SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
ทฤษฎีกรด - เบส www.chemcool.com http://www.geocities.com/bioelectrochemistry/lowry.htm http://acswebcontent.acs.org/landmarks/cradel_t2.html 1
จุดประสงค์การเรียนรู้ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],2
สมบัติทั่วไปของกรดและเบส 3 กรด เบส ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ทฤษฎีกรด - เบส มีผู้ให้นิยามของกรด - เบสไว้หลากหลาย การใช้นิยามใดมาอธิบายกรด - เบสของสาร ให้คำนึงถึงสภาวะการณ์ที่เหมาะสมกับสารนั้นๆ 4
1. กรด  :  คือสารที่เมื่อละลายน้ำจะแตกตัว    ให้   H +   ไอออน  หรือ โปรตอน สวันเต เอากุสต์  อาร์เรเนียส (Svante  August  Arrhenius)   ค . ศ .1859-1927, สวีเดน เบส   :   คือสารที่เมื่อละลายน้ำจะแตกตัวให้  OH -   ไอออน กรดและเบสตามนิยามของอาร์เรเนียส   ทำปฏิกิริยากันให้เกลือกับน้ำ :  HCl (aq) + NaOH (aq)     NaCl (aq) + H 2 O(l)  H +  (aq) + OH -  (aq)     H 2 O(l)   ทฤษฎีกรด - เบสอาร์เรเนียส 5 HCl(aq)     H + (aq)  +  Cl - (aq) H 2 O NaOH(s)     Na + (aq)  +  OH - (aq) H 2 O
นิยามของอาร์เรเนียสมีข้อจำกัด คือ 1.   สารที่เป็นกรด  -   เบสตามทฤษฎีนี้จะต้องละลายในน้ำ แต่ปฏิกิริยาเคมีไม่จำเป็นต้องเกิดในน้ำเสมอไป อาจเกิดขึ้นในตัวทำละลายอื่นๆ หรือไม่มีตัวทำละลายเลยก็ได้  3 .  สารบางชนิดอาจไม่มีหมู่  OH -   ในสูตร เช่น  NH 3  ,   CH 3 COONa  แต่เมื่อละลายน้ำจะมีสมบัติเป็นเบส 2.   สารบางชนิดเมื่อละลายน้ำไม่แตกตัวให้  H +   แต่มีสมบัติเป็นกรด  เช่น   NH 4 Cl   6 H 2 O NH 4 Cl(s)      NH 4 + (aq)  +  Cl - (aq)   CH 3 COONa(s)     CH 3 COO - (aq)  +  Na + (aq ) H 2 O
2.  กรด   :  สารที่ให้โปรตอน   (H + ) เบส  :  สารที่รับโปรตอน โยฮันเนส นิโคเลาส์ เบรินสเตด ( Johannes Nicolaus Brønsted)  เดนมาร์ก   , 1879-1947  NH 3 (aq)  +  H 2 O(l)  ⇌   NH 4 + (aq)  +  OH - (aq) กรด เบส ทอมัส มาร์ติน ลาวรี (Thomas Martin Lowry)  อังกฤษ  1874-1936 7 กรด เบส :
.. เบส กรด การให้และรับโปรตอน กรด  –  เบส ตามนิยามของเบรินสเตด - ลาวรี H 2 O  +  S 2-   ⇌   HS -   +  OH - 8 เบส กรด .. .. .. .. .. .. + - .. .. .. : : : : +  S  2-   ⇌   H  S  -   + : : : : O - H - : : : : : : : H H O
ทฤษฎีกรด  –  เบส  ของเบรินสเตด - ลาวรี  สามารถอธิบายความเป็นกรด   -   เบส ของ  NH 4 Cl   และ   CH 3 COONa   ได้ NH 4 + (aq)   +  H 2 O(l)   ⇌   NH 3 (aq)   +  H 3 O + (aq) CH 3 COO - (aq)  +  H 2 O(l)     CH 3 COOH(aq)  +  OH - (aq) 9 NH 4 Cl(s)      NH 4 + (aq)  +  Cl - (aq)   H 2 O CH 3 COONa(s)     CH 3 COO - (aq)  +  Na + (aq ) H 2 O
ทฤษฎีกรด  –  เบส  ของเบรินสเตด - ลาวรี  สามารถอธิบายความเป็นกรด   -   เบสของ ปฏิกิริยาที่ ไม่ได้มีน้ำเป็นตัวทำละลาย ได้ NH 3 (g)  +  HCl(g)     NH 4 Cl(s) NH 3 ( benzene )  +  CH 3 COOH ( benzene )     CH 3 COONH 4  (s) ข้อจำกัดนิยามกรด   -   เบส  ของเบรินสเตด - ลาวรี ไม่สามารถอธิบายความเป็นกรด  ของกรดที่ไม่มี  H +   ในโมเลกุลได้ BH 3   +  NH 3      BH 3 NH 3   กรด เบส 10
3.  เบส  :   คือสารที่ ให้ คู่อิเล็กตรอน กรด   :   คือสารที่ รับ คู่อิเล็กตรอน กิลเบิร์ต นิวตัน ลิวอิส  Gilbert Newton Lewis  อเมริกัน  , 1875-1946 BH 3   +  NH 3      BH 3 NH 3   กรด เบส ทฤษฎีกรด - เบสลิวอิส 11 N H H H : : : : B H H H : : : B H H H : : : N H H H : : : :
จากปฏิกิริยาต่อไปนี้สารใดทำหน้าที่เป็นกรด สารใดเป็นเบส H +   +  OH -      H 2 O S   +  S 2-      S 2 2- 12 H +  +  O - H -      O : : : : : : : H H : : : : S 2- S : : : S : : : : : : : S 2- +
กรด   -   เบส ของลิวอิสเป็นได้ทั้งโมเลกุลและไอออน ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],13
คู่กรด – เบส   (Conjugate Acid – Base pairs) 14
NH 4 + (aq)  +  H 2 O(l)  ⇌   H 3 O + (aq)  +  NH 3 (aq) กรด 1 ปฏิกิริยากรด - เบส ตามนิยามของ  เบรินสเตด - ลาวรี   เกี่ยวข้องกับการให้และรับโปรตอน เรียกว่า  ปฏิกิริยาโปรโตลิติก   ( Protolytic reaction) NH 4 + (aq)  เป็นคู่กรดของ   NH 3 (aq) H 2 O(l)  เป็นคู่เบสของ   H 3 O + (aq) NH 3 (aq)  เป็นคู่เบสของ   NH 4 + (aq)  H 3 O + (aq)   เป็นคู่กรดของ   H 2 O(l)  15 กรด 2 เบส 1 เบส 2 คู่กรด - เบส คู่กรด - เบส
จากปฏิกิริยาต่อไปนี้จงแสดงคู่กรด   -   คู่เบส HSO 4 -   +  H 2 O  ⇌  H 3 O +   +  SO 4 2- HSO 4 - (aq)  เป็นคู่กรดของ   SO 4 2-  (aq) H 2 O(l)  เป็นคู่เบสของ   H 3 O + (aq) SO 4 2-  (aq)  เป็นคู่เบสของ   HSO 4 - (aq)  H 3 O + (aq)   เป็นคู่กรดของ   H 2 O(l)  16 กรด 1 กรด 2 เบส 1 เบส 2 คู่กรด - เบส คู่กรด - เบส
จงบอกคู่กรด   -   เบสของสารต่อไปนี้ H 2 PO 4 - H 3 PO 4 HPO 4 2- HSO 3 - H 2 SO 3 SO 3 2- OH  - H 2 O O 2- สารที่เป็นคู่กรด  –  เบสซึ่งกันและกันจะมีจำนวนโปรตอน  ( H +  )  ต่างกันอยู่  1  โปรตอน 17 คู่กรด สาร คู่เบส
NH 4 + (aq)  +  H 2 O(l)  ⇌   H 3 O + (aq)  +  NH 3 (aq) CH 3 COO - (aq)  +  H 2 O(l)     CH 3 COOH(aq)  +  OH - (aq) สารที่สามารถแสดงสมบัติได้ทั้งกรดและเบส เรียกว่า  แอมฟิโปรติก ( Amphiprotic)  หรือ   แอมโฟเทอริก ( Amphoteric) เ บส ก รด Lab 8.2 น้ำในสมการที่  1  ทำหน้าที่เป็นเบส  แต่ น้ำในสมการที่  2  ทำหน้าที่เป็นกรด 18
NaHCO 3 (s)   +  H 2 O(l)    HCO - 3 (aq)   +  Na + (aq ) การละลายน้ำของ   NaHCO 3 HCO 3 - (aq)   +  H 2 O (aq)  ⇌  H 2 CO 3 (aq)  +  OH -  (aq ) สารละลาย   NaHCO 3   มีสมบัติเป็นเบส ตามทฤษฎีกรด - เบส เบรินสเตด - ลาวรี  อธิบายได้ดังสมการ การทดลองที่แสดงให้เห็นว่าสารบางชนิดเป็นแอมโฟเทอริก H + 19
HCO 3 - (aq)   +  H 3 O + (aq)  ⇌   H 2 CO 3 (aq)   +  H 2 O(l ) HCO 3 - (aq)   +  OH - (aq)   ⇌   CO 3 2- (aq)  +  H 2 O(l ) H 2 CO 3 (aq)     CO 2 (g)  +  H 2 O(l ) HCO 3 - (aq)   +  H 3 O + (aq)  ⇌   CO 2 (g)   +  2H 2 O(l ) CO 3 2- (aq)  +  Ca 2+ (aq)      CaCO 3 (s ) สารละลาย   NaHCO 3 มีสมบัติเป็นเบสเมื่อทำปฏิกิริยากับกรด  HCl สารละลาย   NaHCO 3 มีสมบัติเป็นกรดเมื่อทำปฏิกิริยากับเบส  Ca(OH) 2 20 เบส กรด
เรียกปฏิกิริยานี้ว่า การแตกตัวเป็นไอออนด้วยตัวเองของน้ำ   (Self – Ionization of Water)  หรือ  Autoionization H 2 O H 2 O + ค่าคงที่การแตกตัวของน้ำ  K w  = 1.0 x 10 -14 น้ำเป็นตัวทำละลายที่เป็นได้ทั้งกรดและเบส สามารถเกิดปฏิกิริยาโปรโตลิติกกันเองได้ ดังสมการ แสดงว่าน้ำแตกตัวได้น้อยมาก 21 สมบัติความเป็นกรด - เบสของน้ำ H 3 O + + OH -

More Related Content

What's hot

บทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสบทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสoraneehussem
 
เบส
เบสเบส
เบสkruruty
 
กรดเบส011
กรดเบส011กรดเบส011
กรดเบส011jirat266
 
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibriumกรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion EquilibriumDr.Woravith Chansuvarn
 
Acid base1
Acid base1Acid base1
Acid base1Benny BC
 
สรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีสรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีTutor Ferry
 
สื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
สื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณสื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
สื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณพัน พัน
 
Lab 2 acid base titration and applications
Lab 2 acid base titration and applicationsLab 2 acid base titration and applications
Lab 2 acid base titration and applicationsBELL N JOYE
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1Tanchanok Pps
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2Tanchanok Pps
 

What's hot (20)

บทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสบทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบส
 
กรด เบส 4
กรด เบส 4กรด เบส 4
กรด เบส 4
 
Acid and base
Acid and baseAcid and base
Acid and base
 
Solubility
SolubilitySolubility
Solubility
 
เบส
เบสเบส
เบส
 
กรด เบส 6
กรด เบส 6กรด เบส 6
กรด เบส 6
 
Acid base
Acid baseAcid base
Acid base
 
ACIC BASE
ACIC BASEACIC BASE
ACIC BASE
 
กรดเบส011
กรดเบส011กรดเบส011
กรดเบส011
 
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibriumกรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
 
กรด เบส 5
กรด เบส 5กรด เบส 5
กรด เบส 5
 
Acid base1
Acid base1Acid base1
Acid base1
 
สรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีสรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมี
 
กรด เบส 7
กรด เบส 7กรด เบส 7
กรด เบส 7
 
สื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
สื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณสื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
สื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
 
Buffer h in
Buffer h inBuffer h in
Buffer h in
 
Lab 2 acid base titration and applications
Lab 2 acid base titration and applicationsLab 2 acid base titration and applications
Lab 2 acid base titration and applications
 
กรด เบส 1
กรด เบส 1กรด เบส 1
กรด เบส 1
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
 

Viewers also liked

อุปกรณ์การเตรียมสารละลาย
อุปกรณ์การเตรียมสารละลายอุปกรณ์การเตรียมสารละลาย
อุปกรณ์การเตรียมสารละลายJariya Jaiyot
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติPhakawat Owat
 
Lab 3 complexometric titration and application
Lab 3 complexometric titration and applicationLab 3 complexometric titration and application
Lab 3 complexometric titration and applicationBELL N JOYE
 
4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลายSaipanya school
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสWuttipong Tubkrathok
 

Viewers also liked (6)

อุปกรณ์การเตรียมสารละลาย
อุปกรณ์การเตรียมสารละลายอุปกรณ์การเตรียมสารละลาย
อุปกรณ์การเตรียมสารละลาย
 
Acid Base for M1.pdf
Acid Base for M1.pdfAcid Base for M1.pdf
Acid Base for M1.pdf
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
 
Lab 3 complexometric titration and application
Lab 3 complexometric titration and applicationLab 3 complexometric titration and application
Lab 3 complexometric titration and application
 
4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบส
 

Similar to กรด เบส 2

กรด
กรดกรด
กรดporpia
 
ข้อสอบ เคมี
ข้อสอบ เคมีข้อสอบ เคมี
ข้อสอบ เคมีzweetiiz
 
เคมี
เคมี เคมี
เคมี Mu PPu
 
สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนสารประกอบไฮโดรคาร์บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนKrusek Seksan
 
-เบส-612.pptx
-เบส-612.pptx-เบส-612.pptx
-เบส-612.pptxJoySarocha
 
แอลคีนนำเสนอ
แอลคีนนำเสนอแอลคีนนำเสนอ
แอลคีนนำเสนอMaruko Supertinger
 
Quemarch48 130814115357-phpapp02
Quemarch48 130814115357-phpapp02Quemarch48 130814115357-phpapp02
Quemarch48 130814115357-phpapp02SasipraphaTamoon
 
acid-base_1.ppt
acid-base_1.pptacid-base_1.ppt
acid-base_1.pptChewJa
 
เคมีอินทรีย์เบื้องต้น
เคมีอินทรีย์เบื้องต้นเคมีอินทรีย์เบื้องต้น
เคมีอินทรีย์เบื้องต้นDr.Woravith Chansuvarn
 
กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ (Carboxylic acid & Derivatives)
กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ (Carboxylic acid & Derivatives)กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ (Carboxylic acid & Derivatives)
กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ (Carboxylic acid & Derivatives)Dr.Woravith Chansuvarn
 

Similar to กรด เบส 2 (20)

Acid1
Acid1Acid1
Acid1
 
Acid base
Acid baseAcid base
Acid base
 
กรด
กรดกรด
กรด
 
กรด เบส 1
กรด เบส 1กรด เบส 1
กรด เบส 1
 
กรด เบส 8
กรด เบส 8กรด เบส 8
กรด เบส 8
 
ข้อสอบ เคมี
ข้อสอบ เคมีข้อสอบ เคมี
ข้อสอบ เคมี
 
เคมี
เคมี เคมี
เคมี
 
Acid base
Acid baseAcid base
Acid base
 
สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนสารประกอบไฮโดรคาร์บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
 
-เบส-612.pptx
-เบส-612.pptx-เบส-612.pptx
-เบส-612.pptx
 
Acid base 1
Acid base 1Acid base 1
Acid base 1
 
Acid base 1
Acid base 1Acid base 1
Acid base 1
 
Atom
AtomAtom
Atom
 
Que oct 47
Que oct 47Que oct 47
Que oct 47
 
แอลคีนนำเสนอ
แอลคีนนำเสนอแอลคีนนำเสนอ
แอลคีนนำเสนอ
 
Brands chemistry
Brands chemistryBrands chemistry
Brands chemistry
 
Quemarch48 130814115357-phpapp02
Quemarch48 130814115357-phpapp02Quemarch48 130814115357-phpapp02
Quemarch48 130814115357-phpapp02
 
acid-base_1.ppt
acid-base_1.pptacid-base_1.ppt
acid-base_1.ppt
 
เคมีอินทรีย์เบื้องต้น
เคมีอินทรีย์เบื้องต้นเคมีอินทรีย์เบื้องต้น
เคมีอินทรีย์เบื้องต้น
 
กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ (Carboxylic acid & Derivatives)
กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ (Carboxylic acid & Derivatives)กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ (Carboxylic acid & Derivatives)
กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ (Carboxylic acid & Derivatives)
 

More from Saipanya school

Atomic model ruth & bohr
Atomic model ruth & bohrAtomic model ruth & bohr
Atomic model ruth & bohrSaipanya school
 
Titration curve & buffer solution
Titration curve & buffer solutionTitration curve & buffer solution
Titration curve & buffer solutionSaipanya school
 
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาการคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาSaipanya school
 
พันธะโลหะ
พันธะโลหะพันธะโลหะ
พันธะโลหะSaipanya school
 
พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 Saipanya school
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent BondSaipanya school
 
สุ่มนักเรียนนำเสนอชุด A
สุ่มนักเรียนนำเสนอชุด Aสุ่มนักเรียนนำเสนอชุด A
สุ่มนักเรียนนำเสนอชุด ASaipanya school
 

More from Saipanya school (20)

Atomic model ruth & bohr
Atomic model ruth & bohrAtomic model ruth & bohr
Atomic model ruth & bohr
 
Chem equation
Chem equation  Chem equation
Chem equation
 
Echem 1 redox
Echem 1 redoxEchem 1 redox
Echem 1 redox
 
Titration curve & buffer solution
Titration curve & buffer solutionTitration curve & buffer solution
Titration curve & buffer solution
 
Echem 2 redox balance
Echem 2 redox balanceEchem 2 redox balance
Echem 2 redox balance
 
Concentration ..2018
Concentration ..2018Concentration ..2018
Concentration ..2018
 
Concentration 2018
Concentration 2018Concentration 2018
Concentration 2018
 
4 chem formular
4 chem formular4 chem formular
4 chem formular
 
Empirical exc. sp
Empirical exc. spEmpirical exc. sp
Empirical exc. sp
 
3 the mole 2018
3 the  mole 20183 the  mole 2018
3 the mole 2018
 
Stoichem 002
Stoichem 002 Stoichem 002
Stoichem 002
 
Stoichem 001
Stoichem 001Stoichem 001
Stoichem 001
 
Mole review
Mole review Mole review
Mole review
 
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาการคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
 
พันธะโลหะ
พันธะโลหะพันธะโลหะ
พันธะโลหะ
 
พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
 
สุ่มนักเรียนนำเสนอชุด A
สุ่มนักเรียนนำเสนอชุด Aสุ่มนักเรียนนำเสนอชุด A
สุ่มนักเรียนนำเสนอชุด A
 
เฉลย โมล
เฉลย โมลเฉลย โมล
เฉลย โมล
 
ว 30222 ม.5
ว 30222 ม.5ว 30222 ม.5
ว 30222 ม.5
 

กรด เบส 2

  • 1. ทฤษฎีกรด - เบส www.chemcool.com http://www.geocities.com/bioelectrochemistry/lowry.htm http://acswebcontent.acs.org/landmarks/cradel_t2.html 1
  • 2.
  • 3.
  • 4. ทฤษฎีกรด - เบส มีผู้ให้นิยามของกรด - เบสไว้หลากหลาย การใช้นิยามใดมาอธิบายกรด - เบสของสาร ให้คำนึงถึงสภาวะการณ์ที่เหมาะสมกับสารนั้นๆ 4
  • 5. 1. กรด : คือสารที่เมื่อละลายน้ำจะแตกตัว ให้ H + ไอออน หรือ โปรตอน สวันเต เอากุสต์ อาร์เรเนียส (Svante August Arrhenius) ค . ศ .1859-1927, สวีเดน เบส :  คือสารที่เมื่อละลายน้ำจะแตกตัวให้ OH - ไอออน กรดและเบสตามนิยามของอาร์เรเนียส ทำปฏิกิริยากันให้เกลือกับน้ำ : HCl (aq) + NaOH (aq)  NaCl (aq) + H 2 O(l) H + (aq) + OH - (aq)  H 2 O(l) ทฤษฎีกรด - เบสอาร์เรเนียส 5 HCl(aq)  H + (aq) + Cl - (aq) H 2 O NaOH(s)  Na + (aq) + OH - (aq) H 2 O
  • 6. นิยามของอาร์เรเนียสมีข้อจำกัด คือ 1. สารที่เป็นกรด - เบสตามทฤษฎีนี้จะต้องละลายในน้ำ แต่ปฏิกิริยาเคมีไม่จำเป็นต้องเกิดในน้ำเสมอไป อาจเกิดขึ้นในตัวทำละลายอื่นๆ หรือไม่มีตัวทำละลายเลยก็ได้ 3 . สารบางชนิดอาจไม่มีหมู่ OH - ในสูตร เช่น NH 3 , CH 3 COONa แต่เมื่อละลายน้ำจะมีสมบัติเป็นเบส 2. สารบางชนิดเมื่อละลายน้ำไม่แตกตัวให้ H + แต่มีสมบัติเป็นกรด เช่น NH 4 Cl 6 H 2 O NH 4 Cl(s)  NH 4 + (aq) + Cl - (aq) CH 3 COONa(s)  CH 3 COO - (aq) + Na + (aq ) H 2 O
  • 7. 2. กรด : สารที่ให้โปรตอน (H + ) เบส : สารที่รับโปรตอน โยฮันเนส นิโคเลาส์ เบรินสเตด ( Johannes Nicolaus Brønsted) เดนมาร์ก , 1879-1947 NH 3 (aq) + H 2 O(l) ⇌ NH 4 + (aq) + OH - (aq) กรด เบส ทอมัส มาร์ติน ลาวรี (Thomas Martin Lowry) อังกฤษ 1874-1936 7 กรด เบส :
  • 8. .. เบส กรด การให้และรับโปรตอน กรด – เบส ตามนิยามของเบรินสเตด - ลาวรี H 2 O + S 2- ⇌ HS - + OH - 8 เบส กรด .. .. .. .. .. .. + - .. .. .. : : : : + S 2- ⇌ H S - + : : : : O - H - : : : : : : : H H O
  • 9. ทฤษฎีกรด – เบส ของเบรินสเตด - ลาวรี สามารถอธิบายความเป็นกรด - เบส ของ NH 4 Cl และ CH 3 COONa ได้ NH 4 + (aq) + H 2 O(l) ⇌ NH 3 (aq) + H 3 O + (aq) CH 3 COO - (aq) + H 2 O(l)  CH 3 COOH(aq) + OH - (aq) 9 NH 4 Cl(s)  NH 4 + (aq) + Cl - (aq) H 2 O CH 3 COONa(s)  CH 3 COO - (aq) + Na + (aq ) H 2 O
  • 10. ทฤษฎีกรด – เบส ของเบรินสเตด - ลาวรี สามารถอธิบายความเป็นกรด - เบสของ ปฏิกิริยาที่ ไม่ได้มีน้ำเป็นตัวทำละลาย ได้ NH 3 (g) + HCl(g)  NH 4 Cl(s) NH 3 ( benzene ) + CH 3 COOH ( benzene )  CH 3 COONH 4 (s) ข้อจำกัดนิยามกรด - เบส ของเบรินสเตด - ลาวรี ไม่สามารถอธิบายความเป็นกรด ของกรดที่ไม่มี H + ในโมเลกุลได้ BH 3 + NH 3  BH 3 NH 3 กรด เบส 10
  • 11. 3. เบส : คือสารที่ ให้ คู่อิเล็กตรอน กรด : คือสารที่ รับ คู่อิเล็กตรอน กิลเบิร์ต นิวตัน ลิวอิส Gilbert Newton Lewis อเมริกัน , 1875-1946 BH 3 + NH 3  BH 3 NH 3 กรด เบส ทฤษฎีกรด - เบสลิวอิส 11 N H H H : : : : B H H H : : : B H H H : : : N H H H : : : :
  • 12. จากปฏิกิริยาต่อไปนี้สารใดทำหน้าที่เป็นกรด สารใดเป็นเบส H + + OH -  H 2 O S + S 2-  S 2 2- 12 H + + O - H -  O : : : : : : : H H : : : : S 2- S : : : S : : : : : : : S 2- +
  • 13.
  • 14. คู่กรด – เบส (Conjugate Acid – Base pairs) 14
  • 15. NH 4 + (aq) + H 2 O(l) ⇌ H 3 O + (aq) + NH 3 (aq) กรด 1 ปฏิกิริยากรด - เบส ตามนิยามของ เบรินสเตด - ลาวรี เกี่ยวข้องกับการให้และรับโปรตอน เรียกว่า ปฏิกิริยาโปรโตลิติก ( Protolytic reaction) NH 4 + (aq) เป็นคู่กรดของ NH 3 (aq) H 2 O(l) เป็นคู่เบสของ H 3 O + (aq) NH 3 (aq) เป็นคู่เบสของ NH 4 + (aq) H 3 O + (aq) เป็นคู่กรดของ H 2 O(l) 15 กรด 2 เบส 1 เบส 2 คู่กรด - เบส คู่กรด - เบส
  • 16. จากปฏิกิริยาต่อไปนี้จงแสดงคู่กรด - คู่เบส HSO 4 - + H 2 O ⇌ H 3 O + + SO 4 2- HSO 4 - (aq) เป็นคู่กรดของ SO 4 2- (aq) H 2 O(l) เป็นคู่เบสของ H 3 O + (aq) SO 4 2- (aq) เป็นคู่เบสของ HSO 4 - (aq) H 3 O + (aq) เป็นคู่กรดของ H 2 O(l) 16 กรด 1 กรด 2 เบส 1 เบส 2 คู่กรด - เบส คู่กรด - เบส
  • 17. จงบอกคู่กรด - เบสของสารต่อไปนี้ H 2 PO 4 - H 3 PO 4 HPO 4 2- HSO 3 - H 2 SO 3 SO 3 2- OH - H 2 O O 2- สารที่เป็นคู่กรด – เบสซึ่งกันและกันจะมีจำนวนโปรตอน ( H + ) ต่างกันอยู่ 1 โปรตอน 17 คู่กรด สาร คู่เบส
  • 18. NH 4 + (aq) + H 2 O(l) ⇌ H 3 O + (aq) + NH 3 (aq) CH 3 COO - (aq) + H 2 O(l)  CH 3 COOH(aq) + OH - (aq) สารที่สามารถแสดงสมบัติได้ทั้งกรดและเบส เรียกว่า แอมฟิโปรติก ( Amphiprotic) หรือ แอมโฟเทอริก ( Amphoteric) เ บส ก รด Lab 8.2 น้ำในสมการที่ 1 ทำหน้าที่เป็นเบส แต่ น้ำในสมการที่ 2 ทำหน้าที่เป็นกรด 18
  • 19. NaHCO 3 (s) + H 2 O(l)  HCO - 3 (aq) + Na + (aq ) การละลายน้ำของ NaHCO 3 HCO 3 - (aq) + H 2 O (aq) ⇌ H 2 CO 3 (aq) + OH - (aq ) สารละลาย NaHCO 3 มีสมบัติเป็นเบส ตามทฤษฎีกรด - เบส เบรินสเตด - ลาวรี อธิบายได้ดังสมการ การทดลองที่แสดงให้เห็นว่าสารบางชนิดเป็นแอมโฟเทอริก H + 19
  • 20. HCO 3 - (aq) + H 3 O + (aq) ⇌ H 2 CO 3 (aq) + H 2 O(l ) HCO 3 - (aq) + OH - (aq) ⇌ CO 3 2- (aq) + H 2 O(l ) H 2 CO 3 (aq)  CO 2 (g) + H 2 O(l ) HCO 3 - (aq) + H 3 O + (aq) ⇌ CO 2 (g) + 2H 2 O(l ) CO 3 2- (aq) + Ca 2+ (aq)  CaCO 3 (s ) สารละลาย NaHCO 3 มีสมบัติเป็นเบสเมื่อทำปฏิกิริยากับกรด HCl สารละลาย NaHCO 3 มีสมบัติเป็นกรดเมื่อทำปฏิกิริยากับเบส Ca(OH) 2 20 เบส กรด
  • 21. เรียกปฏิกิริยานี้ว่า การแตกตัวเป็นไอออนด้วยตัวเองของน้ำ (Self – Ionization of Water) หรือ Autoionization H 2 O H 2 O + ค่าคงที่การแตกตัวของน้ำ K w = 1.0 x 10 -14 น้ำเป็นตัวทำละลายที่เป็นได้ทั้งกรดและเบส สามารถเกิดปฏิกิริยาโปรโตลิติกกันเองได้ ดังสมการ แสดงว่าน้ำแตกตัวได้น้อยมาก 21 สมบัติความเป็นกรด - เบสของน้ำ H 3 O + + OH -