SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
241203 INNOVATION AND INFORMATION
TECHNOLOGY FOR LEARNING
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียน
โดย
นาย อลงกรณ์ เคี่ยนบุ้น 553050113-8
นาย อัษฎา พงษ์พัฒน์ 553050115-4
นางสาวกนกณัฐ สีหานาม 553050271-0
นักศึกษาชั้นปีที่2 ปีการศึกษา 1/2556
คณะศึกษาศาสตร์ สาขาคณิตศาสตรศึกษา
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
อาจารย์ที่ปรึกษา
อ.ดร.อนุชา โสมาบุตร
อ.ดร.จารุณี ซามาตย์
Part 1
Introduction toTechnologies
and Educational Media
Charter 1
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
1.สรุปสาระสาคัญเกี่ยวกับ ความหมายของเทคโนโลยี
และสื่อการศึกษา พร้อมทั้งเปรียบเทียบพัฒนาการทาง
เทคโนโลยีทางการศึกษาในช่วงยุคต่างๆ
ความหมายของเทคโนโลยี“เทคโนโลยี” หมายถึง
การนาแนวคิด หลักการ เทคนิค วิธีการ กระบวนการ ตลอดจน
ผลิตผลทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ในระบบงานต่างๆ เพื่อ
ปรับปรุงระบบงานนั้นๆ ให้ดีขึ้น เพื่อ
- ประสิทธิภาพ (Efficiency) เทคโนโลยีจะช่วยให้การทา
งานนั้นถูกต้องและรวดเร็ว
- ประสิทธิผล (Effectiveness) ทาให้งานมีคุณภาพ
- ประหยัด (Economy) จะช่วยประหยัดเวลา ทรัพยากร
และก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด
- ปลอดภัย (Safety) ระบบการทางานเกิดความปลอดภัย
มากขึ้น
สื่อการสอน, สื่อการศึกษา คือ สื่อที่ใช้ประกอบการ
สอนหรือถ่ายทอดความรู้จากผู้สอน
สู่ผู้เรียน อาจจะเป็นวัตถุสิ่งของที่มีตัวตนหรือไม่มีตัวตนก็ได้
เช่น วัตถุสิ่งของตามธรรมชาติ ปรากฎการณ์ตามธรรมชาติ วัตถุ
สิ่งของที่คิดประดิษฐ์หรือสร้างขึ้นมาสาหรับการสอน คาพูด
ท่าทางวัสดุและเครื่องมือสื่อสาร กิจกรรมหรือกระบวนการ
ถ่ายทอดความรู้ต่างๆ
เทคโนโลยีการศึกษาเพราะการเปลี่ยนแปลงอัน
เนื่องมาจาก การเปลี่ยนกระบวนทัศน์จากพื้นฐานทางทฤษฎี
การเรียนรู้พฤติกรรมนิยม (Behaviorism) มาสู่ พุทธิ
ปัญญานิยม (Cognitivism) และคอนสตรัคติวิสต์
(Constructivism) กอปรทั้งความ เปลี่ยนแปลงทาง
เทคโนโลยีใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสาร จึงได้มี การปรับเปลี่ยนความหมายของเทคโนโลยี
การศึกษาให้เหมาะสมกับสภาพความเปลี่ยนแปลง
โจฮันน์ อะมอส คอมินิอุส (Johannes Amos
Comenius ค.ศ.1592-1670) เป็นผู้ที่พยายามใช้วัตถุ สิ่งของ
ช่วยในการสอนอย่างจริงจัง จนได้รับเกียรติว่าเป็นบิดาแห่งโสตทัศน
ศึกษา คอมินิอุสได้แต่งหนังสือสาคัญ ๆ ไว้มากมาย ที่สาคัญยิ่งคือ หนังสือ
Obis Sensualium Pictus หรือ "โลกในรูปภาพ" ซึ่งพิมพ์ครั้ง
แรกในปี ค.ศ.1685 เป็นหนังสือที่ใช้รูปภาพประกอบบทเรียน ถึง 150
ภาพ ซึ่งนับว่าเป็นการใช้ทัศนวัสดุประกอบการเรียนเป็นครั้งแรก
สาหรับพัฒนาการทางเทคโนโลยีการศึกษาในประเทศไทยนั้น
ได้มีการให้ความสาคัญต่อเทคโนโลยีการศึกษา ทั้งในด้านการจัดตั้ง
หน่วยงานด้านเทคโนโลยีการศึกษา ในหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐบาล
และเอกชน ตลอดจนมีการเปิดการเรียนการสอนด้านเทคโนโลยีการศึกษา
ระดับปริญญาตรี-โท-เอก ในสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา ทั้งนี้
เพื่อให้สอดคล้องกับ พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติฉบับ พ.ศ.2542 ที่เน้น
ความสาคัญของเทคโนโลยีการศึกษาเพื่อให้สอดคล้องกับความ
เปลี่ยนแปลงและความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยีนั่นเอง
2. จาแนกองค์ประกอบขอบข่ายของเทคโนโลยีทาง
การศึกษาว่ามีความสาคัญต่อการจัดการศึกษาในยุค
ปัจจุบันอย่างไร
ขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา มาตรฐานหรือ
ขอบข่ายเกี่ยวกับเทคโนโลยีการศึกษาที่นักการศึกษา หรือผู้ที่ทา
งานด้าน การศึกษาถือว่าเป็นสิ่งสาคัญที่จะต้องรู้จักและทาความ
เข้าใจ เพราะจะช่วยให้เราสามารถกาหนด สร้างสรรค์และระบุ
ขอบข่ายงานด้านเทคโนโลยีการศึกษา มีทั้งหมด5องค์ปรกอบ
ได้แก่ การออกแบบ (Design)
การพัฒนา (Development)
การใช้ (Utilization)
การจัดการ (Management) และ
การประเมิน (Evaluation)
ซึ่งมีความสาคัญดังนี้
การออกแบบ
- การออกแบบระบบการสอน
- การออกแบบสาร
- กลยุทธ์การสอน
- คุณลักษณะของผู้เรียน
ซึ่งจะถือเป็นเอกลักษณ์ของครูผู้สอนทาให้เด็กเข้าใจการเรียนได้ง่ายขึ้น
การพัฒนา
- เทคโนโลยีสิ่งพิมพ์
- เทคโนโลยีด้านโสตทัศน์
- เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
- เทคโนโลยีบูรณาการ
พัฒนาให้เหมาะสมกับยุคสมัย เพราะเด็กสมัยนี้ก็จะเก่งในเรื่องของ
เทคโนโลยีมากขึ้น
การใช้
- การใช้สื่อ
- การเผยแพร่นวัตกรรม
- การนาไปใช้สาหรับตนเองและในสถานศึกษา
- นโยบายและกฎระเบียบ
เลือกใช้สื่อให้ถูกต้อง ตามความเหมาะสมของบริบทแวดล้อม
การจัดการ
- การจัดการโครงการ
- การจัดการทรัพยากร
- การจัดการระบบขนส่ง
- การจัดการสารสนเทศ
ควบคุมทุกอย่าง เป็นระบบ เพื่อความเรียบร้อย
การประเมินผล
- การวิเคราะห์ปัญหา
- การวัดตามเกณฑ์
- การประเมินระหว่างกระบวนการ
- การประเมินแบบองค์รวม
ประเมินผลเพื่อแก้ไขปัญหาและพัฒนาต่อไปอย่างไม่มีที่สิ้นสุด
3. EducationalTechnology และ
InstructionalTechnology มีความเหมือน
ความแตกต่างหรือสัมพันธ์กันอย่างไร
เทคโนโลยีการศึกษา เป็นศาสตร์ที่ประยุกต์เอาวิชาการต่างๆ มาจัด
กิจกรรมการเรียนการสอนให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ได้อย่างมี
ประสิทธิผล ซึ่งเกิดจากการออกแบบการสอนตามหลักการออกแบบการเรียน
การสอน(Instructional Design) โดยคานึงถึงคุณลักษณะของ
ผู้เรียน ความเหมาะสมของสื่อที่สอดคล้องกับลักษณะเนื้อหาและความสนใจ
ของผู้เรียน เทคโนโลยีการศึกษา เป็นคาที่มาจากคาสองคา คือ เทคโนโลยี ที่มี
ความหมายว่า เป็นศาสตร์แห่งวิธีการ ซึ่งมิได้มีความหมายว่าเป็นศาสตร์แห่ง
เครื่องมือเพียงอย่างเดียว แต่รวมถึง วัสดุและวิธีการด้วย เมื่อมาเชื่อมกับคาว่า
การศึกษา เกิดเป็นคาใหม่ที่มีความหมายว่า การประยุกต์เครื่องมือ วัสดุและ
วิธีการไปส่งเสริมประสิทธิภาพการเรียนรู้ ตลอดจนการจัดสภาพแวดล้อมใหม่
เพื่อการเรียนรู้ เทคโนโลยีการศึกษา เน้นเรื่อง วิธีการ ระบบ และเครื่องมือ
เพื่อนามาใช้ในการจัดการเรียนการสอน
เทคโนโลยีการสอน (Instructional
Technology) หมายถึง การนาเทคโนโลยีมาใช้เพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพในการเรียนการสอน เป็นการนาเทคโนโลยีมาใช้
เฉพาะในด้านการเรียนการสอน
ถ้าจะพิจารณากันเฉพาะในวงการศึกษาแล้วก็อาจจะ
กล่าวได้ว่าเทคโนโลยีการสอนนั้นเป็นองค์ประกอบย่อยส่วนหนึ่ง
ของเทคโนโลยีการศึกษานั้นเอง
4. การประยุกต์ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีทาง
การศึกษามาใช้แก้ปัญหาเกี่ยวกับการเรียนรู้ในยุค
ปฏิรูปการเรียนรู้อย่างเป็นรูปธรรมได้อย่างไร
ในการเรียนการสอน หรือการทาให้ผู้เรียนเกิด
การเรียนรู้นั้น เป็นกระบวนการที่ต้องใช้เทคนิคและวิธีการ
มากมาย ไม่มีเทคนิคหรือวิธีการใดที่เราจะยอมรับกันได้
ว่า ดีที่สุดสาหรับการเรียนการสอน เทคนิคและวิธีการแต่
ละอย่างก็มีความเหมาะสมตามสภาพการณ์และเนื้อหาวิชาที่
แตกต่างกันออกไป แต่ก็เป็นที่ยอมรับ กันโดยทั่วไปว่า การ
เรียนการสอนที่มีวัสดุอุปกรณ์ตลอดจน เครื่องมือ วิธีการช่วย
อย่างเหมาะสม จะช่วยให้ผู้เรียนได้รับความรู้และ
ประสบการณ์มากกว่าการเรียนการสอน โดยให้นักเรียนฟัง
แต่เพียงคาพูดเพียงอย่างเดียว
แนวโน้มของการศึกษาในปัจจุบัน เปิดโอกาสให้ผู้เรียน
ได้รับประสบการณ์อย่างกว้างขวาง แทนการฟังแต่เพียงคาบอกเล่า
ของครู ทั้งนี้เป็นผลเนื่องมาจากจานวนผู้เรียนเพิ่มมากขึ้น การ
ขยายตัวของสาขาวิทยาการต่างๆ ทาให้สิ่งที่ผู้เรียนจะต้องเรียนรู้มาก
ขึ้น จึงมีความจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องหาทางให้ผู้เรียนรู้สิ่งต่างๆ ให้
ได้มากที่สุด โดยใช้เวลาในการเรียนน้อยกว่าเดิม
การเรียนการสอนที่ปฏิบัติได้จริง ส่วนใหญ่ เราไม่สามารถ
จัดประสบการณ์ตรง ให้กับผู้เรียนได้ทุกเนื้อหาเนื่องจากอาจมี
ข้อจากัดบางประการณ์ เช่น
- ต้องลงทุนมาก
- ต้องใช้เวลานานมาก อาจเป็นหลายวัน หลายปีหรือ
ปลายร้อยปี
- มีความยุ่งยากซับซ้อนมาก
- ความรู้บางอย่างไม่อาจสัมผัสได้โดยตรง
ดังนั้น นอกเหนือจากการให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ตรง
แล้ว เรายังมีความจาเป็นต้องจัดประสบการณ์อย่างอื่นให้ผู้เรียนได้รับ
แทนประสบการณ์ตรงด้วย เช่น การใช้รูปภาพ หนังสือ แผนภูมิ วิทยุ
โทรทัศน์ วิธีการอื่นๆ อีกมากมาย เพื่อให้ผลผลิตทางการศึกษามี
คุณภาพสูงสุด
การจัดประสบการณ์ในการเรียนการสอนที่มีการใช้สื่อการ
เรียนการสอน ครูมักเน้นหนักที่การใช้วัสดุอุปกรณ์เป็นสาคัญ ซึ่งไม่
อาจรับรองหรือเชื่อถือได้ว่าจะบรรลุจุดประสงค์ทั้งนี้เพราะการใช้วัสดุ
อุปกรณ์กับครู ซึ่งมีชีวิต จิตใจ มีอารมณ์ มีสภาพแวดล้อมไม่
คงที่ จาเป็นจะต้องปรับกระบวนการในการใช้ให้สอดคล้องกับการ
เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ วิธีการกระบวนการต่างๆ ที่นามาใช้ จะต้อง
เป็นวิทยาศาสตร์ที่เชื่อถือได้ ซึ่งก็คือการใช้เทคโนโลยีทางการศึกษา
นั่นเอง
ยกตัวอย่าง เช่น
การเรียนการสอน เรื่อง การสอนเรื่องโทษของยาเสพติด
นอกจากจะมีการกล่าวสอนในทฤษฎี และหลักการจามตาราเรียนแล้ว
ควรจะมีการนาเสนอให้เด็กเห็นผลของการเสพยาเสพติดด้วยการให้
เด็กนักเรียนดูวีดีโอประกอบ ตลอดจนรวมไปถึงการเพิ่มเติมในส่วน
ของการศึกษานอกสถานที่เพิ่มเติม เช่น การไปทัศนศึกษา สังเกต ดู
และรู้ผลหลังจากการเสพยาเสพติดที่จะถูกดาเนินการตามกฎหมาย
เพื่อให้นักเรียนทราบและเป็นการเรียนรู้ที่เห็นภาพได้อย่างชัดเจน

More Related Content

What's hot

บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีPennapa Kumpang
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6Tar Bt
 
โครงร่างวิทยานิพนธ์ นายปรัชญา จันตา
โครงร่างวิทยานิพนธ์ นายปรัชญา จันตาโครงร่างวิทยานิพนธ์ นายปรัชญา จันตา
โครงร่างวิทยานิพนธ์ นายปรัชญา จันตาKUSMP
 
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ Panita Wannapiroon Kmutnb
 
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทนวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทNGamtip
 
Introduction to innovation 2013 10-27
Introduction to innovation 2013 10-27Introduction to innovation 2013 10-27
Introduction to innovation 2013 10-27khon Kaen University
 
เอกสารแปล (Week 1)
เอกสารแปล (Week 1)เอกสารแปล (Week 1)
เอกสารแปล (Week 1)Uraiwan Chankan
 
Past 1 Introduction to technologies and educational media
Past 1 Introduction to technologies and educational mediaPast 1 Introduction to technologies and educational media
Past 1 Introduction to technologies and educational mediaPimploy Sornchai
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaPimsupa Wunliam
 
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1ถูกต้อง ไม่จำเป็นต้องถูกใจ
 
เปิดประตูสู่ดวงจันทร์กับยานอะพอลโล11
เปิดประตูสู่ดวงจันทร์กับยานอะพอลโล11เปิดประตูสู่ดวงจันทร์กับยานอะพอลโล11
เปิดประตูสู่ดวงจันทร์กับยานอะพอลโล11Fafee FK
 
Unit 7
Unit 7Unit 7
Unit 7Tar Bt
 
อาชีวศึกษา 4.0
อาชีวศึกษา 4.0อาชีวศึกษา 4.0
อาชีวศึกษา 4.0Prachyanun Nilsook
 
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษาการจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษาbtusek53
 
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอนการพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอนDrsek Sai
 
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาChapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาPrakaidao Suebwong
 
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาAlice Misty
 

What's hot (20)

บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
STEM Education KMUTNB
STEM Education KMUTNBSTEM Education KMUTNB
STEM Education KMUTNB
 
โครงร่างวิทยานิพนธ์ นายปรัชญา จันตา
โครงร่างวิทยานิพนธ์ นายปรัชญา จันตาโครงร่างวิทยานิพนธ์ นายปรัชญา จันตา
โครงร่างวิทยานิพนธ์ นายปรัชญา จันตา
 
Digital e book
Digital e bookDigital e book
Digital e book
 
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
 
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทนวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
 
Introduction to innovation 2013 10-27
Introduction to innovation 2013 10-27Introduction to innovation 2013 10-27
Introduction to innovation 2013 10-27
 
เอกสารแปล (Week 1)
เอกสารแปล (Week 1)เอกสารแปล (Week 1)
เอกสารแปล (Week 1)
 
Past 1 Introduction to technologies and educational media
Past 1 Introduction to technologies and educational mediaPast 1 Introduction to technologies and educational media
Past 1 Introduction to technologies and educational media
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational media
 
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
 
เปิดประตูสู่ดวงจันทร์กับยานอะพอลโล11
เปิดประตูสู่ดวงจันทร์กับยานอะพอลโล11เปิดประตูสู่ดวงจันทร์กับยานอะพอลโล11
เปิดประตูสู่ดวงจันทร์กับยานอะพอลโล11
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Unit 7
Unit 7Unit 7
Unit 7
 
อาชีวศึกษา 4.0
อาชีวศึกษา 4.0อาชีวศึกษา 4.0
อาชีวศึกษา 4.0
 
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษาการจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
 
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอนการพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
 
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาChapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
 
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 

Viewers also liked

Tnmc mc andrew_sotmus13_rev2
Tnmc mc andrew_sotmus13_rev2Tnmc mc andrew_sotmus13_rev2
Tnmc mc andrew_sotmus13_rev2JimmyRocks
 
Hawux Corporate Capabilities
Hawux Corporate CapabilitiesHawux Corporate Capabilities
Hawux Corporate Capabilitieshawux
 
Articulo muy interesante sobre un planeta recientemente descubierto
Articulo muy interesante sobre un planeta recientemente descubiertoArticulo muy interesante sobre un planeta recientemente descubierto
Articulo muy interesante sobre un planeta recientemente descubiertogarcia9911
 
Revestimentos e transporte atraves da membrana
Revestimentos e transporte atraves da membranaRevestimentos e transporte atraves da membrana
Revestimentos e transporte atraves da membranaCésar Milani
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologiesJessada Wansuk
 

Viewers also liked (14)

Tnmc mc andrew_sotmus13_rev2
Tnmc mc andrew_sotmus13_rev2Tnmc mc andrew_sotmus13_rev2
Tnmc mc andrew_sotmus13_rev2
 
Hawux Corporate Capabilities
Hawux Corporate CapabilitiesHawux Corporate Capabilities
Hawux Corporate Capabilities
 
Argumento
ArgumentoArgumento
Argumento
 
Articulo muy interesante sobre un planeta recientemente descubierto
Articulo muy interesante sobre un planeta recientemente descubiertoArticulo muy interesante sobre un planeta recientemente descubierto
Articulo muy interesante sobre un planeta recientemente descubierto
 
241203 chapter05
241203 chapter05241203 chapter05
241203 chapter05
 
241203 chapter10
241203 chapter10241203 chapter10
241203 chapter10
 
Makeaplan
MakeaplanMakeaplan
Makeaplan
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
241203 chapter04
241203 chapter04241203 chapter04
241203 chapter04
 
231213
231213231213
231213
 
Revestimentos e transporte atraves da membrana
Revestimentos e transporte atraves da membranaRevestimentos e transporte atraves da membrana
Revestimentos e transporte atraves da membrana
 
241203 chapter08
241203 chapter08241203 chapter08
241203 chapter08
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologies
 
241203 chapter02
241203 chapter02241203 chapter02
241203 chapter02
 

Similar to 241203_chapter01

Introduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieIntroduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieAnn Pawinee
 
Introduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieIntroduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieThamonwan Kottapan
 
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษามโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษาVitamilk
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1issaraka
 
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21Wichit Thepprasit
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้Noom Theerayut
 
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1lalidawan
 
งานที่จะส่งจริงๆนะจ้ะ
งานที่จะส่งจริงๆนะจ้ะงานที่จะส่งจริงๆนะจ้ะ
งานที่จะส่งจริงๆนะจ้ะOopip' Orranicha
 
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Educationการประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for EducationSurapon Boonlue
 
Technologies and education media 1
Technologies and education media 1Technologies and education media 1
Technologies and education media 1Cholthicha JaNg
 

Similar to 241203_chapter01 (20)

Introduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieIntroduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medie
 
Introduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieIntroduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medie
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่6
บทที่6บทที่6
บทที่6
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษามโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
 
Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
 
เทคโนโลย นว ตกรรมและส__อการศ_กษา
เทคโนโลย นว ตกรรมและส__อการศ_กษาเทคโนโลย นว ตกรรมและส__อการศ_กษา
เทคโนโลย นว ตกรรมและส__อการศ_กษา
 
Introduction technologies sec 4
Introduction technologies sec 4Introduction technologies sec 4
Introduction technologies sec 4
 
Ictoutdoor2012
Ictoutdoor2012Ictoutdoor2012
Ictoutdoor2012
 
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
 
งานที่จะส่งจริงๆนะจ้ะ
งานที่จะส่งจริงๆนะจ้ะงานที่จะส่งจริงๆนะจ้ะ
งานที่จะส่งจริงๆนะจ้ะ
 
241203 ed-math
241203 ed-math241203 ed-math
241203 ed-math
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
 
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Educationการประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
 
Technologies and education media 1
Technologies and education media 1Technologies and education media 1
Technologies and education media 1
 

More from Kanoknut Seehanam

More from Kanoknut Seehanam (7)

ผลการสังเกตการณ์ในชั้นเรียน
ผลการสังเกตการณ์ในชั้นเรียนผลการสังเกตการณ์ในชั้นเรียน
ผลการสังเกตการณ์ในชั้นเรียน
 
241203 chapter09
241203 chapter09241203 chapter09
241203 chapter09
 
241203 chapter07
241203 chapter07241203 chapter07
241203 chapter07
 
241203 chapter06
241203 chapter06241203 chapter06
241203 chapter06
 
231213
231213231213
231213
 
Makeaplan_ppt
Makeaplan_pptMakeaplan_ppt
Makeaplan_ppt
 
Mind map241203 chapter01
Mind map241203 chapter01Mind map241203 chapter01
Mind map241203 chapter01
 

241203_chapter01

  • 1. 241203 INNOVATION AND INFORMATION TECHNOLOGY FOR LEARNING นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียน โดย นาย อลงกรณ์ เคี่ยนบุ้น 553050113-8 นาย อัษฎา พงษ์พัฒน์ 553050115-4 นางสาวกนกณัฐ สีหานาม 553050271-0 นักศึกษาชั้นปีที่2 ปีการศึกษา 1/2556 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาคณิตศาสตรศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น อาจารย์ที่ปรึกษา อ.ดร.อนุชา โสมาบุตร อ.ดร.จารุณี ซามาตย์
  • 2. Part 1 Introduction toTechnologies and Educational Media Charter 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
  • 3. 1.สรุปสาระสาคัญเกี่ยวกับ ความหมายของเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา พร้อมทั้งเปรียบเทียบพัฒนาการทาง เทคโนโลยีทางการศึกษาในช่วงยุคต่างๆ ความหมายของเทคโนโลยี“เทคโนโลยี” หมายถึง การนาแนวคิด หลักการ เทคนิค วิธีการ กระบวนการ ตลอดจน ผลิตผลทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ในระบบงานต่างๆ เพื่อ ปรับปรุงระบบงานนั้นๆ ให้ดีขึ้น เพื่อ - ประสิทธิภาพ (Efficiency) เทคโนโลยีจะช่วยให้การทา งานนั้นถูกต้องและรวดเร็ว - ประสิทธิผล (Effectiveness) ทาให้งานมีคุณภาพ - ประหยัด (Economy) จะช่วยประหยัดเวลา ทรัพยากร และก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด - ปลอดภัย (Safety) ระบบการทางานเกิดความปลอดภัย มากขึ้น
  • 4. สื่อการสอน, สื่อการศึกษา คือ สื่อที่ใช้ประกอบการ สอนหรือถ่ายทอดความรู้จากผู้สอน สู่ผู้เรียน อาจจะเป็นวัตถุสิ่งของที่มีตัวตนหรือไม่มีตัวตนก็ได้ เช่น วัตถุสิ่งของตามธรรมชาติ ปรากฎการณ์ตามธรรมชาติ วัตถุ สิ่งของที่คิดประดิษฐ์หรือสร้างขึ้นมาสาหรับการสอน คาพูด ท่าทางวัสดุและเครื่องมือสื่อสาร กิจกรรมหรือกระบวนการ ถ่ายทอดความรู้ต่างๆ เทคโนโลยีการศึกษาเพราะการเปลี่ยนแปลงอัน เนื่องมาจาก การเปลี่ยนกระบวนทัศน์จากพื้นฐานทางทฤษฎี การเรียนรู้พฤติกรรมนิยม (Behaviorism) มาสู่ พุทธิ ปัญญานิยม (Cognitivism) และคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism) กอปรทั้งความ เปลี่ยนแปลงทาง เทคโนโลยีใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร จึงได้มี การปรับเปลี่ยนความหมายของเทคโนโลยี การศึกษาให้เหมาะสมกับสภาพความเปลี่ยนแปลง
  • 5. โจฮันน์ อะมอส คอมินิอุส (Johannes Amos Comenius ค.ศ.1592-1670) เป็นผู้ที่พยายามใช้วัตถุ สิ่งของ ช่วยในการสอนอย่างจริงจัง จนได้รับเกียรติว่าเป็นบิดาแห่งโสตทัศน ศึกษา คอมินิอุสได้แต่งหนังสือสาคัญ ๆ ไว้มากมาย ที่สาคัญยิ่งคือ หนังสือ Obis Sensualium Pictus หรือ "โลกในรูปภาพ" ซึ่งพิมพ์ครั้ง แรกในปี ค.ศ.1685 เป็นหนังสือที่ใช้รูปภาพประกอบบทเรียน ถึง 150 ภาพ ซึ่งนับว่าเป็นการใช้ทัศนวัสดุประกอบการเรียนเป็นครั้งแรก สาหรับพัฒนาการทางเทคโนโลยีการศึกษาในประเทศไทยนั้น ได้มีการให้ความสาคัญต่อเทคโนโลยีการศึกษา ทั้งในด้านการจัดตั้ง หน่วยงานด้านเทคโนโลยีการศึกษา ในหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐบาล และเอกชน ตลอดจนมีการเปิดการเรียนการสอนด้านเทคโนโลยีการศึกษา ระดับปริญญาตรี-โท-เอก ในสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา ทั้งนี้ เพื่อให้สอดคล้องกับ พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติฉบับ พ.ศ.2542 ที่เน้น ความสาคัญของเทคโนโลยีการศึกษาเพื่อให้สอดคล้องกับความ เปลี่ยนแปลงและความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยีนั่นเอง
  • 6. 2. จาแนกองค์ประกอบขอบข่ายของเทคโนโลยีทาง การศึกษาว่ามีความสาคัญต่อการจัดการศึกษาในยุค ปัจจุบันอย่างไร ขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา มาตรฐานหรือ ขอบข่ายเกี่ยวกับเทคโนโลยีการศึกษาที่นักการศึกษา หรือผู้ที่ทา งานด้าน การศึกษาถือว่าเป็นสิ่งสาคัญที่จะต้องรู้จักและทาความ เข้าใจ เพราะจะช่วยให้เราสามารถกาหนด สร้างสรรค์และระบุ ขอบข่ายงานด้านเทคโนโลยีการศึกษา มีทั้งหมด5องค์ปรกอบ ได้แก่ การออกแบบ (Design) การพัฒนา (Development) การใช้ (Utilization) การจัดการ (Management) และ การประเมิน (Evaluation) ซึ่งมีความสาคัญดังนี้
  • 7. การออกแบบ - การออกแบบระบบการสอน - การออกแบบสาร - กลยุทธ์การสอน - คุณลักษณะของผู้เรียน ซึ่งจะถือเป็นเอกลักษณ์ของครูผู้สอนทาให้เด็กเข้าใจการเรียนได้ง่ายขึ้น การพัฒนา - เทคโนโลยีสิ่งพิมพ์ - เทคโนโลยีด้านโสตทัศน์ - เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ - เทคโนโลยีบูรณาการ พัฒนาให้เหมาะสมกับยุคสมัย เพราะเด็กสมัยนี้ก็จะเก่งในเรื่องของ เทคโนโลยีมากขึ้น
  • 8. การใช้ - การใช้สื่อ - การเผยแพร่นวัตกรรม - การนาไปใช้สาหรับตนเองและในสถานศึกษา - นโยบายและกฎระเบียบ เลือกใช้สื่อให้ถูกต้อง ตามความเหมาะสมของบริบทแวดล้อม การจัดการ - การจัดการโครงการ - การจัดการทรัพยากร - การจัดการระบบขนส่ง - การจัดการสารสนเทศ ควบคุมทุกอย่าง เป็นระบบ เพื่อความเรียบร้อย
  • 9. การประเมินผล - การวิเคราะห์ปัญหา - การวัดตามเกณฑ์ - การประเมินระหว่างกระบวนการ - การประเมินแบบองค์รวม ประเมินผลเพื่อแก้ไขปัญหาและพัฒนาต่อไปอย่างไม่มีที่สิ้นสุด
  • 10. 3. EducationalTechnology และ InstructionalTechnology มีความเหมือน ความแตกต่างหรือสัมพันธ์กันอย่างไร เทคโนโลยีการศึกษา เป็นศาสตร์ที่ประยุกต์เอาวิชาการต่างๆ มาจัด กิจกรรมการเรียนการสอนให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ได้อย่างมี ประสิทธิผล ซึ่งเกิดจากการออกแบบการสอนตามหลักการออกแบบการเรียน การสอน(Instructional Design) โดยคานึงถึงคุณลักษณะของ ผู้เรียน ความเหมาะสมของสื่อที่สอดคล้องกับลักษณะเนื้อหาและความสนใจ ของผู้เรียน เทคโนโลยีการศึกษา เป็นคาที่มาจากคาสองคา คือ เทคโนโลยี ที่มี ความหมายว่า เป็นศาสตร์แห่งวิธีการ ซึ่งมิได้มีความหมายว่าเป็นศาสตร์แห่ง เครื่องมือเพียงอย่างเดียว แต่รวมถึง วัสดุและวิธีการด้วย เมื่อมาเชื่อมกับคาว่า การศึกษา เกิดเป็นคาใหม่ที่มีความหมายว่า การประยุกต์เครื่องมือ วัสดุและ วิธีการไปส่งเสริมประสิทธิภาพการเรียนรู้ ตลอดจนการจัดสภาพแวดล้อมใหม่ เพื่อการเรียนรู้ เทคโนโลยีการศึกษา เน้นเรื่อง วิธีการ ระบบ และเครื่องมือ เพื่อนามาใช้ในการจัดการเรียนการสอน
  • 11. เทคโนโลยีการสอน (Instructional Technology) หมายถึง การนาเทคโนโลยีมาใช้เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในการเรียนการสอน เป็นการนาเทคโนโลยีมาใช้ เฉพาะในด้านการเรียนการสอน ถ้าจะพิจารณากันเฉพาะในวงการศึกษาแล้วก็อาจจะ กล่าวได้ว่าเทคโนโลยีการสอนนั้นเป็นองค์ประกอบย่อยส่วนหนึ่ง ของเทคโนโลยีการศึกษานั้นเอง
  • 12. 4. การประยุกต์ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีทาง การศึกษามาใช้แก้ปัญหาเกี่ยวกับการเรียนรู้ในยุค ปฏิรูปการเรียนรู้อย่างเป็นรูปธรรมได้อย่างไร ในการเรียนการสอน หรือการทาให้ผู้เรียนเกิด การเรียนรู้นั้น เป็นกระบวนการที่ต้องใช้เทคนิคและวิธีการ มากมาย ไม่มีเทคนิคหรือวิธีการใดที่เราจะยอมรับกันได้ ว่า ดีที่สุดสาหรับการเรียนการสอน เทคนิคและวิธีการแต่ ละอย่างก็มีความเหมาะสมตามสภาพการณ์และเนื้อหาวิชาที่ แตกต่างกันออกไป แต่ก็เป็นที่ยอมรับ กันโดยทั่วไปว่า การ เรียนการสอนที่มีวัสดุอุปกรณ์ตลอดจน เครื่องมือ วิธีการช่วย อย่างเหมาะสม จะช่วยให้ผู้เรียนได้รับความรู้และ ประสบการณ์มากกว่าการเรียนการสอน โดยให้นักเรียนฟัง แต่เพียงคาพูดเพียงอย่างเดียว
  • 13. แนวโน้มของการศึกษาในปัจจุบัน เปิดโอกาสให้ผู้เรียน ได้รับประสบการณ์อย่างกว้างขวาง แทนการฟังแต่เพียงคาบอกเล่า ของครู ทั้งนี้เป็นผลเนื่องมาจากจานวนผู้เรียนเพิ่มมากขึ้น การ ขยายตัวของสาขาวิทยาการต่างๆ ทาให้สิ่งที่ผู้เรียนจะต้องเรียนรู้มาก ขึ้น จึงมีความจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องหาทางให้ผู้เรียนรู้สิ่งต่างๆ ให้ ได้มากที่สุด โดยใช้เวลาในการเรียนน้อยกว่าเดิม การเรียนการสอนที่ปฏิบัติได้จริง ส่วนใหญ่ เราไม่สามารถ จัดประสบการณ์ตรง ให้กับผู้เรียนได้ทุกเนื้อหาเนื่องจากอาจมี ข้อจากัดบางประการณ์ เช่น - ต้องลงทุนมาก - ต้องใช้เวลานานมาก อาจเป็นหลายวัน หลายปีหรือ ปลายร้อยปี - มีความยุ่งยากซับซ้อนมาก - ความรู้บางอย่างไม่อาจสัมผัสได้โดยตรง
  • 14. ดังนั้น นอกเหนือจากการให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ตรง แล้ว เรายังมีความจาเป็นต้องจัดประสบการณ์อย่างอื่นให้ผู้เรียนได้รับ แทนประสบการณ์ตรงด้วย เช่น การใช้รูปภาพ หนังสือ แผนภูมิ วิทยุ โทรทัศน์ วิธีการอื่นๆ อีกมากมาย เพื่อให้ผลผลิตทางการศึกษามี คุณภาพสูงสุด การจัดประสบการณ์ในการเรียนการสอนที่มีการใช้สื่อการ เรียนการสอน ครูมักเน้นหนักที่การใช้วัสดุอุปกรณ์เป็นสาคัญ ซึ่งไม่ อาจรับรองหรือเชื่อถือได้ว่าจะบรรลุจุดประสงค์ทั้งนี้เพราะการใช้วัสดุ อุปกรณ์กับครู ซึ่งมีชีวิต จิตใจ มีอารมณ์ มีสภาพแวดล้อมไม่ คงที่ จาเป็นจะต้องปรับกระบวนการในการใช้ให้สอดคล้องกับการ เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ วิธีการกระบวนการต่างๆ ที่นามาใช้ จะต้อง เป็นวิทยาศาสตร์ที่เชื่อถือได้ ซึ่งก็คือการใช้เทคโนโลยีทางการศึกษา นั่นเอง
  • 15. ยกตัวอย่าง เช่น การเรียนการสอน เรื่อง การสอนเรื่องโทษของยาเสพติด นอกจากจะมีการกล่าวสอนในทฤษฎี และหลักการจามตาราเรียนแล้ว ควรจะมีการนาเสนอให้เด็กเห็นผลของการเสพยาเสพติดด้วยการให้ เด็กนักเรียนดูวีดีโอประกอบ ตลอดจนรวมไปถึงการเพิ่มเติมในส่วน ของการศึกษานอกสถานที่เพิ่มเติม เช่น การไปทัศนศึกษา สังเกต ดู และรู้ผลหลังจากการเสพยาเสพติดที่จะถูกดาเนินการตามกฎหมาย เพื่อให้นักเรียนทราบและเป็นการเรียนรู้ที่เห็นภาพได้อย่างชัดเจน