อมูล
และผลที่คาดว่าจะได้รับ เพื่อให้ผู้ตอบตระหนักถึงความสาคัญและสละเวลาในการตอบ
แบบสอบถาม
การทาให้อัตราตอบแบบสอบถามสูงเป็นเป้าหมายสาคัญของผู้วิจัย ข้อมูลจากแบบสอบถามจะ
เป็นตัวแทนของประชากรได้เมื่อมีจานวนแบบสอบถามคืนมามากว่าร้อยละ 90 ของจานวน
แบบสอบถามที่ส่งไป
1.มีการติดตามแบบสอบถามเมื่อให้เวลาผู้ตอบไประยะหนึ่ง ระยะเวลาที่เหมาะสมในการติดตาม
คือ 2 สัปดาห์ หลังครบกาหนดส่ง อาจจะติดตามมากกว่าหนึ่งครั้ง
2.วิธีการติดตามแบบสอบถาม อาจใช้จดหมาย ไปรษณีย์ โทรศัพท์ เป็นต้น
3.ในกรณีที่ข้อคาถามอาจจะถามในเรื่องของส่วนตัว ผู้วิจัยต้องให้ความมั่นใจว่าข้อมูลที่ได้จะ
เป็นความลับ
แนวทางที่จะทาให้ได้รับแบบสอบถามกลับคืนใน
อัตราที่สูง มีวิธีการดังนี้
ข้อเด่นและข้อด้อยของการเก็บ
ข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม
1.ถ้ากลุ่มตัวอย่างมีขนาดใหญ่ วิธีการ
เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม จะเป็น
วิธีการที่สะดวกและประหยัดกว่าวิธีอื่น
2. ผู้ตอบมีเวลาตอบมากกว่าวิธีการอื่น
3.ไม่จาเป็นต้องฝึกอบรมพนักงานเก็บ
ข้อมูลมากเหมือนกับวิธีการสัมภาษณ์
หรือวิธีการสังเกต
4.ไม่เกิดความลาเอียงอันเนื่องมาจาก
การสัมภาษณ์หรือการสังเกต เพราะ
ผู้ตอบเป็นผู้ตอบข้อมูลเอง
การใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลมีข้อเด่นและข้อด้อยที่ต้องพิจารณาประกอบในการ
เลือกใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล ดังนี้
ข้อเด่นของการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามมีดังนี้คือ
5.สามารถส่งแบบสอบถามให้ผู้ตอบ
ทางไปรษณีย์ได้
6. ประหยัดค่าใช้จ่ายในการเก็บข้อมูล
7. คาตอบสามารถนามาวิเคราะห์และ
สรุปผลได้ง่าย
8.สามารถเก็บข้อมูลที่อยู่ห่างไกล
กระจัดกระจายกันได้โดยอาศัยระบบการ
สื่อสารทางไปรษณีย์
ข้อด้อยของการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม มี
ดังนี้คือ
1. ในกรณีที่ส่งแบบสอบถามให้ผู้ตอบทางไปรษณีย์ มักจะได้แบบสอบถามกลับคืนมาน้อย
และต้องเสียเวลาในการติดตาม อาจทาให้ระยะเวลาการเก็บข้อมูลล่าช้ากว่าที่กาหนดไว้
2. การเก็บข้อมูลโดยวิธีการใช้แบบสอบถามจะใช้ได้เฉพาะกับกลุ่มประชากรเป้าหมายที่อ่าน
และเขียนหนังสือได้เท่านั้น
3. จะได้ข้อมูลจากัดเฉพาะที่จาเป็นจริงๆ เท่านั้น เพราะการเก็บข้อมูลโดยวิธีการใช้
แบบสอบถามจะต้องมีคาถามจานวนน้อยข้อที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้
ข้อด้อยของการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม มี
ดังนี้คือ
4. การส่งแบบสอบถามไปทางไปรษณีย์ หน่วยตัวอย่างอาจไม่ได้เป็นผู้ตอบแบบสอบถามเองก็
ได้ ทาให้คาตอบที่ได้มีความคลาดเคลื่อนไม่ตรงกับความจริง
5. ถ้าผู้ตอบไม่เข้าใจคาถามหรือเข้าใจคาถามผิด หรือไม่ตอบคาถามบางข้อ หรือไม่ไตร่ตรอง
ให้รอบคอบก่อนที่จะตอบคาถาม ก็จะทาให้ข้อมูลมีความคลาดเคลื่อนได้ โดยที่ผู้วิจัยไม่สามารถ
ย้อนกลับไปสอบถามหน่วยตัวอย่างนั้นได้อีก
6. ผู้ที่ตอบแบบสอบถามกลับคืนมาทางไปรษณีย์ อาจเป็นกลุ่มที่มีลักษณะแตกต่างจากกลุ่มผู้
ที่ไม่ตอบแบบสอบถามกลับคืนมา ดังนั้นข้อมูลที่นามาวิเคราะห์จะมีความลาเอียงอัน
เนื่องมาจากกลุ่มตัวอย่างได้
เทคนิคการตั้ง
คาถาม
การตั้งคาถามและการใช้ถ้อยคาเป็นเรื่องสาคัญ จะต้องอาศัยศิลปะ และความชานาญ
ประกอบด้วย เทคนิคการตั้งคาถามโดยทั่วไป มีดังนี้
1. ใช้คาถามที่ชัดเจน สั้น กระชับ เข้าใจง่าย และได้ใจความ ไม่ตีความหมายได้
หลายแง่หลายด้าน
2. ตั้งคาถามที่จูงใจให้ผู้ตอบ
3. ไม่ควรใช้คาที่ตีความหมายได้แตกต่างกันในแต่ละบุคคล เช่น คาว่า บ่อยๆ
บางครั้งนานๆครั้ง ซึ่งแต่ละคนจะตีความหมายของความถี่แตกต่างกัน เช่น บางคน
ตีความหมายของคาว่าบ่อยว่า ทุกสัปดาห์ หรือบางคนตีความหมายว่า เดือนละครั้ง
ก็ได้ เป็นต้น
4. ไม่ควรใช้ปฏิเสธซ้อนปฏิเสธ เช่น ห้ามไม่ให้ เป็นต้น
5. ระวังไม่ให้ตัวเลือกตอบน้อยเกินไป และควรให้มีตัวเลือกตอบที่คนส่วนใหญ่น่าจะ
เลือกตอบอยู่ด้วย
6. หลีกเลี่ยงคาที่ในรูปนามธรรม เนื่องจากแต่ละบุคคลตีความไม่เหมือนกัน เช่น เลว
ดี มาก น้อย สวย รวย จน เป็นต้น
7.ระมัดระวังในการใช้บางคาที่เกิดขึ้นตามยุคสมัย หรือตามสื่อต่างๆ เช่น ดูด ชิวๆ
แฉล้ม เป็นต้น รวมทั้งไม่ใช้คาสุภาพ ภาษาแสลง
เทคนิคการตั้ง
คาถาม
8. ไม่ควรตั้งคาถามที่เอนเอียงไปทางใดทางหนึ่ง เช่น การขึ้นต้นข้อคาถามในลักษณะ
ที่เห็นด้วย ถูกต้องหรือไม่เห็นด้วยอย่างชัดเจน และที่สาคัญในการตั้งคาถามใดๆ ควรตั้ง
คาถามที่สามารถนาข้อมูลนั้นไปวิเคราะห์ ทางสถิติได้ง่ายอาจกาหนดให้มีคาถามปลาย
ปิดมากกว่าคาถามปลายเปิด ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ในการเก็บรวบรวมข้อมูลใน
ครั้งนั้นๆ
เทคนิคการตั้ง
คาถาม
แบบสอบถาม

More Related Content

What's hot

ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนKrupol Phato
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก Jeerapob Seangboonme
 
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxJessie SK
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารพัน พัน
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศkrupornpana55
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์Jirathorn Buenglee
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์Nonsawan Exschool
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกChainarong Maharak
 
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนwaranyuati
 
การย่อยอาหารของมนุษย์ Human digestive system
การย่อยอาหารของมนุษย์ Human digestive systemการย่อยอาหารของมนุษย์ Human digestive system
การย่อยอาหารของมนุษย์ Human digestive systemPat Pataranutaporn
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารPinutchaya Nakchumroon
 
ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์Dnavaroj Dnaka
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202พัน พัน
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)Chamada Rinzine
 

What's hot (20)

ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก
 
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
 
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
 
การย่อยอาหารของมนุษย์ Human digestive system
การย่อยอาหารของมนุษย์ Human digestive systemการย่อยอาหารของมนุษย์ Human digestive system
การย่อยอาหารของมนุษย์ Human digestive system
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
 
การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
สรุปเซลล์
สรุปเซลล์สรุปเซลล์
สรุปเซลล์
 
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
 

Similar to แบบสอบถาม

Questionare
QuestionareQuestionare
Questionarepingkung
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้poms0077
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้poms0077
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัยKruBeeKa
 
การวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผลการวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผลAnny Hotelier
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้tuphung
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้tuphung
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้tuphung
 
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนการเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนppisoot07
 
Mind Map 3.pdf
Mind Map 3.pdfMind Map 3.pdf
Mind Map 3.pdfCopTer4
 
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คSalisa Khonkhayan
 
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คSalisa Khonkhayan
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนวyutict
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลSarawut Tikummul
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลSarawut Tikummul
 
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)ชนาธิป ศรีโท
 
แบบทดสอบ
แบบทดสอบแบบทดสอบ
แบบทดสอบMix Chanatkrit
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยChamada Rinzine
 

Similar to แบบสอบถาม (20)

Questionare
QuestionareQuestionare
Questionare
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
 
การวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผลการวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผล
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
 
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนการเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
 
Mind Map 3.pdf
Mind Map 3.pdfMind Map 3.pdf
Mind Map 3.pdf
 
Research-tools 2014
Research-tools 2014Research-tools 2014
Research-tools 2014
 
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
 
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
 
Test Blueprint ONET M3 2560
Test Blueprint ONET M3 2560Test Blueprint ONET M3 2560
Test Blueprint ONET M3 2560
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนว
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผล
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผล
 
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
 
แบบทดสอบ
แบบทดสอบแบบทดสอบ
แบบทดสอบ
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
 

More from khanidthakpt

สื่อ PPT เรื่อง There is,There are ป.6
สื่อ PPT เรื่อง There is,There are ป.6สื่อ PPT เรื่อง There is,There are ป.6
สื่อ PPT เรื่อง There is,There are ป.6khanidthakpt
 
PPT ทำใบงาน Part of body
PPT ทำใบงาน Part of bodyPPT ทำใบงาน Part of body
PPT ทำใบงาน Part of bodykhanidthakpt
 
ใบงาน Part of body
ใบงาน Part of bodyใบงาน Part of body
ใบงาน Part of bodykhanidthakpt
 
ประเภทการวิจัย
ประเภทการวิจัยประเภทการวิจัย
ประเภทการวิจัยkhanidthakpt
 
แบบฝึกหัด Listening
แบบฝึกหัด Listeningแบบฝึกหัด Listening
แบบฝึกหัด Listeningkhanidthakpt
 
บทละครสั้น The merchant of Venice
บทละครสั้น The merchant of Veniceบทละครสั้น The merchant of Venice
บทละครสั้น The merchant of Venicekhanidthakpt
 
Chant Playway in Habit song
Chant Playway in Habit songChant Playway in Habit song
Chant Playway in Habit songkhanidthakpt
 
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยkhanidthakpt
 
วิเคราะห์บทแปล Twilight
วิเคราะห์บทแปล Twilight วิเคราะห์บทแปล Twilight
วิเคราะห์บทแปล Twilight khanidthakpt
 
The merchant of Venice
The merchant of VeniceThe merchant of Venice
The merchant of Venicekhanidthakpt
 
Sickness lesson plan
Sickness lesson planSickness lesson plan
Sickness lesson plankhanidthakpt
 
บทละคร Mangita and larina สำหรับแสดงละครสั้นภาษาอังกฤษ
บทละคร Mangita and larina สำหรับแสดงละครสั้นภาษาอังกฤษบทละคร Mangita and larina สำหรับแสดงละครสั้นภาษาอังกฤษ
บทละคร Mangita and larina สำหรับแสดงละครสั้นภาษาอังกฤษkhanidthakpt
 
แผนการสอนระดับท้องถิ่น - ร.พ เจ้าพระยาอภับภูเบศร
แผนการสอนระดับท้องถิ่น - ร.พ เจ้าพระยาอภับภูเบศรแผนการสอนระดับท้องถิ่น - ร.พ เจ้าพระยาอภับภูเบศร
แผนการสอนระดับท้องถิ่น - ร.พ เจ้าพระยาอภับภูเบศรkhanidthakpt
 
สรุปนิทาน Anna karenina
สรุปนิทาน Anna kareninaสรุปนิทาน Anna karenina
สรุปนิทาน Anna kareninakhanidthakpt
 
Short story - Past tense
Short story - Past tenseShort story - Past tense
Short story - Past tensekhanidthakpt
 
Love of others กิจกรรมโฮมรูม
Love of others กิจกรรมโฮมรูมLove of others กิจกรรมโฮมรูม
Love of others กิจกรรมโฮมรูมkhanidthakpt
 
Homeroom games for children
Homeroom games for childrenHomeroom games for children
Homeroom games for childrenkhanidthakpt
 
Who is Christiane Amanpour?
Who is Christiane Amanpour?Who is Christiane Amanpour?
Who is Christiane Amanpour?khanidthakpt
 
What is leaf clovers?
What is leaf clovers?What is leaf clovers?
What is leaf clovers?khanidthakpt
 

More from khanidthakpt (20)

สื่อ PPT เรื่อง There is,There are ป.6
สื่อ PPT เรื่อง There is,There are ป.6สื่อ PPT เรื่อง There is,There are ป.6
สื่อ PPT เรื่อง There is,There are ป.6
 
PPT ทำใบงาน Part of body
PPT ทำใบงาน Part of bodyPPT ทำใบงาน Part of body
PPT ทำใบงาน Part of body
 
ใบงาน Part of body
ใบงาน Part of bodyใบงาน Part of body
ใบงาน Part of body
 
ประเภทการวิจัย
ประเภทการวิจัยประเภทการวิจัย
ประเภทการวิจัย
 
แบบฝึกหัด Listening
แบบฝึกหัด Listeningแบบฝึกหัด Listening
แบบฝึกหัด Listening
 
บทละครสั้น The merchant of Venice
บทละครสั้น The merchant of Veniceบทละครสั้น The merchant of Venice
บทละครสั้น The merchant of Venice
 
Chant Playway in Habit song
Chant Playway in Habit songChant Playway in Habit song
Chant Playway in Habit song
 
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
 
วิเคราะห์บทแปล Twilight
วิเคราะห์บทแปล Twilight วิเคราะห์บทแปล Twilight
วิเคราะห์บทแปล Twilight
 
The merchant of Venice
The merchant of VeniceThe merchant of Venice
The merchant of Venice
 
Sickness lesson plan
Sickness lesson planSickness lesson plan
Sickness lesson plan
 
บทละคร Mangita and larina สำหรับแสดงละครสั้นภาษาอังกฤษ
บทละคร Mangita and larina สำหรับแสดงละครสั้นภาษาอังกฤษบทละคร Mangita and larina สำหรับแสดงละครสั้นภาษาอังกฤษ
บทละคร Mangita and larina สำหรับแสดงละครสั้นภาษาอังกฤษ
 
แผนการสอนระดับท้องถิ่น - ร.พ เจ้าพระยาอภับภูเบศร
แผนการสอนระดับท้องถิ่น - ร.พ เจ้าพระยาอภับภูเบศรแผนการสอนระดับท้องถิ่น - ร.พ เจ้าพระยาอภับภูเบศร
แผนการสอนระดับท้องถิ่น - ร.พ เจ้าพระยาอภับภูเบศร
 
สรุปนิทาน Anna karenina
สรุปนิทาน Anna kareninaสรุปนิทาน Anna karenina
สรุปนิทาน Anna karenina
 
Short story - Past tense
Short story - Past tenseShort story - Past tense
Short story - Past tense
 
Friends game
Friends gameFriends game
Friends game
 
Love of others กิจกรรมโฮมรูม
Love of others กิจกรรมโฮมรูมLove of others กิจกรรมโฮมรูม
Love of others กิจกรรมโฮมรูม
 
Homeroom games for children
Homeroom games for childrenHomeroom games for children
Homeroom games for children
 
Who is Christiane Amanpour?
Who is Christiane Amanpour?Who is Christiane Amanpour?
Who is Christiane Amanpour?
 
What is leaf clovers?
What is leaf clovers?What is leaf clovers?
What is leaf clovers?
 

แบบสอบถาม