SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร
1.
ประวัติความเป็
นมา (3 ชม.)
1.1
สถานที่ตั้ง
1.2
ต้นกาเนิดโ
รงพยาบาล 1.3
เจ้าพระยา
อภัยภูเบศร
2.
ตึกเจ้าพระยาอภัยภูเ
บศร (4 ชม).
3.
ศูนย์นวดและอบสมุ
นไพร (3 ชม.)
2.1
โพธิ์เงิน
โอสถ
2.4
สินค้าขึ้
นชื่อ
2.3
สวนสมุ
นไพร
3.1
บริการนวด
ของอภัยภูเ
บศร
2.2
สมุนไพร
และสรร
พคุณ3.2
ด้านการแพท
ย์แผนไทย
3.2
การฝัง
เข็ม
5.
แผนผังความคิดของหน่วยก
ารเรียนรู้
5. สาระการเรียนรู้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดช่วงชั้น
สาระกา
รเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดช่วงชั้น
1.
ประวัติค
วามเป็น
มา
-
สถานที่ตั้
ง
-
ประวัติค
วามเป็น
มา
มาตรฐาน ส ๔.๒
เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจ
ากอดีตจนถึงปัจจุบัน
ในด้านความสัมพันธ์และการเปลี่
ยนแปลงของเหตุการณ์
อย่างต่อเนื่อง
ตระหนักถึงความสาคัญและสามา
รถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น
๒.
วิเคราะห์เหตุการณ์สาคัญต่าง
ๆ
ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทา
งสังคม
เศรษฐกิจและการเมือง
เข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน
-
เจ้าพระย
าอภัยภูเ
บศร
มาตรฐาน ส ๔.๓
เข้าใจความเป็นมาของชาติ
ไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย
มีความรัก
ความภูมิใจและธารงความเป็นไท
ย
๑.
วิเคราะห์ประเด็นสาคัญของป
ระวัติศาสตร์ไทย
๓.
วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งเสริมควา
มสร้างสรรค์ภูมิปัญญาไทย
และวัฒนธรรมไทย
ซึ่งมีผลต่อสังคมไทยในยุคปัจ
จุบัน
๔.
วิเคราะห์ผลงานของบุคคลสา
คัญทั้งชาวไทยและต่างประเท
ศ
ที่มีส่วนสร้างสรรค์วัฒนธรรม
ไทย และประวัติศาสตร์ไทย
2.
ตึกเจ้าพ
ระยาอภั
ยภูเบศร
-
โพธิ์เงิน
โอสถ
มาตรฐาน ส ๕.๑
เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภา
พ
และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่ง
มีผลต่อกันและกัน
ในระบบของธรรมชาติ
ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศา
๓.
วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของ
พื้นที่
ซึ่งได้รับอิทธิพลจากปัจจัยทาง
ภูมิศาสตร์ในประเทศไทยและ
ทวีปต่างๆ
-
สมุนไพ
รและสร
รพคุณ
-
สวนสมุ
นไพร
-
สินค้าขึ้
นชื่อ
สตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ สรุป
และใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศอย่าง
มีประสิทธิภาพ
มาตรฐาน ส ๕.๒
เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กั
บสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่
อให้เกิดการสร้างสรรค์วัฒนธรร
ม
มีจิตสานึกและมีส่วนร่วมในการอ
นุรักษ์ทรัพยากร
และสิ่งแวดล้อม
เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
๔.
อธิบายการใช้ประโยชน์จากสิ่
งแวดล้อมในการสร้างสรรค์วั
ฒนธรรม
อันเป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่น
ทั้งในประเทศไทยและโลก
3.
ศูนย์นว
ดและอบ
สมุนไพ
ร
-
บริการน
วดของอ
ภัยภูเบศ
ร
-
ด้านการ
แพทย์แ
ผนไทย
-
การฝังเข็
ม
มาตรฐาน ส ๔.๓
เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย
วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย
มีความรัก
ความภูมิใจและธารงความเป็นไท
ย
๓.
วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งเสริมควา
มสร้างสรรค์ภูมิปัญญาไทย
และวัฒนธรรมไทย
ซึ่งมีผลต่อสังคมไทยในยุคปัจ
จุบัน
๔.
วิเคราะห์ผลงานของบุคคลสา
คัญทั้งชาวไทยและต่างประเท
ศ
ที่มีส่วนสร้างสรรค์วัฒนธรรม
ไทย และประวัติศาสตร์ไทย
๕.
วางแผนกาหนดแนวทางและ
การมีส่วนร่วมการอนุรักษ์ภูมิ
ปัญญาไทยและวัฒนธรรมไท
ย
5. กาหนดเวลาเรียน
สาระการเรียนรู้ เวลา (ชั่วโมง)
1. ประวัติความเป็นมา
- สถานที่ตั้ง
- ประวัติความเป็นมา
- เจ้าพระยาอภัยภูเบศร
3
2. ตึกเจ้าพระยาอภัยภูเบศร
- โพธิ์เงินโอสถ
- สมุนไพรและสรรพคุณ
- สวนสมุนไพร
- สินค้าขึ้นชื่อ
4
3. ศูนย์นวดและอบสมุนไพร
- บริการนวดของอภัยภูเบศร
- ด้านการแพทย์แผนไทย
- การฝังเข็ม
3
รวมเวลาเรียน 10
7. กิจกรรมการเรียนรู้
7.1
การจัดการเรียนรู้โดยอาศัยหลักการและแนวคิดเกี่ยวกับการจัดกระบวนการเรี
ยนรู้
ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ดังนี้
7.1.1 วิธีสอนโดยใช้ศูนย์การเรียน
7.1.2 วิธีสอนแบบสาธิต
7.1.3 วิธีสอนโดยใช้กรณีตัวอย่าง
7.1.4 การจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน
7.1.5 การเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning)
เทคนิค Jigsaw II
เทคนิค G.I.
7.2 การศึกษาจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆในชุมชน
7.3 การสืบค้นจากอินเทอร์เน็ต
8. สื่อ / แหล่งเรียนรู้
8.1 รูปภาพ
8.2 วัสดุ อุปกรณ์
8.3 ใบความรู้ / ใบงาน
8.4 ห้องสมุด
8.5 แหล่งเรียนรู้ในชุมชน
8.6 อินเทอร์เน็ต
9. การวัดและประเมินผล
9.1 ประเมินผลการทาโครงงาน
9.2 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านความรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชั้น ประถมศึกษาปี ที่ 5
หน่วยย่อยเรื่องที่ 1 ประวัติความเป็น
เวลารวม 3 ชั่วโมง
เรื่อง สถานที่ตั้ง ประวัติความเป็นมา เวลา 2
ชั่วโมง
___________________________________________________
_____________________________
มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน
ในด้านความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง
ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น
สาระสาคัญ
โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร ในพระอุปถัมภ์
สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี และ
พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี
เป็นโรงพยาบาลศูนย์ประจาจังหวัดปราจีนบุรี
และเป็นโรงพยาบาลนาร่องเรื่องการแพทย์แผนไทย
ใช้สมุนไพรบาบัดรักษาโรค มีการนวด อบ ประคบ และฝังเข็ม
แปรรูปสมุนไพรไทยเป็นเวชภัณฑ์ และเครื่องสาอาง
การเรียนรู้เกี่ยวกับสถานที่ตั้ง ประวัติความเป็นมา
จะช่วยให้เรียนรู้ความเป็นมาพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน
ตัวชี้วัดชั้นปี
วิเคราะห์เหตุการณ์สาคัญต่างๆ ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
เศรษฐกิจและการเมือง เข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถบอกสถานที่ตั้งโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศรได้
2. นักเรียนสามารถบอกเล่าประวัติความเป็ นมาของโรงพยาบาลเจ้าพระยา
อภัยภูเบศรได้
3. นักเรียนสามารถบอกเส้นทางคมนาคมไปยังโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัย
ภูเบศรได้
4. นักเรียนชี้ที่ตั้งของโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศรในแผนที่ได้
สาระการเรียนรู้
1. สถานที่ตั้ง
2. ประวัติความเป็นมา
กิจกรรมการเรียนรู้
(แนวคิดเกี่ยวกับการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญโดยใช้วิธีสอน
การเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค Jigsaw II)
ขั้นเตรียม
1. ครูชี้แจ้งแนวการปฏิบัติและหลักการทางานร่วมกับผู้อื่น
2. แบ่งกลุ่มนักเรียนเป็นกลุ่มๆ ละ 4-5คน
3. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้
ขั้นสอน
4. ครูแจกให้นักเรียนแต่ละกลุ่มจับฉลากคาถามเกี่ยวกับโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร จับฉลากกลุ่มละ 2
คาถาม แล้วให้นักเรียนภายในกลุ่มช่วยกันตอบคาถามพร้อมดูแผนที่ประเทศไทยประกอบ ดังนี้
1) จังหวัดปราจีนบุรีอยู่ในภาคใดของประเทศไทย ?
2) จังหวัดปราจีนบุรีมีกี่อาเภอ ประกอบด้วยอาเภอใดบ้าง ?
3) โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศรตั้งอยู่อาเภอใด และจังหวัดใด ?
4) เหตุใดโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร จึงได้ใช้ชื่อ “เจ้าพระยาอภัยภูเบศร” ?
5) ใครคือผู้ก่อตั้งโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร ?
6) โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศรถูกก่อตั้งขึ้นในรัชกาลใด ?
7) โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศรถูกก่อตั้งเมื่อใด ?
ขั้นทำกิจกรรมกลุ่ม
5. นักเรียนแต่ละแบ่งกลุ่มใหม่ โดยให้สมาชิกในกลุ่มนับ 12 34 5 นักเรียนคนใดนับหมายเลขใด
ให้นักเรียนจับกลุ่มใหม่ตามหมายเลขที่นักเรียนนับ โดยครูเป็นผู้สังเกต ให้ความช่วยเหลือ ชี้แนะ
นักเรียนแต่ละกลุ่ม
6. นักเรียนกลุ่มเดิมแยกย้ายกันไปหากลุ่มใหม่โดยมีหมายเลขเดียวกันอยู่ เรียกกลุ่มใหม่ว่ากลุ่มผู้เชี่ยวชาญ
(Expert Group)
7. นักเรียนกลุ่มผู้เชี่ยวชาญในแต่ละกลุ่มร่วมมือกันศึกษาเรื่องที่ได้รับมอบหมายดังนี้
หมายเลขที่ 1 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง จังหวัดปราจีนบุรี
หมายเลขที่ 2 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร
หมายเลขที่ 3 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง เจ้าพระยาอภัยภูเบศร
หมายเลขที่ 4 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง สินค้าขึ้นชื่อ
8. เมื่อสมาชิกแต่ละกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ (Expert Group) ร่วมมือกันศึกษาเรียบร้อยแล้ว
ให้กลับเข้ากลุ่มเดิม สมาชิกแต่ละคนอธิบายความรู้ที่ตนได้ศึกษา ให้สมาชิกในกลุ่มเดิมฟังเรียงตามลาดับ
สมาชิกคนใดไม่เข้าใจให้ซักถาม นักเรียนสรุปความรู้ที่ได้ลงในสมุด
ขั้นตรวจสอบผลงำนและทดสอบ
9. นักเรียนทาใบงานเรื่อง โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร
ขั้นสรุปบทเรียนและประเมินผลกำรทำงำนกลุ่ม
10. นักเรียนทุกกลุ่มร่วมกันเฉลยใบงาน โดยครูเป็นผู้ให้คาแนะนาความถูกต้อง
11. นาคะแนนของทุกคนในกลุ่มบ้านมารวมกน เป็นคะแนนกลุ่ม กลุ่มที่ได้คะแนนสูงสุด
ได้รับคาชมเชยจากนักเรียนกลุ่มต่างๆ และครู
12.
นักเรียนและครูช่วยกันสรุปความรู้เกี่ยวกับสถานที่ตั้งและประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภั
ยภูเบศร
สื่อการเรียนรู้/แหล่งการเรียนรู้
1. แผนที่ประเทศไทย
2. ใบความรู้
ใบความรู้ เรื่อง จังหวัดปราจีนบุรี
ใบความรู้ เรื่อง โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร
ใบความรู้ เรื่อง เจ้าพระยาอภัยภูเบศร
ใบความรู้ เรื่อง สินค้าขึ้นชื่อ
3. ใบงาน เรื่อง โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
จุดประสงค์กำรเรียนรู้ข้อที่ วิธีกำร เครื่องมือ
4
สังเกตการตอบคาถาม/
สังเกตการชี้แผนที่
แบบสังเกต
1-3 ตรวจใบงาน ใบงาน
บันทึกผลหลังกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้
ปัญหำและอุปสรรค
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
แนวทำงแก้ไขปัญหำ/ข้อเสนอแนะ
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ..................................................ครูผู้สอน
(.......................................................)
วันที่..........................................
ร้ำนยำไทยต้นแบบ โพธิ์เงิน-อภัยภูเบศร โอสถ
พิพิธภัณฑ์ที่มีชีวิต ส่งต่อคุณค่าของร้านขายยาสมุนไพรไทยโบราณ
โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศรได้รับบริจาคตู้ยาโบราณชื่อว่า “ร้ำนขำยยำโพธิ์เงินโอสถตรำนำงกินนร” ตั้งอยู่ในตลาดพลูซึ่งเป็นร้านที่เก่าแก่นับตั้งแต่ปี
พ.ศ.2476 ซึ่งเป็นร้านยาที่มีการรักษาและจ่ายยาจากประสบการณ์รุ่นต่อรุ่น
หากใครเคยไปใช้บริการจะรู้ถึงความเชี่ยวชาญของเจ้าของร้านด้านการกวาดยาอย่างแน่นอนหลังจากเจ้าของร้านคนสุดท้ายเสียชีวิต คุณปัญญา
มี้เจริญ(น้องชายคนเล็ก)คุณฉวีวรรณล.เฉลิมชัยชนะ(น้องสาว)และคุณเกียรติศักดิ์ มี้เจริญ(พี่ชายคนโต)จึงมอบตารายาตู้ยา
เครื่องยาและจิตวิญญาณเพื่อส่งผ่านให้ร้านขายยาไทย ณ ตึกเจ้าพระยาอภัยภูเบศร ในปี พ.ศ.2554
ในวันที่ 19 มกราคม 2554 ร้านยาไทยโพธิ์เงิน-อภัยภูเบศร โอสถได้เปิดให้บริการในครั้งแรก ซึ่งเป็นช่องทางด่วนของการให้บริการผู้ป่วยนอก
เปิดให้บริการโดยมีแพทย์แผนไทยประยุกต์(หมอแผนไทย)ที่มีใบประกอบโรคศิลปะให้บริการการตรวจรักษาในทุกๆโรค
เช่น โรคสะเก็ดเงิน โรคโลหิตสตรี โรคมะเร็ง โรคตับแข็ง โรคเรื้อรังต่างๆและทาการวินิจฉัยโรคตามทฤษฎีการแพทย์แผนไทย
ปรึกษาปัญหาสุขภาพตามธาตุเจ้าเรือนพร้อมสั่งจ่ายยาสมุนไพร ได้แก่ยาต้มสมุนไพรเฉพาะราย ยาในบัญชียาหลักสมุนไพรแห่งชาติยาในตารับโรงพยาบาล
ตามโรคหรืออาการของผู้ป่วย โดยมีทะเบียนประวัติการตรวจรักษาและการใช้ยา
สามารถนัดติดตามอาการทางโทรศัพท์และจัดส่งยาให้ทางไปรษณีย์ได้หากผู้ป่วยไม่สะดวกเดินทางกลับมาตรวจซ้า
ตัวอย่างเคสผู้ป่วยโรคสะเก็ดเงิน ตัวอย่างเคสผู้ป่วยโรคแผลติดเชื้อ
ก่อน-หลังการรักษา ก่อน-หลังการรักษา
มีการจาหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสมุนไพร อาทิยาดมสมุนไพร ยาใช้ภายนอก เช่นสเปรย์และน้ามันแก้จากต้นกระดูกไก่ดาใช้แก้ปวดข้อ
น้ามันทาแก้คัน(ผื่นผิวหนัง,โรคสะเก็ดเงิน) ชาชงสมุนไพร เช่นดาวเรืองอัญชันบารุงสายตาตรีผลาบารุงตับฝางบารุงเลือด บัวบกบารุงสมอง
แคปซูลสมุนไพรเพื่อสุขภาพ ยาแฮงคนชาย(หมามุ่ย)หญ้ายุ่ม รากสามสิบเป็นต้น
เปิดทุกวัน(ไม่มีวันหยุด)เวลา 8.30-16.30น.ณตึกพิพิธภัณฑ์เจ้าพระยาอภัยภูเบศร ชั้น1 โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร
หรือสามารถติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ เบอร์ 037-211088 ต่อ 3333 , 087-582-0597 , 0909846751
ติดต่อในวันและเวลาราชการ
อีกหนึ่งก้ำวที่ยำวไกล คงภูมิปัญญำไทย ธำรงค์ไว้ซึ่งเอกลักษณ์ของชำติ
พิพิธภัณฑ์กำรแพทย์แผนไทย
ตึกเจ้าพระยาอภัยภูเบศร สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2452 โดยท่านเจ้าพระยาอภัยภูเบศร (ชุ่ม อภัยวงศ์)
เพื่อใช้รับเสด็จพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวแต่ทรงสิ้นพระชนม์ก่ อน ต่อมาตึกหลังนี้ได้ใช้รับเสด็จพระบาทสมเด็จพระมงกุ ฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ในปี พ.ศ. 2455
และเชื้อพระวงศ์อีกหลายพระองค์ ตึกหลังนี้เป็นมรดกตกทอดมาถึงพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี ในรัชกาลที่ 6 และพระองค์ได้มอบตึกหลังนี้ให้แก่ ทางราชการ ในปี
พ.ศ. 2482 และได้กลายเป็นตึกผู้ป่ วยที่สวยงามที่สุดจนถึงปี พ.ศ. 2512 ในสมัยนายแพทย์สุจินต์ พลานุกูล ได้ทาการบูรณะและจะเปิดใช้เฉพาะในโอกาสพิเศษเท่ านั้ น
ต่อมาได้มีการบูรณะตึกครั้งใหญ่ในปี พ.ศ. 2537 โดยงบประมาณของจังหวัดปราจีนบุรีจานวน 2.5 ล้านบาท และคุณป้าจรวย ประสมสน บริจาคสมทบอีก 100,000
บาท เพื่อจัดทาเป็นพิพิธภัณฑ์การแพทย์แผนไทยอภัยภูเบศร
ประวัติเจ้าพระยาอภัยภูเบศร ( ชุ่ม อภัยวงศ์ ) (พ.ศ.2404 - 2465)
ต้นตระกูลอภัยวงศ์ คือ เจ้าพระยาอภัยภูเบศร (แบน) ซึ่งในสมัยพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้รับราชการอยู่ที่กัมพู ชา
เพราะขณะนั้นเกิดการจลาจลเหลือแต่นักองค์เอง ซึ่งยังทรงพระเยาว์อยู่ เมื่อนักองค์เองเติบใหญ่ได้พระราชทานภิเษกให้ปกครองกัมพูชา
และทรงมีพระราชดารัสขอเมืองพระตะบอง เสียมราฐ ศรีโสภณ ให้เจ้าพระยาอภัยภูเบศร(แบน) ครอบครองตรงต่อกรุงเทพฯตั้งแต่ พ.ศ.2337
เพื่อเป็นบาเหน็จแก่เจ้าพระยาอภัยภูเบศร (แบน) ที่ปกครองกัมพูชาโดยเรียบร้อยมาถึง 12 ปี
เจ้าพระยาอภัยภูเบศร ( ชุ่ม อภัยวงศ์ ) เกิดเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2404 ที่ จังหวัดพระตะบอง เป็นบุตรเจ้าพระยาคทาธรธรณินทร์ ( เยีย)
ผู้สาเร็จราชการเมืองพระตะบองและท่านผู้หญิงทิม เมื่อเจริญวัยมีอายุสมควรเข้ารับราชการได้ บิดาจึงได้นาเข้าถวายตัวเป็นมหาดเล็กวิเศษอยู่มณฑลกรุงเทพ ฯ
ในสมัยรัชกาลที่ 5 ได้ ไปฝึกหัดราชการในสานักสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) และในราชสานักท่านมีความกตัญญูกตเวทิตาคุณต่อ
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวอย่างยิ่ง ได้รับพระราชทานสัญญาบัตรเลื่อนเป็น พระอภัยพิทักษ์ ตาแหน่งผู้ช่วยราชการเมืองพระตะบอง
จากนั้นจึงได้ออกไปรับราชการกับบิดา ปี พ.ศ. 2435 บิดาถึงแก่อสัญกรรม ได้รับพระราชทานสัญญาบัตรบรรดาศักดิ์เลื่อนเป็น พระอภัยพิทักษ์ ตาแหน่ง
ผู้ช่วยราชการเมืองพระตะบอง ปี พ.ศ. 2439 โปรดเกล้า ฯ ให้รวมหัวเมือง พระตะบอง เสียมราฐ ศรีโสภณ และพนมศก เข้าเป็นมณฑลเรียกว่า มณฑลบูรพา
ท่านเจ้าพระยาอภัยภูเบศร ( ชุ่ม อภัยวงศ์ ) มีความแตกต่างจากบรรพบุรุษ เนื่องจากได้เข้ามาศึกษาในมณฑลกรุงเทพ ฯ
จึงเป็นที่คุ้นเคยกับขนบธรรมเนียมประเพณีของสยามและนโยบายของรัชกาลที่ 5 เจ้าพระยาอภัยภูเบศรรับราชการด้วยความสามารถ ฉลาด รู้ทางได้ทางเสีย
ปฏิบัติราชการมิได้บกพร่อง ในปี พ.ศ. 2446 จึง โปรดเกล้าให้เจ้าพระยาอภัยภูเบศรเป็นผู้สาเร็จราชการ มณฑลบูรพาและให้ว่าราชการเมืองพระตะบอง
ได้รับพระราชทานสัญญาบัตรบรรดาศักดิ์เลื่อนเป็นพระยาคทาธรธรณินทร์
ปี พ.ศ.2449 เกิดการผันแปรทางการเมืองระหว่างประเทศไทยกับอินโดจีน ของฝรั่งเศส ซึ่งกัมพูชาตกไปอยู่ภายใต้การปกครองของฝรั่งเศส
ฝรั่งเศสได้ขอเปลี่ยนแผ่นดินเมืองตราด ซึ่งอยู่ภายใต้ความครอบครองของมณฑลบูรพาทั้งหมดของไทย รัฐบาลไทยจึงได้ตกลงสัญญาเมื่อวันที่23 มีนาคม พ.ศ.
2447 และแลกเปลี่ยนสัตยาบรรณสัญญาระหว่างประเทศไทยกับฝรั่งเศส ณกรุงปารีส เมื่อวันที่21 มิถุนายนพ.ศ.2450 ต่อ
มาเจ้าพระยาอภัยภูเบศรจึงได้กราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวขอพระราชทานราชานุญาต
อพยพเข้ามารับราชการสนองพระเดชพระคุณในกรุงเทพฯ ท่านเจ้าพระยาอภัยภูเบศรจึงได้อพยพครอบครัวและผู้ติดตามเข้ามาอยู่ในประเทศไทยที่เมืองปราจีนบุรี
ปี พ.ศ. 2452 ท่าน เจ้าพระยาอภัยภูเบศรได้สร้างตึกใหญ่โตงดงาม โดยมีเจตนารมณ์เพื่อจะกราบบังคมทูลเชิญพระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เสด็จประทับแรม แต่ไม่ทันเพราะทรงเสด็จสวรรคตเสียก่อน ต่อมาในปี พ.ศ. 2455 พระบาทสมเด็จ
พระมหาวชิราวุธมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว(รัชกาลที่6 ) ได้เสด็จประพาสเมืองปราจีนบุรี เจ้าพระยาอภัยภูเบศรจึงขอพระราชทานพระบรมราชวโรกาสใช้ตึกหลังนี้เป็นที่
รับเสด็จได้อย่างเรียบร้อยและสมพระเกียรติ ตึกหลังนี้สร้างขึ้น ในปี พ.ศ. 2452 โดยบริษัท โฮวาร์ด เออร์สกิน ซึ่งเป็นแบบเดียวกัน กับตึกของ
ท่านเจ้าพระยาอภัยภูเบศร ที่พระตะบอง นอกจากใช้รับเสด็จรัชกาลที่ 6 แล้ว ยังได้ใช้ รับเสด็จ เชื้อพระวงศ์ ในสมัยต่าง ๆ รวมถึงการรับเสด็จ
กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ครั้งเสด็จประพาสจังหวัดปราจีนบุรี ซึ่งท่านเจ้าพระยาอภัยภูเบศรไม่เคยใช้ตึกหลังนี้เป็นที่พักส่วนตัวของท่าน แต่อย่างใด
เมื่อท่านอสัญกรรม จึงได้ใช้ตึกหลังนี้ตั้งบาเพ็ญกุศลศพเป็นครั้งสุดท้ายเท่านั้น
ท่านเจ้าพระยาอภัยภูเบศร ป่วยเป็นโรคเรื้อรังมาหลายปี จนถึงวันที่ 27 สิงหาคม 2465 ถึงแก่อสัญกรรม หลังจากที่ท่านอสัญกรรม พระยาอภัยวงศ์วรเศรษฐ(ช่วง
อภัยวงศ์ ) บุตรชายที่เกิดจาก หม่อมสอิ้ง ซึ่งเป็นบุตร วัยอาวุโสกว่าคนอื่นได้รับพินัยกรรมให้เป็น ผู้จัดการมรดกต่อมาปี พ.ศ. 2467
พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงอภิเษกสมรสกับพระนางเจ้าสุวัทนาพระวรราชเทวี ซึ่งเป็น ธิดาของพระยาอภัยภูเบศร ( เลื่อม อภัยวงศ์ )
ซึ่งเป็นพี่ชายของพระยาอภัยวงศ์วรเศรษฐ ( ช่วง อภัยวงศ์ ) จึงได้ถวายตึกเจ้าพระยาอภัยภูเบศรและสิ่งปลูกสร้าง ให้แด่ พระนางเจ้าสุวัทนาพระวรราชเทวี
และพระนางเจ้า ฯ ได้น้อมเกล้าถวายแด่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวต่อมา พระองค์ได้ทรงมอบตึกหลังนี้ คืนให้กับ พระนางเจ้าสุวัทนาพระวรราชเทวี
หลายปีต่อมาพระนางเจ้า ฯ ได้ทรงมอบตึกหลังนี้ให้กับรัฐบาลเพื่อใช้เป็นโรงพยาบาลและประโยชน์ต่อส่วนรวม
โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร เปิดทาการเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2484 จัดเป็น 1 ใน 19 โรงพยาบาลประจาจังหวัด ยุคแรกของประเทศไทย
เดิมใช้ชื่อว่าโรงพยาบาลปราจีนบุรี ต่อมาได้มีการเปลี่ยนเป็น "โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร" เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2509 เนื่อง จากหอผู้ป่วยหลังแรก
คือตึกเจ้าพระยาอภัยภูเบศรนั้น สร้างโดยเจ้าพระยาอภัยภูเบศร (ชุ่ม อภัยวงศ์) ตึกนั้นมีคุณค่าทั้งความงามด้านสถาปัตยกรรม และทางประวัติศาสตร์
ปัจจุบันตึกหลังนี้ใช้เป็นที่จัดแสดงพิพิธภัณฑ์การแพทย์แผนไทย ให้ประชาชนเข้าเยี่ยมชมส่วนของการจัดแสดงตารายาโบราณกว่า 1500 เล่ม พิพิธภัณฑ์ยาหอม
ร้านยาไทยโพธิ์เงิน กิจกรรมนิทรรศการศูนย์การเรียนรู้การดูแลสุขภาพ และเป็นที่ฟังการบรรยายศึกษาดูงานด้านการแพทย์แผนไทยและสมุนไพรอภัยภูเบศร
พิพิธภัณฑ์เปิดให้เข้าชมได้ทุกวัน ไม่มีค่าใช้จ่าย เวลา 08.30-16.00น
โรงพยำบำลกำรแพทย์แผนไทยและกำรแพทย์ทำงเลือก อภัยภูเบศร
โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศรมีการดาเนินงานด้านการพัฒนาการแพทย์แผนไทยและสมุนไพรมากว่า 30 ปี ครอบคลุมทุกมิติ ตั้งแต่การพัฒนายาจากสมุนไพร
การบริการและส่งเสริมสุขภาพในชุมชน การบริการผู้ป่ วยนอก การเผยแพร่ความรู้ ในปี 2543 ได้เปิดบริการผู้ป่ วยในอาคารเปรมสุข(โรคหลอดเลือดสมอง-
โครงการนาร่อง) เป็นต้น
แต่อย่างไรก็ตามการดาเนินงานที่ผ่านมายังไม่มีโครงสร้างและแนวทางที่ชัดเจนในการบูรณาการกับการแพทย์แผนปัจจุบัน ซึ่งได้ทาการเปิดให้บริการอย่างเต็มรูปแบบในวั
นที่ 24 มิถุนายน 2559 ซึ่งเป็นวันเกิดของโรงพยาบาลครบรอบ 75 ปี
กำรรักษำ
การรักษาโรคตามทฤษฎีการแพทย์แผนไทย มีแนวคิดว่า โรคภัยไข้เจ็บเกิดจากความผิดปกติของธาตุทั้ง 4 อันประกอบด้วย ดิน น้า ลม ไฟ และตรีโทษ
อันได้แก่ เสมหะ ปิตตะ วาตะ การรักษาด้องปรับให้ร่างกายคืนสู่สมดุล ทั้งการกินยา การนวด การอบ ประคบ การย่างยา การเผายา เป็นต้น ที่สาคัญ คือ
การแพทย์แผนไทยสามารถรักษาโรคที่เกี่ยวกับโรคทางโครงสร้างได้ดี เช่น ใช้การนวดเพื่อแก้ไขปัญหากระดูกทับเส้น ข้อเข่าเสื่อม กระดูกสันหลังคด หัวตกหมอน เป็นต้น
กล่าวคือ การแพทย์แผนไทยมีทฤษฎีการรักษาได้ทุกโรค แต่ที่ถูกนามาใช้ได้น้อยเนื่องจากถูกทอดทิ้งมาเป็นเวลานาน ขาดความต่อเนื่อง การมีโรงพยาบาลจะเป็นการค่อยๆ
ฟื้นฟูอย่างเป็นระบบ และมีความปลอดภัย
ทางโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร ได้ให้บริการรักษาทางด้านแผนไทยมายาวนานกว่า 10 ปี ซึ่งโรคที่มีผู้มารับบริการมากสุด คือกลุ่มอาการกล้ามเนื้อ
กระดูกและข้อ เช่น อัมพฤกษ์ อัมพาต ออฟฟิศซินโดรม หัวไหล่ติดเข่าเสื่อม ปวดกล้ามเนื้อ และโรคที่แผนปัจจุบันยังไม่สามารถให้คาตอบได้ เช่น สะเก็ดเงิน โดยพบว่า
ผู้ป่ วยที่มารับการรักษาได้รับประทานยาต้มสมุนไพรเฉพาะราย พบว่าผู้ป่ วยมีแนวโน้มดีขึ้นกว่า 90% และบางรายสามารถหยุดยาได้โดยไม่มีอาการกาเริบซ้า
กำรรองรับผู้ป่ วย
โรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยฯ สามารถรับบริการผู้ป่ วยนอกได้มากถึงวันละ 50-100 คน และในกรณีเป็นผู้ป่ วยใน สามารถรองรับ
ห้องพักผู้ป่ วยสามัญรวม จานวน 12 เตียง ห้องพักผู้ป่ วยพิเศษเดี่ยวจานวน 5 ห้อง ห้องแยกผู้ป่ วยโรคสะเก็ดเงิน จานวน 1 ห้อง ทั้งนี้
ในอนาคตอาจมีการปรับและขยายการรองรับผู้ป่ วยได้ตามความเหมาะสม
สิทธิกำรรักษำ
 สิทธิ์บัตรทอง (ในเขต) :สามารถเบิกค่ารักษาพยาบาลได้ แต่ไม่สามารถเบิกค่าหัตถการฝังเข็มได้
และในส่วนของการเข้ารับการรักษาในห้องพิเศษต้องจ่ ายส่วนเกินคืนละ 1,100 บาท
 สิทธิ์บัตรทอง (นอกเขต) : ต้องมีใบส่งตัวจากโรงพยาบาลต้นสังกัด จึงจะมีสิทธิ์เทียบเท่าบัตรทองในเขต
 สิทธิ์เบิกคลัง (ข้าราชการ) : สามารถเบิกค่ารักษาพยาบาลได้ และกรมบัญชีกลางให้สิทธิ์เบิกค่าห้องพักได้วันละ 1,000 บาท
ถ้าจะพักห้องพิเศษจะต้องจ่ ายส่วนเกิน 250 บาท/วัน
 สิทธิ์ประกันสังคม : สามารถเบิกค่ารักษาพยาบาลได้ แต่ไม่สามารถเบิกในส่วนของการฟื้นฟูสมรรถภาพได้
 สิทธิ์เบิกประกันชีวิต : ให้ผู้ป่ วยติดต่อกับประกันชีวิตของตนเอง
กระบวนกำรกำรรักษำ
ขั้นตอนการตรวจโดยแพทย์แผนไทย หัวใจหลัก คือ การดูอย่างเป็นองค์รวม
และนาทฤษฎีธาตุเข้ามาใช้ โดยจะเริ่มจากการซักประวัติอาการคนไข้โดยละเอียด
เพื่อหาสาเหตุของการทาให้เกิดโรค ประวัติการรักษาที่ผ่านมา ประวัติการแพ้ โรคประจาตัว
ตรวจวัดสัญญาณชีพ จากนั้น เข้าสู่กระบวนการตรวจทางศาสตร์แผนไทย
โดยดูธาตุเจ้าเรือนว่าผู้ป่ วยมีธาตุเจ้าเรือนทั้ง 4 ได้แก่ ดิน น้า ลม ไฟ อะไรที่กาเริบ หย่อนหรือพิการ
ดูความสมดุลของตรีธาตุ(ปิตตะ วาตะ เสมหะ) โดยเน้นเรื่องความสมดุลเป็นหลัก ตรวจร่างกาย
โดยดูรอยโรค อาการ ลักษณะทั่วไป ดูลิ้น เยื่อบุตา สีตา ตรวจเส้นประธาน
10 และเส้นตามร่างกาย ตรวจชีพจรแบบแผนไทย(ดูลักษณะการเต้นของชีพจรซึ่งสามารถบ่ งบอกอา
การเจ็บป่ วยได้) และตรวจกาเดา คือความร้อนในร่างกาย จากนั้น นามาประกอบกับการรักษา
เพื่อปรับเข้าสู่สมดุลก็จะไม่ทาให้เกิดการเจ็บป่ วย
หัตถกำรต่ำงๆ
1.
กำรเผำยำ การเผายาเป็นเวชปฏิบัติแผนไทยหัตถการหนึ่งที่ใช้หลักการเพิ่มธาตุไฟเฉพาะที่ส่วนใดส่วนห
นึ่งของร่างกาย โดยใช้ความร้อนของไฟผ่านเครื่องยาสมุนไพรสดที่มีรสร้อนเข้าไป
ใช้รักษาในผู้ป่ วยที่มีภาวะธาตุไฟหย่อน โรคหรืออาการที่สามารถเผายา ได้แก่ ท้องอืดท้องเฟ้อ
อาหารไม่ย่อย ภูมิแพ้อากาศ ผู้ป่ วยอัมพฤกษ์อัมพาต อาการหนาวใน อาการอ่อนเพลียจากปิตตะหย่อน
และสามารถเผาได้หลายส่วนตามร่างกาย เช่น ท้อง แผ่นหลัง
ทั้งนี้หัตถการนี้ไม่เหมาะกับผู้ป่ วยที่มีภาวะปิตตะกาเริบ เช่น มีไข้ ปวดศีรษะ ขณะมีประจาเดือน ร้อนใน
เพลียจากการตากแดด หอบเหนื่อย
2. กำรกักน้ำมัน มีจุดมุ่งหมายเช่น เดียวกับการชโลมน้ามันตามร่างกาย
คือเพื่อให้น้ามันซึ่งมีคุณสมบัติ เป็นมัน ชุ่ม และช่วยในการหล่อลื่น
ซึมซาบเข้าสู่ร่างกายส่วนที่มีการกักน้ามัน ทาให้บริเวณนั้นได้รับการหล่อลื่นของน้ามัน
จึงช่วยลดอาการติดขัดในบริเวณที่มีปัญหาได้ ทั้งยังช่วยส่งเสริมการไหลเวียนของกระแสประสาท เลือด
สารอาหาร ฯลฯ ในบริเวณที่กักน้ามันด้วย
นอกจากนี้ ตัวน้ามันเองโดยเฉพาะน้ามันงายังมีสรรพคุณบารุงกล้ามเนื้อ เส้นเอ็น และกระดูกอีกด้วย
การกักน้ามันโดยใช้น้ามันงา โดยเฉพาะน้ามันยาที่ปรุงตามตารับเฉพาะ
จะยิ่งเพิ่มสรรพคุณในการบาบัดเยียวยาความผิดปกติของกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อได้ดียิ่งขึ้น
การกักน้ามันจึงสามารถใช้กับกล้ามเนื้อตึงเกร็งเรื้อรัง
และใช้กักตามข้อต่อเพื่อบาบัดความผิดปกติเกี่ยวกับข้อ เช่น ข้อติด ข้ออักเสบ ข้อเสื่อม
รวมทั้งกักน้ามันตามแนวกระดูกสันหลังเพื่อบาบัดความผิดปกติของกระดูกสันหลัง
โดยเฉพาะหมอนรองกระดูกสันหลังเคลื่อน
3. กำรประคบแช่แผลโรคสะเก็ดเงิน เป็นการทาหัตถการผู้ป่ วยโรคสะเก็ดเงิน
*ใช้ในกรณีผู้ป่ วยที่มีสะเก็ดหนา ชั้นผิวหนังepidermis โดยเริ่มจากขั้นตอนดังนี้
3.1.ทำควำมสะอำดแผล ด้วยการใช้น้ามันจากผิวมะกรูด/ส้ม/ส้มโอ
ทาการถูสะเก็ดให้หลุดลอกออก ใช้เปลือกเป็นตัวถู
โดยการขยาเปลือกให้มีน้ามันออกมาที่ผิวแล้วทาการถูสะเก็ ดให้บางลง
3.2.ล้ำงแผล โดยการใช้วิธีประคบแผลด้วย normal saline หรือสารสกัดสมุนไพร
เป็นการล้างน้ามันออกและเพิ่มความชุ่มชื้นให้กับผิว โดยใช้ผ้าก๊อซชุบ normal saline
หรือตัวยามาประคบแผลทิ้งไว้ประมาณ30นาที
3.3.ทำยำน้ำมัน โดยจะใช้น้ามันทาแก้คัน (สูตรโพธิ์เงิน)
หรือสูตรของวิทยาลัยตามคัมภีร์วิถีกุฏโรค
4. กำรพอกยำ เป็นหัตถการที่ใช้ในการลดปิตตะในร่างกาย เช่น การพอกลดการอักเสบของผื่น
การพอกลดบวมของข้อหรือกล้ามเนื้อ โดยตารับยาที่ใช้จะเข้ายากลุ่มที่ช่วยลดความร้อน
หรือช่วยลดการอักเสบ อาทิ ไพล ขมิ้น เป็นต้น
อีกหนึ่งตัวยาที่สาคัญในการเข้ายาพอกนั้นก็คือยาที่ช่วยนาพายาต่างๆให้เข้าสู่ผิวได้ดี และเร็วขึ้น เช่น
แอลกอฮอล์ เกลือ หรือมะคาดีควาย (ในตัวมะคาดีควายนอกจากช่วยนาพายาเข้าสู่ผิวได้ดีแล้ว
ยังมีคุณสมบัติในการช่วยให้ยายึดเกาะกันได้ดีขึ้นด้วย)
4.1. ตำรับยำพอก (ใช้ทาหัตถการกลุ่มโรคทางข้อ)
ส่วนประกอบ
แป้งข้าวเจ้า 500 กรัม ลูกแป้งข้าวหมาก 1 ลูก ดองดึง บดละเอียด 100 กรัม ขิงแก่ สด 200 กรัม
น้าต้มสุก
วิธีทำ
บดลูกแป้งข้าวหมากให้ละเอียดแล้วนามาผสมลงในแป้งข้าวเจ้าคลุกเค้าให้เข้ากัน
จากนั้นนาผงดองดึงที่บดละเอียดแล้วโรยลงในแป้งที่ผสมแล้วในข้อที่หนึ่งก็จะได้ยาพอกเข่าแบบผสมเก็
บไว้
วิธีใช้
นาผงยาพอกเข่าประมาณ 3 ช้อนโต๊ะ มาผสมกับน้าขิงที่คันแล้ว
คลุกเค้าให้เข้ากันแล้วนามาพอกที่เข่าทิ้งไว้ประมาณ 15 นาที หรือจนกว่ายาพอกเข่าจะแห้ง
ให้พอกเข่าวันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น
4.2. กำรพอกยำเย็น ใช้รักษาอาการ ตับร้อน ตับแลบ แผลผุพองตามผิวหนัง เริม งูสวัด
ส่วนประกอบ
ดินสอพองสะตุ ผงบอระเพ็ด ผงเปราะหอม ผงใบสะเดา
ผสมเครื่องยาทั้งหมดให้เป็นเนื้อเดียวกัน
วิธีกำรพอกยำ
1. นาเครื่องยาทั้งหมดไปผสมน้าให้พอเป็นโคลน
2. นาไปพอกในบริเวณที่ต้องการ
Service 07
บ้านเล่าเรื่อง เมืองสมุนไพร ปราจีนบุรี
แหล่งนัดพบแห่งใหม่ ของปราจีนบุรี บ้านแห่งการเรียนรู้ ภูมิปัญญาสมุนไพร ที่เช็คอินแห่งใหม่ของคนทุกวัย
บ้านเล่าเรื่องเมืองสมุนไพรปราจีนบุรี ตั้งขึ้นเพื่อ เป็นแหล่งนัดพบ ทากิจกรรมร่วมกัน เรียนรู้สมุนไพรในวิถีชีวิต ผ่านเรื่องเล่า นิทรรศการ
ประวัติศาสตร์ ภูมิปัญญา และอาหารครื่องดื่มจากสมุนไพร เดิมทีเจ้าของบ้านคือ “ครอบครัวเปี่ยมสมบูรณ์” ได้มอบบ้านหลังนี้ให้
“มูลนิธิโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร”ดาเนินกิจกรรมเพื่อสาธารณะประโยชน์ โดยบ้านหลังนี้สร้างขึ้นหลังไฟใหม้ใหญ่ตลาดปราจีน
เคยเป็นบ้านที่ทันสมัยที่สุดแห่งหนึ่ง เมื่อพ.ศ. 2493
ด้วย จังหวัดปราจีนบุรีได้รับคัดเลือกให้เป็น 1 ใน 4 เมืองสมุนไพรต้นแบบของประเทศไทย
ซึ่งเป็นจังหวัดที่มีความพร้อมในการพัฒนาสมุนไพร โดยโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร
ได้เริ่มต้นการพัฒนาสมุนไพรและการแพทย์แผนไทยอย่างต่อเนื่องยาวนาน จึงได้รับขนานนามว่า “ปราจีนบุรี เมืองสมุนไพร”
มีจุดเด่นของบ้านเล่าเรื่อง เมืองสมุนไพร คือ การประยุกต์นาสมุนไพรมาทาเป็นอาหาร และเครื่องดื่ม รสชาติอร่อย แปลกใหม่
อย่างสร้างสรรค์ เช่น ราดหน้าเส้นอัญชัน หูเสือบะช่อตาลึง ไข่เจียวสมุนไพรไก่ทอดขมิ้น เทมปุระดอกไม้ ยาผักพื้นบ้าน ข้าวอบธัญพืช ฯลฯ
เมนูเครื่องดื่มสมุนไพร ที่ห้ามพลาด คือ อัญชันโซดา สามทหารเสือโซดา สามเกลอโซดา สามดอกไม้โซดา ดื่มแล้วสดชื่นได้สุขภาพดี
มีการปลูกสมุนไพรอยู่ทั่วบริเวณบ้าน พร้อมป้ายชื่อ บอกสรรพคุณสมุนไพร เพื่อเรียนรู้จากประสบการณ์จริง เช่น “ว่านหอมแดง”
มีสรรพคุณแก้หวัดคัดจมูก ขับลมในลาไส้ ขับปัสสาวะ เป็นยาระบาย ต้นเสลดพังพอน แก้พิษแมลงสัตว์กัดต่อ เริมงูสวัด หรือ หูเสือ แก้ไอ
แก้หวัดเป็นต้น
ภายในบ้านมีการจัดโซนนิทรรศการ ได้แก่
“นิทรรศการบุคคลสาคัญในประวัติศาสตร์”
– พระมหากษัตริย์แต่ละพระองค์ที่เคยเสด็จเยือนจังหวัดปราจีนบุรี
– เจ้าเมืองที่มีบทบาทต่อการพัฒนาเมืองปราจีนบุรีในอดีต
– ที่มาที่ไปของความอุดมสมบูรณ์ของเมือง จนเกิดเป็นเมืองสมุนไพร
– ผู้หญิงเก่งของเมืองปราจีนบุรี
“นิทรรศการหม้อดินเผาและสมุนไพร”
จัดแสดงหม้อดินเผาโบราณ ที่ค้นพบในแม่น้าปราจีนบุรี และภาพวาดสมุนไพรหลากหลายชนิดจากภูเขาและป่าไม้
“ห้องรับแขกของบ้าน”
เล่าถึงที่มาที่ไปของโครงการบ้านเล่าเรื่อง เมืองสมุนไพรปราจีนบุรี และจัดแสดงวัตถุโบราณล้าค่า
“ห้องสมุด และเรื่องราวของคนเมืองปราจีนบุรี”
สาหรับค้นคว้าข้อมูลที่หลากหลาย และชมภาพถ่ายโบราณ ที่รวบรวมมาจากคนปราจีนบุรี สื่อถึงวิถีชีวิตและเรื่องราวของผู้คนในอดีต
“นิทรรศการผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์”
ผู้คนที่มาอาศัยตั้งรกรากในปราจีนบุรีนั้น มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์ ทั้ง ลาวพวน ญวน เขมร จีน
ท่านที่สนใจสามารถสอบถามเพิ่มเติม
บ้านเล่าเรื่อง เมืองสมุนไพร ปราจีนบุรี (ติดกับศาลเจ้าพ่อหลักเมือง)
เปิดทุกวัน เวลา 10.00-19.00 น.
โทร. 098 254 0365
ชื่อ.......................................................................................เลขที่........................ชั้น......................
ใบงาน
เรื่อง เจ้าพระยาอภัยภูเบศร
คำชี้แจง ให้นักเรียนสรุปความรู้ที่ได้รับลงในช่องว่างที่กาหนดให้
www.facebook.com/banlaoreung

More Related Content

More from khanidthakpt

Love of others กิจกรรมโฮมรูม
Love of others กิจกรรมโฮมรูมLove of others กิจกรรมโฮมรูม
Love of others กิจกรรมโฮมรูม
khanidthakpt
 

More from khanidthakpt (20)

ประเภทการวิจัย
ประเภทการวิจัยประเภทการวิจัย
ประเภทการวิจัย
 
แบบฝึกหัด Listening
แบบฝึกหัด Listeningแบบฝึกหัด Listening
แบบฝึกหัด Listening
 
บทละครสั้น The merchant of Venice
บทละครสั้น The merchant of Veniceบทละครสั้น The merchant of Venice
บทละครสั้น The merchant of Venice
 
Chant Playway in Habit song
Chant Playway in Habit songChant Playway in Habit song
Chant Playway in Habit song
 
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
 
วิเคราะห์บทแปล Twilight
วิเคราะห์บทแปล Twilight วิเคราะห์บทแปล Twilight
วิเคราะห์บทแปล Twilight
 
The merchant of Venice
The merchant of VeniceThe merchant of Venice
The merchant of Venice
 
Sickness lesson plan
Sickness lesson planSickness lesson plan
Sickness lesson plan
 
บทละคร Mangita and larina สำหรับแสดงละครสั้นภาษาอังกฤษ
บทละคร Mangita and larina สำหรับแสดงละครสั้นภาษาอังกฤษบทละคร Mangita and larina สำหรับแสดงละครสั้นภาษาอังกฤษ
บทละคร Mangita and larina สำหรับแสดงละครสั้นภาษาอังกฤษ
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถาม แบบสอบถาม
แบบสอบถาม
 
สรุปนิทาน Anna karenina
สรุปนิทาน Anna kareninaสรุปนิทาน Anna karenina
สรุปนิทาน Anna karenina
 
Short story - Past tense
Short story - Past tenseShort story - Past tense
Short story - Past tense
 
Friends game
Friends gameFriends game
Friends game
 
Love of others กิจกรรมโฮมรูม
Love of others กิจกรรมโฮมรูมLove of others กิจกรรมโฮมรูม
Love of others กิจกรรมโฮมรูม
 
Homeroom games for children
Homeroom games for childrenHomeroom games for children
Homeroom games for children
 
Who is Christiane Amanpour?
Who is Christiane Amanpour?Who is Christiane Amanpour?
Who is Christiane Amanpour?
 
What is leaf clovers?
What is leaf clovers?What is leaf clovers?
What is leaf clovers?
 
English hidden meaning vocabulary
English hidden meaning vocabularyEnglish hidden meaning vocabulary
English hidden meaning vocabulary
 
Short script for public speaking topic fairytale
Short script for public speaking topic fairytaleShort script for public speaking topic fairytale
Short script for public speaking topic fairytale
 
Tell about myself
Tell about myselfTell about myself
Tell about myself
 

แผนการสอนระดับท้องถิ่น - ร.พ เจ้าพระยาอภับภูเบศร

  • 1. โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร 1. ประวัติความเป็ นมา (3 ชม.) 1.1 สถานที่ตั้ง 1.2 ต้นกาเนิดโ รงพยาบาล 1.3 เจ้าพระยา อภัยภูเบศร 2. ตึกเจ้าพระยาอภัยภูเ บศร (4 ชม). 3. ศูนย์นวดและอบสมุ นไพร (3 ชม.) 2.1 โพธิ์เงิน โอสถ 2.4 สินค้าขึ้ นชื่อ 2.3 สวนสมุ นไพร 3.1 บริการนวด ของอภัยภูเ บศร 2.2 สมุนไพร และสรร พคุณ3.2 ด้านการแพท ย์แผนไทย 3.2 การฝัง เข็ม 5. แผนผังความคิดของหน่วยก ารเรียนรู้
  • 2. 5. สาระการเรียนรู้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดช่วงชั้น สาระกา รเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดช่วงชั้น 1. ประวัติค วามเป็น มา - สถานที่ตั้ ง - ประวัติค วามเป็น มา มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจ ากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และการเปลี่ ยนแปลงของเหตุการณ์ อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและสามา รถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น ๒. วิเคราะห์เหตุการณ์สาคัญต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทา งสังคม เศรษฐกิจและการเมือง เข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน - เจ้าพระย าอภัยภูเ บศร มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็นมาของชาติ ไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจและธารงความเป็นไท ย ๑. วิเคราะห์ประเด็นสาคัญของป ระวัติศาสตร์ไทย ๓. วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งเสริมควา มสร้างสรรค์ภูมิปัญญาไทย และวัฒนธรรมไทย ซึ่งมีผลต่อสังคมไทยในยุคปัจ จุบัน ๔. วิเคราะห์ผลงานของบุคคลสา คัญทั้งชาวไทยและต่างประเท ศ ที่มีส่วนสร้างสรรค์วัฒนธรรม ไทย และประวัติศาสตร์ไทย 2. ตึกเจ้าพ ระยาอภั ยภูเบศร - โพธิ์เงิน โอสถ มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภา พ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่ง มีผลต่อกันและกัน ในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศา ๓. วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของ พื้นที่ ซึ่งได้รับอิทธิพลจากปัจจัยทาง ภูมิศาสตร์ในประเทศไทยและ ทวีปต่างๆ
  • 3. - สมุนไพ รและสร รพคุณ - สวนสมุ นไพร - สินค้าขึ้ นชื่อ สตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ สรุป และใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศอย่าง มีประสิทธิภาพ มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กั บสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่ อให้เกิดการสร้างสรรค์วัฒนธรร ม มีจิตสานึกและมีส่วนร่วมในการอ นุรักษ์ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ๔. อธิบายการใช้ประโยชน์จากสิ่ งแวดล้อมในการสร้างสรรค์วั ฒนธรรม อันเป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่น ทั้งในประเทศไทยและโลก 3. ศูนย์นว ดและอบ สมุนไพ ร - บริการน วดของอ ภัยภูเบศ ร - ด้านการ แพทย์แ ผนไทย - การฝังเข็ ม มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจและธารงความเป็นไท ย ๓. วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งเสริมควา มสร้างสรรค์ภูมิปัญญาไทย และวัฒนธรรมไทย ซึ่งมีผลต่อสังคมไทยในยุคปัจ จุบัน ๔. วิเคราะห์ผลงานของบุคคลสา คัญทั้งชาวไทยและต่างประเท ศ ที่มีส่วนสร้างสรรค์วัฒนธรรม ไทย และประวัติศาสตร์ไทย ๕. วางแผนกาหนดแนวทางและ การมีส่วนร่วมการอนุรักษ์ภูมิ ปัญญาไทยและวัฒนธรรมไท ย
  • 4. 5. กาหนดเวลาเรียน สาระการเรียนรู้ เวลา (ชั่วโมง) 1. ประวัติความเป็นมา - สถานที่ตั้ง - ประวัติความเป็นมา - เจ้าพระยาอภัยภูเบศร 3 2. ตึกเจ้าพระยาอภัยภูเบศร - โพธิ์เงินโอสถ - สมุนไพรและสรรพคุณ - สวนสมุนไพร - สินค้าขึ้นชื่อ 4 3. ศูนย์นวดและอบสมุนไพร - บริการนวดของอภัยภูเบศร - ด้านการแพทย์แผนไทย - การฝังเข็ม 3 รวมเวลาเรียน 10
  • 5. 7. กิจกรรมการเรียนรู้ 7.1 การจัดการเรียนรู้โดยอาศัยหลักการและแนวคิดเกี่ยวกับการจัดกระบวนการเรี ยนรู้ ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ดังนี้ 7.1.1 วิธีสอนโดยใช้ศูนย์การเรียน 7.1.2 วิธีสอนแบบสาธิต 7.1.3 วิธีสอนโดยใช้กรณีตัวอย่าง 7.1.4 การจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน 7.1.5 การเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning) เทคนิค Jigsaw II เทคนิค G.I. 7.2 การศึกษาจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆในชุมชน 7.3 การสืบค้นจากอินเทอร์เน็ต 8. สื่อ / แหล่งเรียนรู้ 8.1 รูปภาพ 8.2 วัสดุ อุปกรณ์ 8.3 ใบความรู้ / ใบงาน 8.4 ห้องสมุด 8.5 แหล่งเรียนรู้ในชุมชน 8.6 อินเทอร์เน็ต 9. การวัดและประเมินผล 9.1 ประเมินผลการทาโครงงาน 9.2 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านความรู้
  • 6. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้น ประถมศึกษาปี ที่ 5 หน่วยย่อยเรื่องที่ 1 ประวัติความเป็น เวลารวม 3 ชั่วโมง เรื่อง สถานที่ตั้ง ประวัติความเป็นมา เวลา 2 ชั่วโมง ___________________________________________________ _____________________________ มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น สาระสาคัญ โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร ในพระอุปถัมภ์ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี และ พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี เป็นโรงพยาบาลศูนย์ประจาจังหวัดปราจีนบุรี และเป็นโรงพยาบาลนาร่องเรื่องการแพทย์แผนไทย ใช้สมุนไพรบาบัดรักษาโรค มีการนวด อบ ประคบ และฝังเข็ม แปรรูปสมุนไพรไทยเป็นเวชภัณฑ์ และเครื่องสาอาง การเรียนรู้เกี่ยวกับสถานที่ตั้ง ประวัติความเป็นมา จะช่วยให้เรียนรู้ความเป็นมาพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ตัวชี้วัดชั้นปี วิเคราะห์เหตุการณ์สาคัญต่างๆ ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและการเมือง เข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถบอกสถานที่ตั้งโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศรได้ 2. นักเรียนสามารถบอกเล่าประวัติความเป็ นมาของโรงพยาบาลเจ้าพระยา อภัยภูเบศรได้ 3. นักเรียนสามารถบอกเส้นทางคมนาคมไปยังโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัย ภูเบศรได้
  • 7. 4. นักเรียนชี้ที่ตั้งของโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศรในแผนที่ได้ สาระการเรียนรู้ 1. สถานที่ตั้ง 2. ประวัติความเป็นมา กิจกรรมการเรียนรู้ (แนวคิดเกี่ยวกับการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญโดยใช้วิธีสอน การเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค Jigsaw II) ขั้นเตรียม 1. ครูชี้แจ้งแนวการปฏิบัติและหลักการทางานร่วมกับผู้อื่น 2. แบ่งกลุ่มนักเรียนเป็นกลุ่มๆ ละ 4-5คน 3. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ ขั้นสอน 4. ครูแจกให้นักเรียนแต่ละกลุ่มจับฉลากคาถามเกี่ยวกับโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร จับฉลากกลุ่มละ 2 คาถาม แล้วให้นักเรียนภายในกลุ่มช่วยกันตอบคาถามพร้อมดูแผนที่ประเทศไทยประกอบ ดังนี้ 1) จังหวัดปราจีนบุรีอยู่ในภาคใดของประเทศไทย ? 2) จังหวัดปราจีนบุรีมีกี่อาเภอ ประกอบด้วยอาเภอใดบ้าง ? 3) โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศรตั้งอยู่อาเภอใด และจังหวัดใด ? 4) เหตุใดโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร จึงได้ใช้ชื่อ “เจ้าพระยาอภัยภูเบศร” ? 5) ใครคือผู้ก่อตั้งโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร ? 6) โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศรถูกก่อตั้งขึ้นในรัชกาลใด ? 7) โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศรถูกก่อตั้งเมื่อใด ? ขั้นทำกิจกรรมกลุ่ม
  • 8. 5. นักเรียนแต่ละแบ่งกลุ่มใหม่ โดยให้สมาชิกในกลุ่มนับ 12 34 5 นักเรียนคนใดนับหมายเลขใด ให้นักเรียนจับกลุ่มใหม่ตามหมายเลขที่นักเรียนนับ โดยครูเป็นผู้สังเกต ให้ความช่วยเหลือ ชี้แนะ นักเรียนแต่ละกลุ่ม 6. นักเรียนกลุ่มเดิมแยกย้ายกันไปหากลุ่มใหม่โดยมีหมายเลขเดียวกันอยู่ เรียกกลุ่มใหม่ว่ากลุ่มผู้เชี่ยวชาญ (Expert Group) 7. นักเรียนกลุ่มผู้เชี่ยวชาญในแต่ละกลุ่มร่วมมือกันศึกษาเรื่องที่ได้รับมอบหมายดังนี้ หมายเลขที่ 1 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง จังหวัดปราจีนบุรี หมายเลขที่ 2 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร หมายเลขที่ 3 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง เจ้าพระยาอภัยภูเบศร หมายเลขที่ 4 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง สินค้าขึ้นชื่อ 8. เมื่อสมาชิกแต่ละกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ (Expert Group) ร่วมมือกันศึกษาเรียบร้อยแล้ว ให้กลับเข้ากลุ่มเดิม สมาชิกแต่ละคนอธิบายความรู้ที่ตนได้ศึกษา ให้สมาชิกในกลุ่มเดิมฟังเรียงตามลาดับ สมาชิกคนใดไม่เข้าใจให้ซักถาม นักเรียนสรุปความรู้ที่ได้ลงในสมุด ขั้นตรวจสอบผลงำนและทดสอบ 9. นักเรียนทาใบงานเรื่อง โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร ขั้นสรุปบทเรียนและประเมินผลกำรทำงำนกลุ่ม 10. นักเรียนทุกกลุ่มร่วมกันเฉลยใบงาน โดยครูเป็นผู้ให้คาแนะนาความถูกต้อง 11. นาคะแนนของทุกคนในกลุ่มบ้านมารวมกน เป็นคะแนนกลุ่ม กลุ่มที่ได้คะแนนสูงสุด ได้รับคาชมเชยจากนักเรียนกลุ่มต่างๆ และครู 12. นักเรียนและครูช่วยกันสรุปความรู้เกี่ยวกับสถานที่ตั้งและประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภั ยภูเบศร สื่อการเรียนรู้/แหล่งการเรียนรู้
  • 9. 1. แผนที่ประเทศไทย 2. ใบความรู้ ใบความรู้ เรื่อง จังหวัดปราจีนบุรี ใบความรู้ เรื่อง โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร ใบความรู้ เรื่อง เจ้าพระยาอภัยภูเบศร ใบความรู้ เรื่อง สินค้าขึ้นชื่อ 3. ใบงาน เรื่อง โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ จุดประสงค์กำรเรียนรู้ข้อที่ วิธีกำร เครื่องมือ 4 สังเกตการตอบคาถาม/ สังเกตการชี้แผนที่ แบบสังเกต 1-3 ตรวจใบงาน ใบงาน บันทึกผลหลังกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้ ปัญหำและอุปสรรค ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… แนวทำงแก้ไขปัญหำ/ข้อเสนอแนะ ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………
  • 10. ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ..................................................ครูผู้สอน (.......................................................) วันที่.......................................... ร้ำนยำไทยต้นแบบ โพธิ์เงิน-อภัยภูเบศร โอสถ พิพิธภัณฑ์ที่มีชีวิต ส่งต่อคุณค่าของร้านขายยาสมุนไพรไทยโบราณ โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศรได้รับบริจาคตู้ยาโบราณชื่อว่า “ร้ำนขำยยำโพธิ์เงินโอสถตรำนำงกินนร” ตั้งอยู่ในตลาดพลูซึ่งเป็นร้านที่เก่าแก่นับตั้งแต่ปี พ.ศ.2476 ซึ่งเป็นร้านยาที่มีการรักษาและจ่ายยาจากประสบการณ์รุ่นต่อรุ่น หากใครเคยไปใช้บริการจะรู้ถึงความเชี่ยวชาญของเจ้าของร้านด้านการกวาดยาอย่างแน่นอนหลังจากเจ้าของร้านคนสุดท้ายเสียชีวิต คุณปัญญา มี้เจริญ(น้องชายคนเล็ก)คุณฉวีวรรณล.เฉลิมชัยชนะ(น้องสาว)และคุณเกียรติศักดิ์ มี้เจริญ(พี่ชายคนโต)จึงมอบตารายาตู้ยา เครื่องยาและจิตวิญญาณเพื่อส่งผ่านให้ร้านขายยาไทย ณ ตึกเจ้าพระยาอภัยภูเบศร ในปี พ.ศ.2554 ในวันที่ 19 มกราคม 2554 ร้านยาไทยโพธิ์เงิน-อภัยภูเบศร โอสถได้เปิดให้บริการในครั้งแรก ซึ่งเป็นช่องทางด่วนของการให้บริการผู้ป่วยนอก เปิดให้บริการโดยมีแพทย์แผนไทยประยุกต์(หมอแผนไทย)ที่มีใบประกอบโรคศิลปะให้บริการการตรวจรักษาในทุกๆโรค เช่น โรคสะเก็ดเงิน โรคโลหิตสตรี โรคมะเร็ง โรคตับแข็ง โรคเรื้อรังต่างๆและทาการวินิจฉัยโรคตามทฤษฎีการแพทย์แผนไทย ปรึกษาปัญหาสุขภาพตามธาตุเจ้าเรือนพร้อมสั่งจ่ายยาสมุนไพร ได้แก่ยาต้มสมุนไพรเฉพาะราย ยาในบัญชียาหลักสมุนไพรแห่งชาติยาในตารับโรงพยาบาล ตามโรคหรืออาการของผู้ป่วย โดยมีทะเบียนประวัติการตรวจรักษาและการใช้ยา สามารถนัดติดตามอาการทางโทรศัพท์และจัดส่งยาให้ทางไปรษณีย์ได้หากผู้ป่วยไม่สะดวกเดินทางกลับมาตรวจซ้า
  • 11. ตัวอย่างเคสผู้ป่วยโรคสะเก็ดเงิน ตัวอย่างเคสผู้ป่วยโรคแผลติดเชื้อ ก่อน-หลังการรักษา ก่อน-หลังการรักษา มีการจาหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสมุนไพร อาทิยาดมสมุนไพร ยาใช้ภายนอก เช่นสเปรย์และน้ามันแก้จากต้นกระดูกไก่ดาใช้แก้ปวดข้อ น้ามันทาแก้คัน(ผื่นผิวหนัง,โรคสะเก็ดเงิน) ชาชงสมุนไพร เช่นดาวเรืองอัญชันบารุงสายตาตรีผลาบารุงตับฝางบารุงเลือด บัวบกบารุงสมอง แคปซูลสมุนไพรเพื่อสุขภาพ ยาแฮงคนชาย(หมามุ่ย)หญ้ายุ่ม รากสามสิบเป็นต้น เปิดทุกวัน(ไม่มีวันหยุด)เวลา 8.30-16.30น.ณตึกพิพิธภัณฑ์เจ้าพระยาอภัยภูเบศร ชั้น1 โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร หรือสามารถติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ เบอร์ 037-211088 ต่อ 3333 , 087-582-0597 , 0909846751 ติดต่อในวันและเวลาราชการ อีกหนึ่งก้ำวที่ยำวไกล คงภูมิปัญญำไทย ธำรงค์ไว้ซึ่งเอกลักษณ์ของชำติ พิพิธภัณฑ์กำรแพทย์แผนไทย ตึกเจ้าพระยาอภัยภูเบศร สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2452 โดยท่านเจ้าพระยาอภัยภูเบศร (ชุ่ม อภัยวงศ์) เพื่อใช้รับเสด็จพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวแต่ทรงสิ้นพระชนม์ก่ อน ต่อมาตึกหลังนี้ได้ใช้รับเสด็จพระบาทสมเด็จพระมงกุ ฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ในปี พ.ศ. 2455 และเชื้อพระวงศ์อีกหลายพระองค์ ตึกหลังนี้เป็นมรดกตกทอดมาถึงพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี ในรัชกาลที่ 6 และพระองค์ได้มอบตึกหลังนี้ให้แก่ ทางราชการ ในปี พ.ศ. 2482 และได้กลายเป็นตึกผู้ป่ วยที่สวยงามที่สุดจนถึงปี พ.ศ. 2512 ในสมัยนายแพทย์สุจินต์ พลานุกูล ได้ทาการบูรณะและจะเปิดใช้เฉพาะในโอกาสพิเศษเท่ านั้ น ต่อมาได้มีการบูรณะตึกครั้งใหญ่ในปี พ.ศ. 2537 โดยงบประมาณของจังหวัดปราจีนบุรีจานวน 2.5 ล้านบาท และคุณป้าจรวย ประสมสน บริจาคสมทบอีก 100,000 บาท เพื่อจัดทาเป็นพิพิธภัณฑ์การแพทย์แผนไทยอภัยภูเบศร ประวัติเจ้าพระยาอภัยภูเบศร ( ชุ่ม อภัยวงศ์ ) (พ.ศ.2404 - 2465) ต้นตระกูลอภัยวงศ์ คือ เจ้าพระยาอภัยภูเบศร (แบน) ซึ่งในสมัยพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้รับราชการอยู่ที่กัมพู ชา เพราะขณะนั้นเกิดการจลาจลเหลือแต่นักองค์เอง ซึ่งยังทรงพระเยาว์อยู่ เมื่อนักองค์เองเติบใหญ่ได้พระราชทานภิเษกให้ปกครองกัมพูชา และทรงมีพระราชดารัสขอเมืองพระตะบอง เสียมราฐ ศรีโสภณ ให้เจ้าพระยาอภัยภูเบศร(แบน) ครอบครองตรงต่อกรุงเทพฯตั้งแต่ พ.ศ.2337
  • 12. เพื่อเป็นบาเหน็จแก่เจ้าพระยาอภัยภูเบศร (แบน) ที่ปกครองกัมพูชาโดยเรียบร้อยมาถึง 12 ปี เจ้าพระยาอภัยภูเบศร ( ชุ่ม อภัยวงศ์ ) เกิดเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2404 ที่ จังหวัดพระตะบอง เป็นบุตรเจ้าพระยาคทาธรธรณินทร์ ( เยีย) ผู้สาเร็จราชการเมืองพระตะบองและท่านผู้หญิงทิม เมื่อเจริญวัยมีอายุสมควรเข้ารับราชการได้ บิดาจึงได้นาเข้าถวายตัวเป็นมหาดเล็กวิเศษอยู่มณฑลกรุงเทพ ฯ ในสมัยรัชกาลที่ 5 ได้ ไปฝึกหัดราชการในสานักสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) และในราชสานักท่านมีความกตัญญูกตเวทิตาคุณต่อ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวอย่างยิ่ง ได้รับพระราชทานสัญญาบัตรเลื่อนเป็น พระอภัยพิทักษ์ ตาแหน่งผู้ช่วยราชการเมืองพระตะบอง จากนั้นจึงได้ออกไปรับราชการกับบิดา ปี พ.ศ. 2435 บิดาถึงแก่อสัญกรรม ได้รับพระราชทานสัญญาบัตรบรรดาศักดิ์เลื่อนเป็น พระอภัยพิทักษ์ ตาแหน่ง ผู้ช่วยราชการเมืองพระตะบอง ปี พ.ศ. 2439 โปรดเกล้า ฯ ให้รวมหัวเมือง พระตะบอง เสียมราฐ ศรีโสภณ และพนมศก เข้าเป็นมณฑลเรียกว่า มณฑลบูรพา ท่านเจ้าพระยาอภัยภูเบศร ( ชุ่ม อภัยวงศ์ ) มีความแตกต่างจากบรรพบุรุษ เนื่องจากได้เข้ามาศึกษาในมณฑลกรุงเทพ ฯ จึงเป็นที่คุ้นเคยกับขนบธรรมเนียมประเพณีของสยามและนโยบายของรัชกาลที่ 5 เจ้าพระยาอภัยภูเบศรรับราชการด้วยความสามารถ ฉลาด รู้ทางได้ทางเสีย ปฏิบัติราชการมิได้บกพร่อง ในปี พ.ศ. 2446 จึง โปรดเกล้าให้เจ้าพระยาอภัยภูเบศรเป็นผู้สาเร็จราชการ มณฑลบูรพาและให้ว่าราชการเมืองพระตะบอง ได้รับพระราชทานสัญญาบัตรบรรดาศักดิ์เลื่อนเป็นพระยาคทาธรธรณินทร์ ปี พ.ศ.2449 เกิดการผันแปรทางการเมืองระหว่างประเทศไทยกับอินโดจีน ของฝรั่งเศส ซึ่งกัมพูชาตกไปอยู่ภายใต้การปกครองของฝรั่งเศส ฝรั่งเศสได้ขอเปลี่ยนแผ่นดินเมืองตราด ซึ่งอยู่ภายใต้ความครอบครองของมณฑลบูรพาทั้งหมดของไทย รัฐบาลไทยจึงได้ตกลงสัญญาเมื่อวันที่23 มีนาคม พ.ศ. 2447 และแลกเปลี่ยนสัตยาบรรณสัญญาระหว่างประเทศไทยกับฝรั่งเศส ณกรุงปารีส เมื่อวันที่21 มิถุนายนพ.ศ.2450 ต่อ มาเจ้าพระยาอภัยภูเบศรจึงได้กราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวขอพระราชทานราชานุญาต อพยพเข้ามารับราชการสนองพระเดชพระคุณในกรุงเทพฯ ท่านเจ้าพระยาอภัยภูเบศรจึงได้อพยพครอบครัวและผู้ติดตามเข้ามาอยู่ในประเทศไทยที่เมืองปราจีนบุรี ปี พ.ศ. 2452 ท่าน เจ้าพระยาอภัยภูเบศรได้สร้างตึกใหญ่โตงดงาม โดยมีเจตนารมณ์เพื่อจะกราบบังคมทูลเชิญพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เสด็จประทับแรม แต่ไม่ทันเพราะทรงเสด็จสวรรคตเสียก่อน ต่อมาในปี พ.ศ. 2455 พระบาทสมเด็จ พระมหาวชิราวุธมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว(รัชกาลที่6 ) ได้เสด็จประพาสเมืองปราจีนบุรี เจ้าพระยาอภัยภูเบศรจึงขอพระราชทานพระบรมราชวโรกาสใช้ตึกหลังนี้เป็นที่ รับเสด็จได้อย่างเรียบร้อยและสมพระเกียรติ ตึกหลังนี้สร้างขึ้น ในปี พ.ศ. 2452 โดยบริษัท โฮวาร์ด เออร์สกิน ซึ่งเป็นแบบเดียวกัน กับตึกของ ท่านเจ้าพระยาอภัยภูเบศร ที่พระตะบอง นอกจากใช้รับเสด็จรัชกาลที่ 6 แล้ว ยังได้ใช้ รับเสด็จ เชื้อพระวงศ์ ในสมัยต่าง ๆ รวมถึงการรับเสด็จ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ครั้งเสด็จประพาสจังหวัดปราจีนบุรี ซึ่งท่านเจ้าพระยาอภัยภูเบศรไม่เคยใช้ตึกหลังนี้เป็นที่พักส่วนตัวของท่าน แต่อย่างใด เมื่อท่านอสัญกรรม จึงได้ใช้ตึกหลังนี้ตั้งบาเพ็ญกุศลศพเป็นครั้งสุดท้ายเท่านั้น ท่านเจ้าพระยาอภัยภูเบศร ป่วยเป็นโรคเรื้อรังมาหลายปี จนถึงวันที่ 27 สิงหาคม 2465 ถึงแก่อสัญกรรม หลังจากที่ท่านอสัญกรรม พระยาอภัยวงศ์วรเศรษฐ(ช่วง อภัยวงศ์ ) บุตรชายที่เกิดจาก หม่อมสอิ้ง ซึ่งเป็นบุตร วัยอาวุโสกว่าคนอื่นได้รับพินัยกรรมให้เป็น ผู้จัดการมรดกต่อมาปี พ.ศ. 2467 พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงอภิเษกสมรสกับพระนางเจ้าสุวัทนาพระวรราชเทวี ซึ่งเป็น ธิดาของพระยาอภัยภูเบศร ( เลื่อม อภัยวงศ์ ) ซึ่งเป็นพี่ชายของพระยาอภัยวงศ์วรเศรษฐ ( ช่วง อภัยวงศ์ ) จึงได้ถวายตึกเจ้าพระยาอภัยภูเบศรและสิ่งปลูกสร้าง ให้แด่ พระนางเจ้าสุวัทนาพระวรราชเทวี และพระนางเจ้า ฯ ได้น้อมเกล้าถวายแด่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวต่อมา พระองค์ได้ทรงมอบตึกหลังนี้ คืนให้กับ พระนางเจ้าสุวัทนาพระวรราชเทวี หลายปีต่อมาพระนางเจ้า ฯ ได้ทรงมอบตึกหลังนี้ให้กับรัฐบาลเพื่อใช้เป็นโรงพยาบาลและประโยชน์ต่อส่วนรวม โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร เปิดทาการเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2484 จัดเป็น 1 ใน 19 โรงพยาบาลประจาจังหวัด ยุคแรกของประเทศไทย เดิมใช้ชื่อว่าโรงพยาบาลปราจีนบุรี ต่อมาได้มีการเปลี่ยนเป็น "โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร" เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2509 เนื่อง จากหอผู้ป่วยหลังแรก คือตึกเจ้าพระยาอภัยภูเบศรนั้น สร้างโดยเจ้าพระยาอภัยภูเบศร (ชุ่ม อภัยวงศ์) ตึกนั้นมีคุณค่าทั้งความงามด้านสถาปัตยกรรม และทางประวัติศาสตร์ ปัจจุบันตึกหลังนี้ใช้เป็นที่จัดแสดงพิพิธภัณฑ์การแพทย์แผนไทย ให้ประชาชนเข้าเยี่ยมชมส่วนของการจัดแสดงตารายาโบราณกว่า 1500 เล่ม พิพิธภัณฑ์ยาหอม ร้านยาไทยโพธิ์เงิน กิจกรรมนิทรรศการศูนย์การเรียนรู้การดูแลสุขภาพ และเป็นที่ฟังการบรรยายศึกษาดูงานด้านการแพทย์แผนไทยและสมุนไพรอภัยภูเบศร พิพิธภัณฑ์เปิดให้เข้าชมได้ทุกวัน ไม่มีค่าใช้จ่าย เวลา 08.30-16.00น โรงพยำบำลกำรแพทย์แผนไทยและกำรแพทย์ทำงเลือก อภัยภูเบศร โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศรมีการดาเนินงานด้านการพัฒนาการแพทย์แผนไทยและสมุนไพรมากว่า 30 ปี ครอบคลุมทุกมิติ ตั้งแต่การพัฒนายาจากสมุนไพร การบริการและส่งเสริมสุขภาพในชุมชน การบริการผู้ป่ วยนอก การเผยแพร่ความรู้ ในปี 2543 ได้เปิดบริการผู้ป่ วยในอาคารเปรมสุข(โรคหลอดเลือดสมอง- โครงการนาร่อง) เป็นต้น
  • 13. แต่อย่างไรก็ตามการดาเนินงานที่ผ่านมายังไม่มีโครงสร้างและแนวทางที่ชัดเจนในการบูรณาการกับการแพทย์แผนปัจจุบัน ซึ่งได้ทาการเปิดให้บริการอย่างเต็มรูปแบบในวั นที่ 24 มิถุนายน 2559 ซึ่งเป็นวันเกิดของโรงพยาบาลครบรอบ 75 ปี กำรรักษำ การรักษาโรคตามทฤษฎีการแพทย์แผนไทย มีแนวคิดว่า โรคภัยไข้เจ็บเกิดจากความผิดปกติของธาตุทั้ง 4 อันประกอบด้วย ดิน น้า ลม ไฟ และตรีโทษ อันได้แก่ เสมหะ ปิตตะ วาตะ การรักษาด้องปรับให้ร่างกายคืนสู่สมดุล ทั้งการกินยา การนวด การอบ ประคบ การย่างยา การเผายา เป็นต้น ที่สาคัญ คือ การแพทย์แผนไทยสามารถรักษาโรคที่เกี่ยวกับโรคทางโครงสร้างได้ดี เช่น ใช้การนวดเพื่อแก้ไขปัญหากระดูกทับเส้น ข้อเข่าเสื่อม กระดูกสันหลังคด หัวตกหมอน เป็นต้น กล่าวคือ การแพทย์แผนไทยมีทฤษฎีการรักษาได้ทุกโรค แต่ที่ถูกนามาใช้ได้น้อยเนื่องจากถูกทอดทิ้งมาเป็นเวลานาน ขาดความต่อเนื่อง การมีโรงพยาบาลจะเป็นการค่อยๆ ฟื้นฟูอย่างเป็นระบบ และมีความปลอดภัย ทางโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร ได้ให้บริการรักษาทางด้านแผนไทยมายาวนานกว่า 10 ปี ซึ่งโรคที่มีผู้มารับบริการมากสุด คือกลุ่มอาการกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อ เช่น อัมพฤกษ์ อัมพาต ออฟฟิศซินโดรม หัวไหล่ติดเข่าเสื่อม ปวดกล้ามเนื้อ และโรคที่แผนปัจจุบันยังไม่สามารถให้คาตอบได้ เช่น สะเก็ดเงิน โดยพบว่า ผู้ป่ วยที่มารับการรักษาได้รับประทานยาต้มสมุนไพรเฉพาะราย พบว่าผู้ป่ วยมีแนวโน้มดีขึ้นกว่า 90% และบางรายสามารถหยุดยาได้โดยไม่มีอาการกาเริบซ้า กำรรองรับผู้ป่ วย โรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยฯ สามารถรับบริการผู้ป่ วยนอกได้มากถึงวันละ 50-100 คน และในกรณีเป็นผู้ป่ วยใน สามารถรองรับ ห้องพักผู้ป่ วยสามัญรวม จานวน 12 เตียง ห้องพักผู้ป่ วยพิเศษเดี่ยวจานวน 5 ห้อง ห้องแยกผู้ป่ วยโรคสะเก็ดเงิน จานวน 1 ห้อง ทั้งนี้ ในอนาคตอาจมีการปรับและขยายการรองรับผู้ป่ วยได้ตามความเหมาะสม สิทธิกำรรักษำ  สิทธิ์บัตรทอง (ในเขต) :สามารถเบิกค่ารักษาพยาบาลได้ แต่ไม่สามารถเบิกค่าหัตถการฝังเข็มได้ และในส่วนของการเข้ารับการรักษาในห้องพิเศษต้องจ่ ายส่วนเกินคืนละ 1,100 บาท  สิทธิ์บัตรทอง (นอกเขต) : ต้องมีใบส่งตัวจากโรงพยาบาลต้นสังกัด จึงจะมีสิทธิ์เทียบเท่าบัตรทองในเขต  สิทธิ์เบิกคลัง (ข้าราชการ) : สามารถเบิกค่ารักษาพยาบาลได้ และกรมบัญชีกลางให้สิทธิ์เบิกค่าห้องพักได้วันละ 1,000 บาท ถ้าจะพักห้องพิเศษจะต้องจ่ ายส่วนเกิน 250 บาท/วัน  สิทธิ์ประกันสังคม : สามารถเบิกค่ารักษาพยาบาลได้ แต่ไม่สามารถเบิกในส่วนของการฟื้นฟูสมรรถภาพได้  สิทธิ์เบิกประกันชีวิต : ให้ผู้ป่ วยติดต่อกับประกันชีวิตของตนเอง กระบวนกำรกำรรักษำ ขั้นตอนการตรวจโดยแพทย์แผนไทย หัวใจหลัก คือ การดูอย่างเป็นองค์รวม และนาทฤษฎีธาตุเข้ามาใช้ โดยจะเริ่มจากการซักประวัติอาการคนไข้โดยละเอียด เพื่อหาสาเหตุของการทาให้เกิดโรค ประวัติการรักษาที่ผ่านมา ประวัติการแพ้ โรคประจาตัว ตรวจวัดสัญญาณชีพ จากนั้น เข้าสู่กระบวนการตรวจทางศาสตร์แผนไทย โดยดูธาตุเจ้าเรือนว่าผู้ป่ วยมีธาตุเจ้าเรือนทั้ง 4 ได้แก่ ดิน น้า ลม ไฟ อะไรที่กาเริบ หย่อนหรือพิการ ดูความสมดุลของตรีธาตุ(ปิตตะ วาตะ เสมหะ) โดยเน้นเรื่องความสมดุลเป็นหลัก ตรวจร่างกาย โดยดูรอยโรค อาการ ลักษณะทั่วไป ดูลิ้น เยื่อบุตา สีตา ตรวจเส้นประธาน 10 และเส้นตามร่างกาย ตรวจชีพจรแบบแผนไทย(ดูลักษณะการเต้นของชีพจรซึ่งสามารถบ่ งบอกอา การเจ็บป่ วยได้) และตรวจกาเดา คือความร้อนในร่างกาย จากนั้น นามาประกอบกับการรักษา เพื่อปรับเข้าสู่สมดุลก็จะไม่ทาให้เกิดการเจ็บป่ วย หัตถกำรต่ำงๆ 1. กำรเผำยำ การเผายาเป็นเวชปฏิบัติแผนไทยหัตถการหนึ่งที่ใช้หลักการเพิ่มธาตุไฟเฉพาะที่ส่วนใดส่วนห นึ่งของร่างกาย โดยใช้ความร้อนของไฟผ่านเครื่องยาสมุนไพรสดที่มีรสร้อนเข้าไป ใช้รักษาในผู้ป่ วยที่มีภาวะธาตุไฟหย่อน โรคหรืออาการที่สามารถเผายา ได้แก่ ท้องอืดท้องเฟ้อ อาหารไม่ย่อย ภูมิแพ้อากาศ ผู้ป่ วยอัมพฤกษ์อัมพาต อาการหนาวใน อาการอ่อนเพลียจากปิตตะหย่อน และสามารถเผาได้หลายส่วนตามร่างกาย เช่น ท้อง แผ่นหลัง ทั้งนี้หัตถการนี้ไม่เหมาะกับผู้ป่ วยที่มีภาวะปิตตะกาเริบ เช่น มีไข้ ปวดศีรษะ ขณะมีประจาเดือน ร้อนใน เพลียจากการตากแดด หอบเหนื่อย
  • 14. 2. กำรกักน้ำมัน มีจุดมุ่งหมายเช่น เดียวกับการชโลมน้ามันตามร่างกาย คือเพื่อให้น้ามันซึ่งมีคุณสมบัติ เป็นมัน ชุ่ม และช่วยในการหล่อลื่น ซึมซาบเข้าสู่ร่างกายส่วนที่มีการกักน้ามัน ทาให้บริเวณนั้นได้รับการหล่อลื่นของน้ามัน จึงช่วยลดอาการติดขัดในบริเวณที่มีปัญหาได้ ทั้งยังช่วยส่งเสริมการไหลเวียนของกระแสประสาท เลือด สารอาหาร ฯลฯ ในบริเวณที่กักน้ามันด้วย นอกจากนี้ ตัวน้ามันเองโดยเฉพาะน้ามันงายังมีสรรพคุณบารุงกล้ามเนื้อ เส้นเอ็น และกระดูกอีกด้วย การกักน้ามันโดยใช้น้ามันงา โดยเฉพาะน้ามันยาที่ปรุงตามตารับเฉพาะ จะยิ่งเพิ่มสรรพคุณในการบาบัดเยียวยาความผิดปกติของกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อได้ดียิ่งขึ้น การกักน้ามันจึงสามารถใช้กับกล้ามเนื้อตึงเกร็งเรื้อรัง และใช้กักตามข้อต่อเพื่อบาบัดความผิดปกติเกี่ยวกับข้อ เช่น ข้อติด ข้ออักเสบ ข้อเสื่อม รวมทั้งกักน้ามันตามแนวกระดูกสันหลังเพื่อบาบัดความผิดปกติของกระดูกสันหลัง โดยเฉพาะหมอนรองกระดูกสันหลังเคลื่อน 3. กำรประคบแช่แผลโรคสะเก็ดเงิน เป็นการทาหัตถการผู้ป่ วยโรคสะเก็ดเงิน *ใช้ในกรณีผู้ป่ วยที่มีสะเก็ดหนา ชั้นผิวหนังepidermis โดยเริ่มจากขั้นตอนดังนี้ 3.1.ทำควำมสะอำดแผล ด้วยการใช้น้ามันจากผิวมะกรูด/ส้ม/ส้มโอ ทาการถูสะเก็ดให้หลุดลอกออก ใช้เปลือกเป็นตัวถู โดยการขยาเปลือกให้มีน้ามันออกมาที่ผิวแล้วทาการถูสะเก็ ดให้บางลง 3.2.ล้ำงแผล โดยการใช้วิธีประคบแผลด้วย normal saline หรือสารสกัดสมุนไพร เป็นการล้างน้ามันออกและเพิ่มความชุ่มชื้นให้กับผิว โดยใช้ผ้าก๊อซชุบ normal saline หรือตัวยามาประคบแผลทิ้งไว้ประมาณ30นาที 3.3.ทำยำน้ำมัน โดยจะใช้น้ามันทาแก้คัน (สูตรโพธิ์เงิน) หรือสูตรของวิทยาลัยตามคัมภีร์วิถีกุฏโรค 4. กำรพอกยำ เป็นหัตถการที่ใช้ในการลดปิตตะในร่างกาย เช่น การพอกลดการอักเสบของผื่น การพอกลดบวมของข้อหรือกล้ามเนื้อ โดยตารับยาที่ใช้จะเข้ายากลุ่มที่ช่วยลดความร้อน หรือช่วยลดการอักเสบ อาทิ ไพล ขมิ้น เป็นต้น อีกหนึ่งตัวยาที่สาคัญในการเข้ายาพอกนั้นก็คือยาที่ช่วยนาพายาต่างๆให้เข้าสู่ผิวได้ดี และเร็วขึ้น เช่น แอลกอฮอล์ เกลือ หรือมะคาดีควาย (ในตัวมะคาดีควายนอกจากช่วยนาพายาเข้าสู่ผิวได้ดีแล้ว ยังมีคุณสมบัติในการช่วยให้ยายึดเกาะกันได้ดีขึ้นด้วย) 4.1. ตำรับยำพอก (ใช้ทาหัตถการกลุ่มโรคทางข้อ) ส่วนประกอบ แป้งข้าวเจ้า 500 กรัม ลูกแป้งข้าวหมาก 1 ลูก ดองดึง บดละเอียด 100 กรัม ขิงแก่ สด 200 กรัม น้าต้มสุก วิธีทำ บดลูกแป้งข้าวหมากให้ละเอียดแล้วนามาผสมลงในแป้งข้าวเจ้าคลุกเค้าให้เข้ากัน จากนั้นนาผงดองดึงที่บดละเอียดแล้วโรยลงในแป้งที่ผสมแล้วในข้อที่หนึ่งก็จะได้ยาพอกเข่าแบบผสมเก็ บไว้ วิธีใช้ นาผงยาพอกเข่าประมาณ 3 ช้อนโต๊ะ มาผสมกับน้าขิงที่คันแล้ว คลุกเค้าให้เข้ากันแล้วนามาพอกที่เข่าทิ้งไว้ประมาณ 15 นาที หรือจนกว่ายาพอกเข่าจะแห้ง ให้พอกเข่าวันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น 4.2. กำรพอกยำเย็น ใช้รักษาอาการ ตับร้อน ตับแลบ แผลผุพองตามผิวหนัง เริม งูสวัด ส่วนประกอบ ดินสอพองสะตุ ผงบอระเพ็ด ผงเปราะหอม ผงใบสะเดา ผสมเครื่องยาทั้งหมดให้เป็นเนื้อเดียวกัน วิธีกำรพอกยำ
  • 15. 1. นาเครื่องยาทั้งหมดไปผสมน้าให้พอเป็นโคลน 2. นาไปพอกในบริเวณที่ต้องการ Service 07 บ้านเล่าเรื่อง เมืองสมุนไพร ปราจีนบุรี แหล่งนัดพบแห่งใหม่ ของปราจีนบุรี บ้านแห่งการเรียนรู้ ภูมิปัญญาสมุนไพร ที่เช็คอินแห่งใหม่ของคนทุกวัย บ้านเล่าเรื่องเมืองสมุนไพรปราจีนบุรี ตั้งขึ้นเพื่อ เป็นแหล่งนัดพบ ทากิจกรรมร่วมกัน เรียนรู้สมุนไพรในวิถีชีวิต ผ่านเรื่องเล่า นิทรรศการ ประวัติศาสตร์ ภูมิปัญญา และอาหารครื่องดื่มจากสมุนไพร เดิมทีเจ้าของบ้านคือ “ครอบครัวเปี่ยมสมบูรณ์” ได้มอบบ้านหลังนี้ให้ “มูลนิธิโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร”ดาเนินกิจกรรมเพื่อสาธารณะประโยชน์ โดยบ้านหลังนี้สร้างขึ้นหลังไฟใหม้ใหญ่ตลาดปราจีน เคยเป็นบ้านที่ทันสมัยที่สุดแห่งหนึ่ง เมื่อพ.ศ. 2493 ด้วย จังหวัดปราจีนบุรีได้รับคัดเลือกให้เป็น 1 ใน 4 เมืองสมุนไพรต้นแบบของประเทศไทย ซึ่งเป็นจังหวัดที่มีความพร้อมในการพัฒนาสมุนไพร โดยโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร ได้เริ่มต้นการพัฒนาสมุนไพรและการแพทย์แผนไทยอย่างต่อเนื่องยาวนาน จึงได้รับขนานนามว่า “ปราจีนบุรี เมืองสมุนไพร” มีจุดเด่นของบ้านเล่าเรื่อง เมืองสมุนไพร คือ การประยุกต์นาสมุนไพรมาทาเป็นอาหาร และเครื่องดื่ม รสชาติอร่อย แปลกใหม่ อย่างสร้างสรรค์ เช่น ราดหน้าเส้นอัญชัน หูเสือบะช่อตาลึง ไข่เจียวสมุนไพรไก่ทอดขมิ้น เทมปุระดอกไม้ ยาผักพื้นบ้าน ข้าวอบธัญพืช ฯลฯ เมนูเครื่องดื่มสมุนไพร ที่ห้ามพลาด คือ อัญชันโซดา สามทหารเสือโซดา สามเกลอโซดา สามดอกไม้โซดา ดื่มแล้วสดชื่นได้สุขภาพดี มีการปลูกสมุนไพรอยู่ทั่วบริเวณบ้าน พร้อมป้ายชื่อ บอกสรรพคุณสมุนไพร เพื่อเรียนรู้จากประสบการณ์จริง เช่น “ว่านหอมแดง” มีสรรพคุณแก้หวัดคัดจมูก ขับลมในลาไส้ ขับปัสสาวะ เป็นยาระบาย ต้นเสลดพังพอน แก้พิษแมลงสัตว์กัดต่อ เริมงูสวัด หรือ หูเสือ แก้ไอ แก้หวัดเป็นต้น ภายในบ้านมีการจัดโซนนิทรรศการ ได้แก่ “นิทรรศการบุคคลสาคัญในประวัติศาสตร์” – พระมหากษัตริย์แต่ละพระองค์ที่เคยเสด็จเยือนจังหวัดปราจีนบุรี – เจ้าเมืองที่มีบทบาทต่อการพัฒนาเมืองปราจีนบุรีในอดีต – ที่มาที่ไปของความอุดมสมบูรณ์ของเมือง จนเกิดเป็นเมืองสมุนไพร – ผู้หญิงเก่งของเมืองปราจีนบุรี “นิทรรศการหม้อดินเผาและสมุนไพร” จัดแสดงหม้อดินเผาโบราณ ที่ค้นพบในแม่น้าปราจีนบุรี และภาพวาดสมุนไพรหลากหลายชนิดจากภูเขาและป่าไม้ “ห้องรับแขกของบ้าน” เล่าถึงที่มาที่ไปของโครงการบ้านเล่าเรื่อง เมืองสมุนไพรปราจีนบุรี และจัดแสดงวัตถุโบราณล้าค่า
  • 16. “ห้องสมุด และเรื่องราวของคนเมืองปราจีนบุรี” สาหรับค้นคว้าข้อมูลที่หลากหลาย และชมภาพถ่ายโบราณ ที่รวบรวมมาจากคนปราจีนบุรี สื่อถึงวิถีชีวิตและเรื่องราวของผู้คนในอดีต “นิทรรศการผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์” ผู้คนที่มาอาศัยตั้งรกรากในปราจีนบุรีนั้น มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์ ทั้ง ลาวพวน ญวน เขมร จีน ท่านที่สนใจสามารถสอบถามเพิ่มเติม บ้านเล่าเรื่อง เมืองสมุนไพร ปราจีนบุรี (ติดกับศาลเจ้าพ่อหลักเมือง) เปิดทุกวัน เวลา 10.00-19.00 น. โทร. 098 254 0365 ชื่อ.......................................................................................เลขที่........................ชั้น...................... ใบงาน เรื่อง เจ้าพระยาอภัยภูเบศร คำชี้แจง ให้นักเรียนสรุปความรู้ที่ได้รับลงในช่องว่างที่กาหนดให้ www.facebook.com/banlaoreung