SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
1
เคมี อ.อุ๊
ตอนที่1 ข้อ 1-40 เป็นข้อสอบปรนัย ข้อละ 2 คะแนน
1. แก๊ส X ปริมาตร V1
และ ความดัน P1
ถ้าลดปริมาตรลงครึ่งหนึ่ง แก๊สจะมีความดันเท่ากับ P2
แต่ถ้าลดปริมาตร
ลงเหลือ 1/6 ของปริมาตร V1
แก๊สจะมีความดันเท่ากับ P3
กำหนดให้การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวเกิดที่อุณหภูมิ
และมวลของแก๊สคงที่ ความสัมพันธ์ระหว่าง P1
P2
และ P3
ในข้อใดถูกต้อง
2. ในการทดลองการแพร่ของแก๊ส A และแก๊สBโดยให้ทำปฏิกิริยากันในหลอดแก้วดังรูป
เมื่อวัดตำแหน่งของสาร C พบว่าเกิดอยู่ใกล้ทางเข้าแก๊ส B มากกว่า แก๊ส A ข้อใดผิด
ก. แก๊ส A แพร่ได้เร็วกว่าแก๊ส B
ข. แก๊ส B มีมวลโมเลกุลสูงกว่าแก๊ส A
ค. แก๊ส A และ แก๊ส B มีพลังงานจลน์เฉลี่ยเท่ากัน
ง. โมเลกุลของแก๊ส A เคลื่อนที่เข้าหาโมเลกุลของแก๊ส B โดยไม่มีการเปลี่ยนทิศทาง
หลอดแก้ว
A B
ก. P1
/P2
= P3
/2 ค. P1
x P2
= P3
/6
ข. P1
/P3
= P2
/6 ง. P1
x P3
= 3P2
/2
ปล่อยแก๊สทั้งสองเข้าไปในหลอดแก้วพร้อม ๆ กัน ปรากฎว่าได้สาร C ดังสมการ
A(g) + B(g) C(s)
ข้อสอบเคมี ENTRANCE มีนาคม’48
2
2
3. การเปรียบเทียบสมบัติของแก๊ส He H2
และ CH4
ในข้อใดถูก
ก. เมื่อมวลเท่ากัน จะมีปริมาตรเท่ากันที่อุณหภูมิและความดันเดียวกัน
ข. ที่อุณหภูมิเดียวกัน เมื่อมวลและปริมาตรเท่ากัน แก๊ส H2
จะมีความดันมากที่สุด
ค. ที่อุณหภูมิและความดันเดียวกัน แก๊สทั้ง 3 จะมีอัตราการแพร่เท่ากัน
ง. เมื่อนำแก๊สผสมทั้ง 3 มาลดอุณหภูมิ แก๊ส CH4
จะควบแน่นเป็นลำดับสุดท้าย
2
เคมี อ.อุ๊
Ea1
= 20 kJ
4. กำหนดสภาพการละลายได้ของสารเป็นกรัมในน้ำ100 กรัม
สาร 20o
C 60o
C
A 36 72
B 73 124
C 30 6
D 300 170
ข้อใดถูก
ก. เมื่อนำสารละลายอิ่มตัวของ B และ C ที่ 25o
C อย่างละขวดไปไว้ในตู้เย็น จะได้ผลึกของ B
ข. ที่อุณหภูมิ 25o
C สาร A และ B เป็นของแข็ง ส่วน C และ D เป็นแก๊ส
ค. ที่อุณหภูมิ 100o
C สาร A 98 กรัม ละลายได้ในน้ำ 100 กรัม
ง. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของสาร D > B > A > C
5. จากแผนภาพ ข้อสรุปใดถูก
A+B
Ea2
= 40 kJ
การดำเนินไปของปฏิกิริยา
พลังงาน
C
90 kJ
1. พลังงานก่อกัมมันต์ที่มีผลต่ออัตราเร็วของปฏิกิริยา คือ Ea1
2. การเติมตัวเร่งปฏิกิริยาลงไป จะทำให้ค่า Ea2
ลดลง
3. การเติมตัวเร่งปฏิกิริยา X ลงไป จะได้ผลิตภัณฑ์สุดท้าย เป็นสารประกอบ CX
4. หลังการเติมตัวเร่งปฏิกิริยา X ลงไป ปฏิกิริยาคายพลังงาน 90 kJ
ก. 1 และ 2 ข. 2 และ 3
ค. 1 และ 4 ง. 2 และ 4
3
เคมี อ.อุ๊
6. แก๊สผสมระหว่าง A B และ C ทำปฏิกิริยากันในภาชนะปิด ได้สาร D เมื่อทำการวิเคราะห์มวลของ A B C
เวลา จำนวนโมล
(นาที) A B C D
0 5.0 2.0 1.0 0
1 4.0 1.5 1.0 0.5
2 3.0 1.0 1.0 1.0
สมการแสดงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นและปริมาณของ A B C และ D เมื่อเวลาผ่านไป 5 นาทีควรเป็นข้อใด
จำนวนโมล
A B C D
ก. A+B+C D 0.0 0.0 1.0 2.5
ข. 2A+ B D 1.0 0.0 1.0 2.0
ค. 2A+B D 0.0 0.0 1.0 2.5
ง. A+2B D 1.0 0.0 1.0 2.5
7. ปฏิกิริยา A + B 2C ถ้ามีสาร A และ B อย่างละ 1.0 โมล ในภาชนะ 1 dm3
เมื่อถึงภาวะ
สมดุลมีสาร C เกิดขึ้น 0.4 mol/dm3
จงหาค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยา
และ D มีเวลาต่าง ๆ ได้ผลดังนี้
ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น
ก.1.3 ข.2.0 ค.4.0 ง.16.0
C 1
/2
A + 1
/2
B
8. จากค่าคงที่สมดุลที่ 25o
C (K25
) และที่ 100o
C (K100
) ของปฏิกิริยาที่กำหนดให้
ข้อใดสอดคล้องกับข้อมูลที่กำหนด
ก. ปฏิกิริยาทั้งสามเป็นปฏิกิริยาดูดความร้อน
ปฏิกิริยา สมการเคมี K25
K100
1 A C 0.025 500
2 X 2Y 25 100
3 2P 3Q 4,000 0.55
ค. เมื่อเพิ่มจำนวนโมลของ A ในปฏิกิริยา 1 เป็น 1,000 เท่า จะได้ค่า K25
เท่ากับของปฏิกิริยา 2
ง. ที่ความเข้มข้นของสารตั้งต้นของปฏิกิริยาทั้งสามเท่ากัน เมื่อเข้าสู่ภาวะสมดุลที่ 25o
C ปฏิกิริยา 3
จะให้ผลิตภัณฑ์มากที่สุด
ข. ที่ภาวะสมดุลปฏิกิริยา 2 ที่อุณหภูมิ 100o
C จะได้ผลิตภัณฑ์เป็น 4 เท่าของปฏิกิริยาที่ 25o
C
4
เคมี อ.อุ๊
9. กำหนด E0
ของเซลล์กัลวานิกให้ดังนี้
E0
(Volt)
Pb(s)/Pb2+
(aq) // Sn4+
(aq),Sn2+
(aq)/Pt(s) +0.28
Co(s)/Co2+
(aq) // Pb2+
(aq)/Pb(s) +0.15
ก. -0.13 ข. +0.13 ค. -0.43 ง. +0.43
10. แก๊สมีเทน 20.8 กรัม ทำปฏิกิริยากับแก๊สคลอรีนที่มากเกินพอ ได้ CH3
Cl CH2
Cl2
และ CHCl3
5.05 , 17.0 และ 59.75 กรัม ตามลำดับ และ CCl4
จำนวนหนึ่ง ปฏิกิริยานี้มี CCl4
เกิดขึ้นกี่กรัม
ปฏิกิริยา Sn2+
(aq) + Co2+
(aq) Sn4+
(aq) + Co(s) มีค่า E0
กี่โวลต์
ก. 30.8 ข. 62.6 ค. 77.0 ง. 86.6
เซลล์
เซลล์
เซลล์
11. ปฏิกิริยา E0
(V)
S2
O8
−
(aq) + 2e−
2SO4
−
(aq) +2.01
O2
(g) + 4H+
(aq) + 4e−
2H2
O(l) +1.23
Ni2+
(aq) + 2e−
Ni(s) −0.25
2H2
O(l) + 2e−
H2
(g) + 2OH−
(aq) −0.38
Zn2+
(aq) + 2e−
Zn(s) −0.76
สารละลายผสมที่ประกอบด้วย ZnSO4
และ NiSO4
เข้มข้นอย่างละ 0.5 mol/dm3
เมื่อทำให้เกิดอิเล็คโทรลิซิส
ปฏิกิริยารวมที่เกิดขึ้นเป็นข้อใด
ก. 2Ni2+
(aq) + 2H2
O(l) 2Ni(s) + O2
(g) + 4H+
(aq)
ข. 2Zn2+
(aq) + 2 H2
O(l) 2Zn(s) + O2
(g) + 4H+
(aq)
ค. 2H2
O(l) O2
(g) + 2H2
(g)
ง. Zn2+
(aq) + 2SO4
−
(aq) S2
O8
−
(aq) + Zn(s)
ก. 1 2 และ 4 ข. 2 3 และ4 ค. 1 3 และ 4 ง. 1 2 และ 3
12. โลหะ A ทำปฏิกิริยากับกรดไฮโดรคลอริก แต่ B และ C ไม่ทำปฏิกิริยากับกรดไฮโดรคลอริก เมื่อนำ
โลหะ B จุ่มลงในสารละลายที่มีไอออน C+
ได้โลหะ C เกาะบนโลหะ B ข้อใดถูก
1. ความสามารถในการสูญเสียอิเล็กตรอน A > B > C
2. โลหะ C ช่วยป้องกันการผุกร่อนของโลหะ A ได้
3. เมื่อต่อครึ่งเซลล์ B/B+
และ C/C+
เข้าด้วยกันโลหะ C จะเป็นขั้วแคโทด
4. เมื่อนำโลหะ A จุ่มลงในสารละลาย B+
จะได้โลหะ B เกาะบนแท่งโลหะ A
2 2
2 2
5
เคมี อ.อุ๊
ข้อใดถูกต้อง
ก.1และ2 ข.2และ3 ค.3และ4 ง.1และ3
13.
ปฏิกิริยา ธาตุที่ถูกริดิวซ์ ธาตุที่ถูกออกซิไดส์
1. 2Ca3
(PO4
)2
+ 5C + 6SiO2
6CaSiO3
+ P4
+ 5CO2
2. Mg2
Si + 4HCl 2MgCl2
+ SiH4
Si H
3. 6KOH + 3Br2
5KBr + KBrO3
+ 3H2
O Br Br
4. 2K2
Cr2
O7
+ 2H2
O + 3S 3SO2
+ 4KOH + 2Cr2
O3
P C
S Cr
14.การแยกสารโดยวิธีโครมาโทกราฟี เมื่อใช้ตัวทำละลาย X สาร A B และ C มีค่า Rf
เท่ากับ 0.2 0.3 และ 0.6
ตามลำดับ แต่เมื่อใช้ตัวทำละลายผสมของ X และ Y ในอัตราส่วน 1 : 1 ปรากฏว่าค่า Rf
ของสาร A B
และ C เท่ากับ 0.4 0.25 และ 0.35 ตามลำดับ ข้อสรุปในข้อใดสอดคล้องกับข้อมูล
ก. สาร A ถูกดูดซับได้มากกว่าสาร B และสาร B ถูกดูดซับได้ดีกว่าสาร C
ข. สาร A ถูกดูดซับได้ดีในตัวทำละลาย X ส่วน B และ C ถูกดูดซับได้ดีในตัวทำละลาย Y
ค. การแยกสาร A B และ C ออกจากกัน ใช้ตัวทำละลาย X ได้ผลดีกว่าใช้ตัวทำละลายผสมของ X และ Y
ง. ควรใช้ตัวทำละลาย Y แยกสาร A และ B ออกจากกัน แต่ไม่ควรใช้แยกสาร B และ C ออกจากกัน
ก.1:2 ข.2:1 ค.1:4 ง.4:1
เกิดความร้อนมหาศาล ทำให้แก๊สที่เกิดขึ้นขยายตัวอย่างฉับพลัน จึงเกิดการระเบิดอย่างรุนแรง ถ้าเริ่มต้นด้วย
ไนโตรกลีเซอรีน 45.4 กรัม และปฏิกิริยานี้เกิดสมบูรณ์จะเกิดแก๊ส N2
CO2
และO2
รวมกันกี่ลูกบาศก์เดซิเมตร
ที่ STP
ก. 21.3 ข. 22.4 ค. 25.5 ง. 30.6
15. เทสารละลาย H2
SO4
ความเข้มข้น 0.5 mol/dm3
ปริมาตร 100 cm3
ลงในสารละลายที่มี BaCl2
อยู่
คนให้เข้ากัน จนเกิดปฏิกิริยาเคมีอย่างสมบูรณ์ ได้ตะกอน BaSO4
หนัก 2.33 กรัม สารละลายหลังจากกรอง
ตะกอนออกแล้ว มีอัตราส่วนโดยโมล ของ SO4
−
: Cl−
เท่าไร
H2
SO4
+ BaCl2
BaSO4
+ HCl (สมการยังไม่ได้ดุล)
2
16.ไนโตรกลีเซอรีนสลายตัวดังสมการ
C3
H5
N3
O9
N2
+ CO2
+ O2
+ H2
O(สมการยังไม่ดุล)
6
เคมี อ.อุ๊
2
18.การไทเทรตสารละลายเบสอ่อน (BOH) ปริมาตร 20cm3
กับสารละลาย HCl เข้มข้น0.1mol/dm3
ที่จุดสมมูลต้องใช้ปริมาตรสารละลาย HCl 20cm3
อินดิเคเตอร์ใดเหมาะสมที่จะใช้ในการไทเทรตมากที่สุด
กำหนด Ka ของ B+
เท่ากับ 2x10−9
อินดิเคเตอร์ ช่วง pH ของการเปลี่ยนสี
ก. A 3.3 - 4.6
ข. B 3.8 - 5.4
ค. C 5.2 - 6.8
ง. D 6.0 - 7.6
19. สารละลายที่มี HNO3
4 x 10−2
mol ใน 400 cm3
ผสมกับสารละลาย KOH pH เท่ากับ 12 ปริมาตร
600 cm3
ถ้าต้องการทำให้สารละลายผสมมี pH เท่ากับ 7 จะต้องเติมสารละลายในข้อใด
ก. Ca(OH)2
0.20 mol/dm3
ลงไปอีก 85 cm3
ข. NaOH 0.20 mol/dm3
ลงไปอีก 150 cm3
ค. HCl 0.20 mol/dm3
ลงไปอีก 150 cm3
ง. H2
SO4
0.20 mol/dm3
ลงไปอีก 85 cm3
20. จากข้อมูลที่กำหนดให้
กรด Ka
HCN 5x10−10
CH3
COOH 2x10−5
HNO2
5x10−4
ข้อใดถูก
ก. ที่ความเข้มข้นเท่ากัน สารละลาย HNO2
จะมี pH มากที่สุด
ข. ที่ความเข้มข้นเท่ากัน สารละลาย NaCN จะมี pH มากกว่าสารละลาย CH3
COONa
ค. สารละลาย HNO2
0.05 mol/dm3
ปริมาตร 10 cm3
มี pH 6.5
ง. ร้อยละการแตกตัวของ HNO2
ความเข้มข้น 0.01 mol/dm3
น้อยกว่า CH3
COOH ความเข้มข้น 0.1 mol/dm3
โดยปฏิกิริยานี้มีร้อยละผลผลิตเท่ากับ 80 ถ้าใช้เมทานอล 30กรัม ทำปฏิกิริยากับกรดซาลิซิลิก140กรัมจะได้
น้ำมันระกำหนักกี่กรัม
ก. 114.0 ข. 123.4 ค. 142.5 ง. 154.2
17.น้ำมันระกำ (เมทิลซาลิซิเลต) เตรียมได้จากปฏิกิริยาระหว่างเมทานอลกับกรดซาลิซิลิกโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา
ดังสมการ
CH3
OH + C7
H6
O3
C8
H8
O3
+ H2
O
7
เคมี อ.อุ๊
21.สารประกอบคลอไรด์ของธาตุ A มีสูตร ACl3
เป็นของเหลวที่ไม่ละลายน้ำสมบัติของธาตุ A ข้อใดผิด
ก. สารประกอบออกไซด์ของธาตุ A มีสูตร A2
O5
ข. สารประกอบออกไซด์ของธาตุ A ละลายน้ำได้สารละลายที่เป็นเบส
ค. พันธะระหว่างอะตอมของสารประกอบคลอไรด์ของธาตุ A เป็นพันธะโคเวเลนต์
ง. ผลต่างระหว่าง IE5
และ IE6
ของธาตุ A มีค่ามากกว่าผลต่างระหว่าง IE อื่นสองระดับที่อยู่ติดกัน
22.
A . (C2
H5
)2
NH + H2
O (C2
H5
)2
NH2
+ OH−
Kb = 6.9 x 10−4
B . C2
H5
NH2
+ H2
O C2
H5
NH3
+ OH−
Kb = 4.5 x 10−4
C . (CH3
)2
NH + H2
O (CH3
)2
NH2
+ OH−
Kb = 5.4 x 1.0−4
ถ้าสารละลายทั้งสามมีความเข้มข้นเริ่มต้นเท่ากัน และเมื่อถึงภาวะสมดุลที่อุณหภูมิเดียวกัน ข้อใดถูก
ก. [(C2
H5
)2
NH] < [(CH3
)2
NH] pH B > pH C
ข. [C2
H5
NH2
] > [(C2
H5
)2
NH] [H3
O+
] B > [H3
O+
] C
ค. [(CH3
)2
NH] < [(C2
H5
)2
NH] [ OH−
] A > [ OH−
] B
ง. [(C2
H5
)2
NH] > [C2
H5
NH2
] pH B < pH A
23. ข้อใดที่อธิบายเกี่ยวกับธาตุ 9
A 19
D 34
E และ 35
G ไม่ถูก
ก. 9
A และ 35
G มีสมบัติทางเคมีคล้ายกัน ค. 35
G มีระดับพลังงานชั้นนอกสุดคือ ชั้น N
ข. 19
D มีรัศมีไอออนน้อยกว่า 34
E ง. 34
E มีค่าอิเล็กโตรเนกาติวิตีมากกว่า 9
A
+
+
+
24.ธาตุสมมุติ A B และ C โดย A2−
และ B+
ต่างมีจำนวนอิเล็กตรอนเท่ากับของแก๊สเฉื่อยในคาบที่3 และC
มีเลขอะตอมเท่ากับ 37
1. B+
มีขนาดใหญ่กว่า A และ C
2. B มีพลังงานไอออไนเซชันลำดับที่หนึ่งน้อยกว่า A แต่มากกว่า C
3. A มีสมบัติเป็นโลหะมากกกว่า B และ C
4. B และ C เกิดสารประกอบกับ A ได้สูตร BA2
และ CA2
ตามลำดับ
ข้อใดถูก
ก. 2 เท่านั้น ข.3เท่านั้น ค.1 และ2 ง. 3 และ4
การเปรียบเทียบ 1 การเปรียบเทียบ 2
8
เคมี อ.อุ๊
25.ธาตุกัมมันตรังสี A สลายตัวได้ดังสมการ
ถ้าเริ่มต้นด้วย Aหนัก 80 กรัม เมื่อเวลาผ่านไป 21 วันปรากฎว่ามี A เหลือ 10กรัม จงหาครึ่งชีวิตของA
(วัน)และจำนวนอนุภาคแอลฟาที่เกิดขึ้น
กำหนด มวลอะตอมของ A เท่ากับ 200 และเลขอาโวกาโดร เท่ากับ 6.0 x 1023
ก. 7 และ 2.1 x 1023
ข. 10 และ 4.2 x 1023
ค. 14 และ 6.3 x 1023
ง. 21 และ 8.4 x 1023
26.กำหนดค่าพลังงานไอออไนเซชัน (eV) (IE1
IE2
IE3
....) ของธาตุ A X Y Z และ M
ธาตุ IE1
IE2
IE3
IE4
IE5
IE6
IE7
IE8
IE9
A 5 76 122
X 11 24 48 65 392 490
Y 14 35 54 77 113 138 740 870
Z 17 36 63 87 114 157 185 954 1100
M 13 24 40 54 69 99 115 353 406
ข้อใดถูก
ก.ขนาดของอะตอม X > Y > Z
ข.สูตรเคมีของสารประกอบที่เกิดจาก A กับ X คือ AX3
ค. A และ X เป็นธาตุโลหะส่วน Y และ Z เป็นธาตุอโลหะ
ง.ธาตุ 2 ธาตุใดๆ ในตารางรวมกันได้สารประกอบโคเวเลนท์
27.นำกรดอินทรีย์ A มาทำปฏิกิริยาพอดีกับเอทานอล 9.2 กรัม ได้ผลิตภัณฑ์เป็นเอสเทอร์B26 กรัมและน้ำ
จงหาจำนวนไอโซเมอร์ที่เป็นไปได้ของกรดอินทรีย์ A
ก. 2 ข. 3 ค. 4 ง. 5
28. พิจารณาสมบัติของธาตุสมมติต่อไปนี้
ธาตุ สมบัติของธาตุ
A อยู่หมู่เดียวกับ Se และคาบเดียวกับธาตุที่มีค่า IE1
สูงที่สุด
C อยู่ในคาบที่ 3 และหมู่เดียวกับ As
B อยู่ในคาบที่ 3 และหมู่เดียวกับธาตุ A
D อยู่ในคาบที่ 3 และหมู่เดียวกับธาตุที่มีค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตีสูงที่สุด
75
33
79
34
y y−4 4
x x−2 2
A B + He
9
เคมี อ.อุ๊
ข้อใดถูก
จำนวนอิเล็กตรอนคู่ สภาพขั้ว
โดดเดี่ยวของอะตอมกลาง ของโมเลกุล
สามเหลี่ยม
แบนราบ
ข. CAD3
ทรงสี่หน้า ไม่มี ไม่มี
ค. BD2
มุมงอ 1คู่ มี
พีระมิดคู่ฐาน
สามเหลี่ยม
สารประกอบ รูปร่างโมเลกุล
BA3 ไม่มี ไม่มี
CD5 ไม่มี มี
ก.
ง.
29. การทำให้เอทานอลและเอทิลแอซีเตต เดือดกลายเป็นไอ พลังงานที่ใช้เพื่อเอาชนะแรงระหว่างโมเลกุล
เป็นไปตามข้อใด
1. แรงดึงดูดระหว่างขั้ว 2. พันธะไฮโดรเจน
3. แรงลอนดอน 4. แรงระหว่างประจุไฟฟ้า
เอทานอล เอทิลแอซีเตต
ก. 1 2 1 3
ข. 1 2 1 2 3 4
ค. 1 2 3 1 2 3 4
ง. 1 2 3 1 3
30. ข้อใดถูก
1) การเกิดพันธะเคมีเป็นกระบวนการคายพลังงาน
2) โมเลกุลเกิดขึ้นเมื่ออะตอมอยู่ใกล้กันที่สุด
3) ในการเกิดพันธะเคมีจะมีการถ่ายโอนอิเล็กตรอนจากอะตอมหนึ่งไปยังอีกอะตอมหนึ่งเสมอ
4) เมื่อสลายโมเลกุลเป็นอะตอมเดี่ยว พลังงานของอะตอมทั้งหมดที่เป็นองค์ประกอบรวมกันจะสูงกว่า
พลังงานของโมเลกุลเดิม
ก. 1 และ 3 ข. 1 และ 4 ค. 2 และ 3 ง. 2 และ 4
10
เคมี อ.อุ๊
31. ไฮโดรคาร์บอน Y มีสูตรโมเลกุล C6
H14
เมื่อทำปฏิกิริยากับแก๊สคลอรีนในที่มีแสงให้ผลิตภัณฑ์ C6
H13
Cl
ข้อใดเป็นโครงสร้างของ Y ที่ทำให้ได้ผลิตภัณฑ์ซึ่งเป็นไอโซเมอร์กันจำนวนมากที่สุด
ก. ข.
ค. ง.
32.ในการแยกโลหะสังกะสีจากสารละลาย ZnSO4
โดยใช้กระแสไฟฟ้า ข้อใดผิด
ก.ปฏิกิริยาที่ขั้วแคโทดคือ Zn2+
(aq)+2e−−−−−
Zn(s)
ข. ที่ขั้วแอโนดจะมีแก๊สออกซิเจนเกิดขึ้น
ค. เป็นเซลล์อิเล็กโทรไลต์
ง. pH ของสารละลายเพิ่มขึ้นเมื่อเวลาผ่านไป
33.ฟีนอล์ฟทาลีน เป็นอินดิเคเตอร์ที่ใช้กันแพร่หลาย มีสูตรโครงสร้างดังนี้
O
O
OH
OH
นำสารละลายฟีนอลฟ์ทาลีนไปต้มกับสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ ที่มากเกินพอผลิตภัณฑ์ที่ได้
มีโครงสร้างแบบใด
ก. ข.
O
ONa
OH
OH
O
H
OH
OH
OH
11
เคมี อ.อุ๊
ค. ง.
O
ONa
ONa
ONa
OH
O
ONa
ONa
OH
34.พิวเทรสซิน เป็นสารที่พบในปลาซึ่งทำให้ปลามีกลิ่นคาว มีสูตรโครงสร้างแบบย่อ คือ NH2
(CH2
)4
NH2
ในการรับประทานปลาดิบนิยมบีบน้ำมะนาว ซึ่งมีกรดซิตริก เพื่อลดคาวปลา สารที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยา
ระหว่าง พิวเทรสซิน และกรดซิตริก มีโครงสร้างตามข้อใด
OH
HOOC CH2
C CH2
COOH
COOH
กรดซิตริก
ก. HOOC CH2
C CH2
COOH
OH
COO−−−−−
H3
N+
CH2
CH2
CH2
CH2
NH2
ข. HOOC CH2
C CH2
COOH
NHCH2
CH2
CH2
CH2
NH2
COOH
ค. HOOC CH2
C CH2
COOH
O−
H3
N+
CH2
CH2
CH2
CH2
NH2
COOH
OH
ง. HOOC CH2
C CH2
CONHCH2
CH2
CH2
CH2
NH2
COOH
12
เคมี อ.อุ๊
35.พิจารณาข้อมูลต่อไปนี้
ข้อใดเป็นสารประกอบ 1 2 และ 3 ตามลำดับ
ก. CH2
===== CHCOOH CH3
CH2
CH2
OH CH2
===== CH −−−−− CH ===== CH2
ข. CH3
CH2
COOH CH2
===== CHCH2
OH CH3
CH2
CH2
CH3
ง. CH2
===== CHCH2
OH CH3
CH2
CH2
COOH CH =====CH2
ค. CH3
CH2
CH2
OH CH3
CH2
COOH CH2
CH3
การละลายน้ำ สารที่ใช้ทดสอบและผลของปฏิกิริยา
และนำไฟฟ้า โลหะโซเดียม NaHCO3
Br2
ในที่สว่าง Br2
ในที่มืด
สาร
2
1
3
เกิดฟองแก๊ส ฟอกสี ฟอกสี
เกิดฟองแก๊ส ไม่ฟอกสี ไม่ฟอกสี
ฟอกสี ฟอกสี
ละลายได้ เกิดฟอง
นำไฟฟ้า แก๊ส
ละลายได้ ไม่เกิดฟอง
ไม่นำไฟฟ้า แก๊ส
ไม่ละลาย ไม่เกิดฟอง ไม่เกิดฟอง
ไม่นำไฟฟ้า แก๊ส แก๊ส
36. กรดไขมัน สูตรโครงสร้าง
ปาล์มิติก CH3
(CH2
)14
COOH
ปาล์มิโตเลอิก CH3
(CH2
)5
CH = CH(CH2
)7
COOH
สเตียริก CH3
(CH2
)16
COOH
โอเลอิก CH3
(CH2
)7
CH = CH(CH2
)7
COOH
ไขมันชนิดหนึ่งทำปฏิกิริยาสะปอนนิฟิเคชัน กับโซเดียมไฮดรอกไซด์ จำนวน 12.0 กรัม ได้ผลิตภัณฑ์
เป็นเกลือโซเดียมของกรดไขมัน 82.8 กรัม และกลีเซอรอล กรดไขมันของไขมันชนิดนี้ ควรเป็นกรดใด
ก. ปาล์มิติก ข. ปาล์มิโตเลอิก
ค. สเตียริก ง. โอเลอิก
13
เคมี อ.อุ๊
38.สตัลลิมัยซิน เป็นสารแอนติไบโอติกและต้านไวรัส ได้จากเชื้อสเตร็บโตมัยซินมีโครงสร้างดังรูป
HCONH
N
N
N
N
N
N
C
NH
NH2
H
O
H
OCH3
O
H
CH3
CH3
ค. 3
ง. 3
ก. 3
ข. 3
ข้อใดเป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสของสตัลลิมัยซิน
NH
N CONH2
+ HCONH2
+ CH3
CH2
C NH2
CH3
N COOH + HCOOH + NH2
CH2
CH2
C NH2
CH3
NH2
NH
N
CH3
HCONH
+ HCONHCH2
CH2
C NH2
NH
CH3
N
HCONH
+ HOOCCH2
CH2
C NH2
NH
NH2
37. ปฏิกิริยาใดต่อไปนี้เป็นปฏิกิริยารีฟอร์มมิ่งสำหรับใช้ในการปรับปรุงคุณภาพของน้ำมัน
ความร้อน
ก.
ตัวเร่งปฏิกิริยา
+ CH3
(CH2
)3
CH = CH2
ง.
H2
/Pt
ตัวเร่งปฏิกิริยา
ค. CH3
(CH2
)4
CH3
CH3
CH3
+ CH2
= CH2
+ CH3
CH = CH2
H2
SO4
ข. CH3
CH = CH2
+ CH3
CH(CH3
)2
CH3
CHCH2
CHCH3
CH3
CH3
14
เคมี อ.อุ๊
D
n
Cl
ข้อใดถูก
พอลิเมอร์ ชนิด ปฏิกิริยาการเกิด
ก. A โฮโมพอลิเมอร์ การควบแน่น
ข. B โคพอลิเมอร์ การเติม
ค. C โคพอลิเมอร์ การเติม
ง. D โฮโมพอลิเมอร์ การควบแน่น
39.
A
n
C
n
B
n
O
O
O
O
40. ข้อใดผิด
ก. แก๊สมีเทนเป็นสารตั้งต้นชนิดหนึ่งที่ใช้ในการเตรียมปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟตและปุ๋ยยูเรีย
ข. ขั้นตอนหนึ่งในการถลุงแร่คือการใช้ตัวรีดิวซ์ เช่น คาร์บอนในถ่านหินเปลี่ยนโลหะในสินแร่ให้เป็น
โลหะอิสระก่อนทำให้บริสุทธิ์ต่อไป
ค. การผลิตเซอร์โคเนียมใช้สารละลายผสมของกรดไฮโดรฟลูออริกและกรดซัลฟิวริกสกัดเซอร์โคเนียม
ออกจากสินแร่เซอร์คอนก่อน
ง. เรเดียมบริสุทธิ์ได้จากการแยกสลายสารประกอบเรเดียมแฮไลด์ด้วยไฟฟ้าโดยใช้ปรอทเป็นขั้วไฟฟ้า
15
เคมี อ.อุ๊
ตอนที่ 2 ข้อ 1 - 5 เป็นข้อสอบอัตนัย ข้อละ4 คะแนน
1. ยาลดกรดชนิดหนึ่งบดละเอียด หนัก 1.00 กรัม ค่อย ๆ เติม HCl เข้มข้น 1.0 mol/dm3
ลงไปจนครบ 15.0 cm3
เขย่าจนไม่เกิดฟองแก๊สอีก อุ่นให้ร้อนแล้วกรองส่วนที่ไม่ละลายออก ถ่ายของเหลวลงในขวดวัดปริมาตร
ขนาด 100 cm3
พร้อมน้ำล้างตะกอนเติมน้ำกลั่นจนถึงขีดบอกปริมาตร 100 cm3
เขย่าเป็นเนื้อเดียวกัน
ปิเปตต์สารละลายที่ได้ 10.0 cm3
ไทเทรตกับ NaOH เข้มข้น 0.10 mol/dm3
ที่จุดยุติใช้ 12.50 cm3
จงคำนวณปริมาณ CaCO3
ในยาลดกรดตัวอย่างเป็นร้อยละโดยมวล
2. ธาตุ A มี 2 ไอโซโทปซึ่งมีมวล 14.0 และ 12.9 ธาตุ B มีมวลเฉลี่ยเท่ากับ 36.0 สารประกอบ AB4
มีมวลโมเลกุล 157 จงหาร้อยละของไอโซโทปที่มีมวล เท่ากับ 14.0 (ตอบทศนิยม 2 ตำแหน่ง)
3. การเผาไหม้ CH4
และ C2
H2
อย่างละ 1 โมล คายพลังงานความร้อน 213 kcalและ 310 kcal ตามลำดับ
ในการเตรียม C2
H2
ปริมาตร 4.48dm3
ที่ STP จาก CH4
จะมีพลังงานเกี่ยวข้องกี่ kcal
CH4
+ O2
CO2
+ H2
O (สมการยังไม่ดุล)
C2
H2
+ O2
CO2
+ H2
O (สมการยังไม่ดุล)
16
เคมี อ.อุ๊
4. แก๊สผสม SO2
และNO2
ในภาชนะขนาด 1dm3
เกิดปฏิกิริยาดังสมการ
SO2
+ NO2
SO3
+ NO
เมื่อเข้าสู่ภาวะสมดุลพบว่ามี SO3
NO NO2
และ SO2
อย่างละ 0.60, 0.40, 0.10 และ 0.80 mol ตามลำดับ
ถ้าต้องการเพิ่มปริมาณ NO2
ให้เป็น 0.30 mol จะต้องปล่อยแก๊ส NO เข้าสู่ภาชนะกี่โมลที่อุณหภูมิและ
ความดันคงที่
5. ภาชนะใบที่ 1 จุ 45.0 cm3
บรรจุแก๊สผสมระหว่าง CO และ CO2
ภาชนะใบที่ 2 ขนาดเดียวกับใบแรก
บรรจุแก๊ส O2
เมื่อเปิดวาล์วให้แก๊สทั้งสองภาชนะผสมกัน จะเกิดปฏิกิริยาอย่างรวดเร็ว พบว่าที่อุณหภูมิ
และความดันคงที่ค่าหนึ่ง แก๊สผสมนี้มีปริมาตร 70 cm3
ปริมาตรเริ่มต้นของแก๊ส CO เป็นกี่ลูกบาศก์ -
เซนติเมตร กำหนดปฏิกิริยาที่เกี่ยวข้อง
2CO + O2
2CO2

More Related Content

What's hot

ข้อสอบ a net เคมี 2550
ข้อสอบ a net เคมี 2550ข้อสอบ a net เคมี 2550
ข้อสอบ a net เคมี 2550Review Wlp
 
สรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีสรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีTutor Ferry
 
สรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีสรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีTutor Ferry
 
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุ
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุวิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุ
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุTutor Ferry
 
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลยโจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลยawirut
 
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมี
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมีวิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมี
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมีTutor Ferry
 
กสพท. เคมี 2563
กสพท. เคมี 2563กสพท. เคมี 2563
กสพท. เคมี 25639GATPAT1
 
สรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีสรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีTutor Ferry
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2Tanchanok Pps
 
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีPorna Saow
 
Lab 2 acid base titration and applications
Lab 2 acid base titration and applicationsLab 2 acid base titration and applications
Lab 2 acid base titration and applicationsBELL N JOYE
 

What's hot (15)

ข้อสอบ a net เคมี 2550
ข้อสอบ a net เคมี 2550ข้อสอบ a net เคมี 2550
ข้อสอบ a net เคมี 2550
 
สรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีสรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมี
 
สรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีสรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมี
 
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุ
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุวิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุ
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุ
 
s
ss
s
 
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลยโจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
 
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมี
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมีวิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมี
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมี
 
กสพท. เคมี 2563
กสพท. เคมี 2563กสพท. เคมี 2563
กสพท. เคมี 2563
 
เคมี กสพท ปี58 พร้อมเฉลย
เคมี กสพท ปี58 พร้อมเฉลยเคมี กสพท ปี58 พร้อมเฉลย
เคมี กสพท ปี58 พร้อมเฉลย
 
เคมี ปี 55
เคมี ปี 55เคมี ปี 55
เคมี ปี 55
 
สรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีสรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมี
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
 
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
 
9 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 569 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 56
 
Lab 2 acid base titration and applications
Lab 2 acid base titration and applicationsLab 2 acid base titration and applications
Lab 2 acid base titration and applications
 

Similar to Quemarch48 130814115357-phpapp02

กสพท. เคมี 2560
กสพท. เคมี 2560กสพท. เคมี 2560
กสพท. เคมี 25609GATPAT1
 
1.เก็งข้อสอบ a net วิชาเคมี ชุดที่ 1
1.เก็งข้อสอบ a net วิชาเคมี ชุดที่ 11.เก็งข้อสอบ a net วิชาเคมี ชุดที่ 1
1.เก็งข้อสอบ a net วิชาเคมี ชุดที่ 1darkfoce
 
โจทย์อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
โจทย์อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีโจทย์อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
โจทย์อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีatichat44164
 
2543october
2543october2543october
2543octoberawirut
 
2543october
2543october2543october
2543octoberawirut
 
2543october
2543october2543october
2543octoberawirut
 
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมีโจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมีWattana123456
 
ข้อสอบ เคมี
ข้อสอบ เคมีข้อสอบ เคมี
ข้อสอบ เคมีzweetiiz
 
เคมี
เคมี เคมี
เคมี Mu PPu
 
สื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
สื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณสื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
สื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณพัน พัน
 
แบบฝึกหัด Coulometry &amp; electrogrovimetry
แบบฝึกหัด Coulometry &amp; electrogrovimetryแบบฝึกหัด Coulometry &amp; electrogrovimetry
แบบฝึกหัด Coulometry &amp; electrogrovimetryPipat Chooto
 
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibriumกรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion EquilibriumDr.Woravith Chansuvarn
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีPreeyapat Lengrabam
 
บทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสบทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสoraneehussem
 

Similar to Quemarch48 130814115357-phpapp02 (20)

กสพท. เคมี 2560
กสพท. เคมี 2560กสพท. เคมี 2560
กสพท. เคมี 2560
 
1.เก็งข้อสอบ a net วิชาเคมี ชุดที่ 1
1.เก็งข้อสอบ a net วิชาเคมี ชุดที่ 11.เก็งข้อสอบ a net วิชาเคมี ชุดที่ 1
1.เก็งข้อสอบ a net วิชาเคมี ชุดที่ 1
 
โจทย์อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
โจทย์อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีโจทย์อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
โจทย์อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
Sk7 ch
Sk7 chSk7 ch
Sk7 ch
 
2543october
2543october2543october
2543october
 
2543october
2543october2543october
2543october
 
2543october
2543october2543october
2543october
 
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมีโจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี
 
Metal
MetalMetal
Metal
 
ข้อสอบ เคมี
ข้อสอบ เคมีข้อสอบ เคมี
ข้อสอบ เคมี
 
เคมี
เคมี เคมี
เคมี
 
สื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
สื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณสื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
สื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
 
แบบฝึกหัด Coulometry &amp; electrogrovimetry
แบบฝึกหัด Coulometry &amp; electrogrovimetryแบบฝึกหัด Coulometry &amp; electrogrovimetry
แบบฝึกหัด Coulometry &amp; electrogrovimetry
 
Rate012
Rate012Rate012
Rate012
 
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibriumกรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
 
Entrance Rate
Entrance RateEntrance Rate
Entrance Rate
 
กรด เบส 3
กรด เบส 3กรด เบส 3
กรด เบส 3
 
9 วิชาสามัญ เคมี 59
9 วิชาสามัญ เคมี 599 วิชาสามัญ เคมี 59
9 วิชาสามัญ เคมี 59
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมี
 
บทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสบทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบส
 

More from SasipraphaTamoon

ใบงานที่ 8 โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่ 8 โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์SasipraphaTamoon
 
ใบงานที่ 7 โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานSasipraphaTamoon
 
ใบงานที่ 6 โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
ใบงานที่ 6 โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีใบงานที่ 6 โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
ใบงานที่ 6 โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีSasipraphaTamoon
 
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือSasipraphaTamoon
 
ใบงานที่ 4โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 4โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 4โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 4โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือSasipraphaTamoon
 
ใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงานSasipraphaTamoon
 
ใบงานที่ 2 ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2 ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2 ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2 ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์SasipraphaTamoon
 
Blog 120715043550-phpapp01
Blog 120715043550-phpapp01Blog 120715043550-phpapp01
Blog 120715043550-phpapp01SasipraphaTamoon
 
7วิชาสามัญ สังคม
7วิชาสามัญ สังคม7วิชาสามัญ สังคม
7วิชาสามัญ สังคมSasipraphaTamoon
 
7soc1 130814121758-phpapp02
7soc1 130814121758-phpapp027soc1 130814121758-phpapp02
7soc1 130814121758-phpapp02SasipraphaTamoon
 
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 0
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 01. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 0
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 0SasipraphaTamoon
 
7 สามัญ คณิต
7 สามัญ คณิต7 สามัญ คณิต
7 สามัญ คณิตSasipraphaTamoon
 
7 สามัญ ฟิสิกส์ เฉลย
7 สามัญ ฟิสิกส์ เฉลย7 สามัญ ฟิสิกส์ เฉลย
7 สามัญ ฟิสิกส์ เฉลยSasipraphaTamoon
 
7 สามัญ ชีววิทยา
7 สามัญ ชีววิทยา7 สามัญ ชีววิทยา
7 สามัญ ชีววิทยาSasipraphaTamoon
 
Cambridge target score final test
Cambridge target score final testCambridge target score final test
Cambridge target score final testSasipraphaTamoon
 

More from SasipraphaTamoon (17)

Apu2015 e
Apu2015 eApu2015 e
Apu2015 e
 
2015 application form_e
2015 application form_e2015 application form_e
2015 application form_e
 
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่ 8 โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
 
ใบงานที่ 7 โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 
ใบงานที่ 6 โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
ใบงานที่ 6 โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีใบงานที่ 6 โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
ใบงานที่ 6 โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
 
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
 
ใบงานที่ 4โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 4โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 4โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 4โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
 
ใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
ใบงานที่ 2 ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2 ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2 ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2 ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Blog 120715043550-phpapp01
Blog 120715043550-phpapp01Blog 120715043550-phpapp01
Blog 120715043550-phpapp01
 
7วิชาสามัญ สังคม
7วิชาสามัญ สังคม7วิชาสามัญ สังคม
7วิชาสามัญ สังคม
 
7soc1 130814121758-phpapp02
7soc1 130814121758-phpapp027soc1 130814121758-phpapp02
7soc1 130814121758-phpapp02
 
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 0
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 01. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 0
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 0
 
7 สามัญ คณิต
7 สามัญ คณิต7 สามัญ คณิต
7 สามัญ คณิต
 
7 สามัญ ฟิสิกส์ เฉลย
7 สามัญ ฟิสิกส์ เฉลย7 สามัญ ฟิสิกส์ เฉลย
7 สามัญ ฟิสิกส์ เฉลย
 
7 สามัญ ชีววิทยา
7 สามัญ ชีววิทยา7 สามัญ ชีววิทยา
7 สามัญ ชีววิทยา
 
Cambridge target score final test
Cambridge target score final testCambridge target score final test
Cambridge target score final test
 

Quemarch48 130814115357-phpapp02

  • 1. 1 เคมี อ.อุ๊ ตอนที่1 ข้อ 1-40 เป็นข้อสอบปรนัย ข้อละ 2 คะแนน 1. แก๊ส X ปริมาตร V1 และ ความดัน P1 ถ้าลดปริมาตรลงครึ่งหนึ่ง แก๊สจะมีความดันเท่ากับ P2 แต่ถ้าลดปริมาตร ลงเหลือ 1/6 ของปริมาตร V1 แก๊สจะมีความดันเท่ากับ P3 กำหนดให้การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวเกิดที่อุณหภูมิ และมวลของแก๊สคงที่ ความสัมพันธ์ระหว่าง P1 P2 และ P3 ในข้อใดถูกต้อง 2. ในการทดลองการแพร่ของแก๊ส A และแก๊สBโดยให้ทำปฏิกิริยากันในหลอดแก้วดังรูป เมื่อวัดตำแหน่งของสาร C พบว่าเกิดอยู่ใกล้ทางเข้าแก๊ส B มากกว่า แก๊ส A ข้อใดผิด ก. แก๊ส A แพร่ได้เร็วกว่าแก๊ส B ข. แก๊ส B มีมวลโมเลกุลสูงกว่าแก๊ส A ค. แก๊ส A และ แก๊ส B มีพลังงานจลน์เฉลี่ยเท่ากัน ง. โมเลกุลของแก๊ส A เคลื่อนที่เข้าหาโมเลกุลของแก๊ส B โดยไม่มีการเปลี่ยนทิศทาง หลอดแก้ว A B ก. P1 /P2 = P3 /2 ค. P1 x P2 = P3 /6 ข. P1 /P3 = P2 /6 ง. P1 x P3 = 3P2 /2 ปล่อยแก๊สทั้งสองเข้าไปในหลอดแก้วพร้อม ๆ กัน ปรากฎว่าได้สาร C ดังสมการ A(g) + B(g) C(s) ข้อสอบเคมี ENTRANCE มีนาคม’48 2 2 3. การเปรียบเทียบสมบัติของแก๊ส He H2 และ CH4 ในข้อใดถูก ก. เมื่อมวลเท่ากัน จะมีปริมาตรเท่ากันที่อุณหภูมิและความดันเดียวกัน ข. ที่อุณหภูมิเดียวกัน เมื่อมวลและปริมาตรเท่ากัน แก๊ส H2 จะมีความดันมากที่สุด ค. ที่อุณหภูมิและความดันเดียวกัน แก๊สทั้ง 3 จะมีอัตราการแพร่เท่ากัน ง. เมื่อนำแก๊สผสมทั้ง 3 มาลดอุณหภูมิ แก๊ส CH4 จะควบแน่นเป็นลำดับสุดท้าย
  • 2. 2 เคมี อ.อุ๊ Ea1 = 20 kJ 4. กำหนดสภาพการละลายได้ของสารเป็นกรัมในน้ำ100 กรัม สาร 20o C 60o C A 36 72 B 73 124 C 30 6 D 300 170 ข้อใดถูก ก. เมื่อนำสารละลายอิ่มตัวของ B และ C ที่ 25o C อย่างละขวดไปไว้ในตู้เย็น จะได้ผลึกของ B ข. ที่อุณหภูมิ 25o C สาร A และ B เป็นของแข็ง ส่วน C และ D เป็นแก๊ส ค. ที่อุณหภูมิ 100o C สาร A 98 กรัม ละลายได้ในน้ำ 100 กรัม ง. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของสาร D > B > A > C 5. จากแผนภาพ ข้อสรุปใดถูก A+B Ea2 = 40 kJ การดำเนินไปของปฏิกิริยา พลังงาน C 90 kJ 1. พลังงานก่อกัมมันต์ที่มีผลต่ออัตราเร็วของปฏิกิริยา คือ Ea1 2. การเติมตัวเร่งปฏิกิริยาลงไป จะทำให้ค่า Ea2 ลดลง 3. การเติมตัวเร่งปฏิกิริยา X ลงไป จะได้ผลิตภัณฑ์สุดท้าย เป็นสารประกอบ CX 4. หลังการเติมตัวเร่งปฏิกิริยา X ลงไป ปฏิกิริยาคายพลังงาน 90 kJ ก. 1 และ 2 ข. 2 และ 3 ค. 1 และ 4 ง. 2 และ 4
  • 3. 3 เคมี อ.อุ๊ 6. แก๊สผสมระหว่าง A B และ C ทำปฏิกิริยากันในภาชนะปิด ได้สาร D เมื่อทำการวิเคราะห์มวลของ A B C เวลา จำนวนโมล (นาที) A B C D 0 5.0 2.0 1.0 0 1 4.0 1.5 1.0 0.5 2 3.0 1.0 1.0 1.0 สมการแสดงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นและปริมาณของ A B C และ D เมื่อเวลาผ่านไป 5 นาทีควรเป็นข้อใด จำนวนโมล A B C D ก. A+B+C D 0.0 0.0 1.0 2.5 ข. 2A+ B D 1.0 0.0 1.0 2.0 ค. 2A+B D 0.0 0.0 1.0 2.5 ง. A+2B D 1.0 0.0 1.0 2.5 7. ปฏิกิริยา A + B 2C ถ้ามีสาร A และ B อย่างละ 1.0 โมล ในภาชนะ 1 dm3 เมื่อถึงภาวะ สมดุลมีสาร C เกิดขึ้น 0.4 mol/dm3 จงหาค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยา และ D มีเวลาต่าง ๆ ได้ผลดังนี้ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น ก.1.3 ข.2.0 ค.4.0 ง.16.0 C 1 /2 A + 1 /2 B 8. จากค่าคงที่สมดุลที่ 25o C (K25 ) และที่ 100o C (K100 ) ของปฏิกิริยาที่กำหนดให้ ข้อใดสอดคล้องกับข้อมูลที่กำหนด ก. ปฏิกิริยาทั้งสามเป็นปฏิกิริยาดูดความร้อน ปฏิกิริยา สมการเคมี K25 K100 1 A C 0.025 500 2 X 2Y 25 100 3 2P 3Q 4,000 0.55 ค. เมื่อเพิ่มจำนวนโมลของ A ในปฏิกิริยา 1 เป็น 1,000 เท่า จะได้ค่า K25 เท่ากับของปฏิกิริยา 2 ง. ที่ความเข้มข้นของสารตั้งต้นของปฏิกิริยาทั้งสามเท่ากัน เมื่อเข้าสู่ภาวะสมดุลที่ 25o C ปฏิกิริยา 3 จะให้ผลิตภัณฑ์มากที่สุด ข. ที่ภาวะสมดุลปฏิกิริยา 2 ที่อุณหภูมิ 100o C จะได้ผลิตภัณฑ์เป็น 4 เท่าของปฏิกิริยาที่ 25o C
  • 4. 4 เคมี อ.อุ๊ 9. กำหนด E0 ของเซลล์กัลวานิกให้ดังนี้ E0 (Volt) Pb(s)/Pb2+ (aq) // Sn4+ (aq),Sn2+ (aq)/Pt(s) +0.28 Co(s)/Co2+ (aq) // Pb2+ (aq)/Pb(s) +0.15 ก. -0.13 ข. +0.13 ค. -0.43 ง. +0.43 10. แก๊สมีเทน 20.8 กรัม ทำปฏิกิริยากับแก๊สคลอรีนที่มากเกินพอ ได้ CH3 Cl CH2 Cl2 และ CHCl3 5.05 , 17.0 และ 59.75 กรัม ตามลำดับ และ CCl4 จำนวนหนึ่ง ปฏิกิริยานี้มี CCl4 เกิดขึ้นกี่กรัม ปฏิกิริยา Sn2+ (aq) + Co2+ (aq) Sn4+ (aq) + Co(s) มีค่า E0 กี่โวลต์ ก. 30.8 ข. 62.6 ค. 77.0 ง. 86.6 เซลล์ เซลล์ เซลล์ 11. ปฏิกิริยา E0 (V) S2 O8 − (aq) + 2e− 2SO4 − (aq) +2.01 O2 (g) + 4H+ (aq) + 4e− 2H2 O(l) +1.23 Ni2+ (aq) + 2e− Ni(s) −0.25 2H2 O(l) + 2e− H2 (g) + 2OH− (aq) −0.38 Zn2+ (aq) + 2e− Zn(s) −0.76 สารละลายผสมที่ประกอบด้วย ZnSO4 และ NiSO4 เข้มข้นอย่างละ 0.5 mol/dm3 เมื่อทำให้เกิดอิเล็คโทรลิซิส ปฏิกิริยารวมที่เกิดขึ้นเป็นข้อใด ก. 2Ni2+ (aq) + 2H2 O(l) 2Ni(s) + O2 (g) + 4H+ (aq) ข. 2Zn2+ (aq) + 2 H2 O(l) 2Zn(s) + O2 (g) + 4H+ (aq) ค. 2H2 O(l) O2 (g) + 2H2 (g) ง. Zn2+ (aq) + 2SO4 − (aq) S2 O8 − (aq) + Zn(s) ก. 1 2 และ 4 ข. 2 3 และ4 ค. 1 3 และ 4 ง. 1 2 และ 3 12. โลหะ A ทำปฏิกิริยากับกรดไฮโดรคลอริก แต่ B และ C ไม่ทำปฏิกิริยากับกรดไฮโดรคลอริก เมื่อนำ โลหะ B จุ่มลงในสารละลายที่มีไอออน C+ ได้โลหะ C เกาะบนโลหะ B ข้อใดถูก 1. ความสามารถในการสูญเสียอิเล็กตรอน A > B > C 2. โลหะ C ช่วยป้องกันการผุกร่อนของโลหะ A ได้ 3. เมื่อต่อครึ่งเซลล์ B/B+ และ C/C+ เข้าด้วยกันโลหะ C จะเป็นขั้วแคโทด 4. เมื่อนำโลหะ A จุ่มลงในสารละลาย B+ จะได้โลหะ B เกาะบนแท่งโลหะ A 2 2 2 2
  • 5. 5 เคมี อ.อุ๊ ข้อใดถูกต้อง ก.1และ2 ข.2และ3 ค.3และ4 ง.1และ3 13. ปฏิกิริยา ธาตุที่ถูกริดิวซ์ ธาตุที่ถูกออกซิไดส์ 1. 2Ca3 (PO4 )2 + 5C + 6SiO2 6CaSiO3 + P4 + 5CO2 2. Mg2 Si + 4HCl 2MgCl2 + SiH4 Si H 3. 6KOH + 3Br2 5KBr + KBrO3 + 3H2 O Br Br 4. 2K2 Cr2 O7 + 2H2 O + 3S 3SO2 + 4KOH + 2Cr2 O3 P C S Cr 14.การแยกสารโดยวิธีโครมาโทกราฟี เมื่อใช้ตัวทำละลาย X สาร A B และ C มีค่า Rf เท่ากับ 0.2 0.3 และ 0.6 ตามลำดับ แต่เมื่อใช้ตัวทำละลายผสมของ X และ Y ในอัตราส่วน 1 : 1 ปรากฏว่าค่า Rf ของสาร A B และ C เท่ากับ 0.4 0.25 และ 0.35 ตามลำดับ ข้อสรุปในข้อใดสอดคล้องกับข้อมูล ก. สาร A ถูกดูดซับได้มากกว่าสาร B และสาร B ถูกดูดซับได้ดีกว่าสาร C ข. สาร A ถูกดูดซับได้ดีในตัวทำละลาย X ส่วน B และ C ถูกดูดซับได้ดีในตัวทำละลาย Y ค. การแยกสาร A B และ C ออกจากกัน ใช้ตัวทำละลาย X ได้ผลดีกว่าใช้ตัวทำละลายผสมของ X และ Y ง. ควรใช้ตัวทำละลาย Y แยกสาร A และ B ออกจากกัน แต่ไม่ควรใช้แยกสาร B และ C ออกจากกัน ก.1:2 ข.2:1 ค.1:4 ง.4:1 เกิดความร้อนมหาศาล ทำให้แก๊สที่เกิดขึ้นขยายตัวอย่างฉับพลัน จึงเกิดการระเบิดอย่างรุนแรง ถ้าเริ่มต้นด้วย ไนโตรกลีเซอรีน 45.4 กรัม และปฏิกิริยานี้เกิดสมบูรณ์จะเกิดแก๊ส N2 CO2 และO2 รวมกันกี่ลูกบาศก์เดซิเมตร ที่ STP ก. 21.3 ข. 22.4 ค. 25.5 ง. 30.6 15. เทสารละลาย H2 SO4 ความเข้มข้น 0.5 mol/dm3 ปริมาตร 100 cm3 ลงในสารละลายที่มี BaCl2 อยู่ คนให้เข้ากัน จนเกิดปฏิกิริยาเคมีอย่างสมบูรณ์ ได้ตะกอน BaSO4 หนัก 2.33 กรัม สารละลายหลังจากกรอง ตะกอนออกแล้ว มีอัตราส่วนโดยโมล ของ SO4 − : Cl− เท่าไร H2 SO4 + BaCl2 BaSO4 + HCl (สมการยังไม่ได้ดุล) 2 16.ไนโตรกลีเซอรีนสลายตัวดังสมการ C3 H5 N3 O9 N2 + CO2 + O2 + H2 O(สมการยังไม่ดุล)
  • 6. 6 เคมี อ.อุ๊ 2 18.การไทเทรตสารละลายเบสอ่อน (BOH) ปริมาตร 20cm3 กับสารละลาย HCl เข้มข้น0.1mol/dm3 ที่จุดสมมูลต้องใช้ปริมาตรสารละลาย HCl 20cm3 อินดิเคเตอร์ใดเหมาะสมที่จะใช้ในการไทเทรตมากที่สุด กำหนด Ka ของ B+ เท่ากับ 2x10−9 อินดิเคเตอร์ ช่วง pH ของการเปลี่ยนสี ก. A 3.3 - 4.6 ข. B 3.8 - 5.4 ค. C 5.2 - 6.8 ง. D 6.0 - 7.6 19. สารละลายที่มี HNO3 4 x 10−2 mol ใน 400 cm3 ผสมกับสารละลาย KOH pH เท่ากับ 12 ปริมาตร 600 cm3 ถ้าต้องการทำให้สารละลายผสมมี pH เท่ากับ 7 จะต้องเติมสารละลายในข้อใด ก. Ca(OH)2 0.20 mol/dm3 ลงไปอีก 85 cm3 ข. NaOH 0.20 mol/dm3 ลงไปอีก 150 cm3 ค. HCl 0.20 mol/dm3 ลงไปอีก 150 cm3 ง. H2 SO4 0.20 mol/dm3 ลงไปอีก 85 cm3 20. จากข้อมูลที่กำหนดให้ กรด Ka HCN 5x10−10 CH3 COOH 2x10−5 HNO2 5x10−4 ข้อใดถูก ก. ที่ความเข้มข้นเท่ากัน สารละลาย HNO2 จะมี pH มากที่สุด ข. ที่ความเข้มข้นเท่ากัน สารละลาย NaCN จะมี pH มากกว่าสารละลาย CH3 COONa ค. สารละลาย HNO2 0.05 mol/dm3 ปริมาตร 10 cm3 มี pH 6.5 ง. ร้อยละการแตกตัวของ HNO2 ความเข้มข้น 0.01 mol/dm3 น้อยกว่า CH3 COOH ความเข้มข้น 0.1 mol/dm3 โดยปฏิกิริยานี้มีร้อยละผลผลิตเท่ากับ 80 ถ้าใช้เมทานอล 30กรัม ทำปฏิกิริยากับกรดซาลิซิลิก140กรัมจะได้ น้ำมันระกำหนักกี่กรัม ก. 114.0 ข. 123.4 ค. 142.5 ง. 154.2 17.น้ำมันระกำ (เมทิลซาลิซิเลต) เตรียมได้จากปฏิกิริยาระหว่างเมทานอลกับกรดซาลิซิลิกโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา ดังสมการ CH3 OH + C7 H6 O3 C8 H8 O3 + H2 O
  • 7. 7 เคมี อ.อุ๊ 21.สารประกอบคลอไรด์ของธาตุ A มีสูตร ACl3 เป็นของเหลวที่ไม่ละลายน้ำสมบัติของธาตุ A ข้อใดผิด ก. สารประกอบออกไซด์ของธาตุ A มีสูตร A2 O5 ข. สารประกอบออกไซด์ของธาตุ A ละลายน้ำได้สารละลายที่เป็นเบส ค. พันธะระหว่างอะตอมของสารประกอบคลอไรด์ของธาตุ A เป็นพันธะโคเวเลนต์ ง. ผลต่างระหว่าง IE5 และ IE6 ของธาตุ A มีค่ามากกว่าผลต่างระหว่าง IE อื่นสองระดับที่อยู่ติดกัน 22. A . (C2 H5 )2 NH + H2 O (C2 H5 )2 NH2 + OH− Kb = 6.9 x 10−4 B . C2 H5 NH2 + H2 O C2 H5 NH3 + OH− Kb = 4.5 x 10−4 C . (CH3 )2 NH + H2 O (CH3 )2 NH2 + OH− Kb = 5.4 x 1.0−4 ถ้าสารละลายทั้งสามมีความเข้มข้นเริ่มต้นเท่ากัน และเมื่อถึงภาวะสมดุลที่อุณหภูมิเดียวกัน ข้อใดถูก ก. [(C2 H5 )2 NH] < [(CH3 )2 NH] pH B > pH C ข. [C2 H5 NH2 ] > [(C2 H5 )2 NH] [H3 O+ ] B > [H3 O+ ] C ค. [(CH3 )2 NH] < [(C2 H5 )2 NH] [ OH− ] A > [ OH− ] B ง. [(C2 H5 )2 NH] > [C2 H5 NH2 ] pH B < pH A 23. ข้อใดที่อธิบายเกี่ยวกับธาตุ 9 A 19 D 34 E และ 35 G ไม่ถูก ก. 9 A และ 35 G มีสมบัติทางเคมีคล้ายกัน ค. 35 G มีระดับพลังงานชั้นนอกสุดคือ ชั้น N ข. 19 D มีรัศมีไอออนน้อยกว่า 34 E ง. 34 E มีค่าอิเล็กโตรเนกาติวิตีมากกว่า 9 A + + + 24.ธาตุสมมุติ A B และ C โดย A2− และ B+ ต่างมีจำนวนอิเล็กตรอนเท่ากับของแก๊สเฉื่อยในคาบที่3 และC มีเลขอะตอมเท่ากับ 37 1. B+ มีขนาดใหญ่กว่า A และ C 2. B มีพลังงานไอออไนเซชันลำดับที่หนึ่งน้อยกว่า A แต่มากกว่า C 3. A มีสมบัติเป็นโลหะมากกกว่า B และ C 4. B และ C เกิดสารประกอบกับ A ได้สูตร BA2 และ CA2 ตามลำดับ ข้อใดถูก ก. 2 เท่านั้น ข.3เท่านั้น ค.1 และ2 ง. 3 และ4 การเปรียบเทียบ 1 การเปรียบเทียบ 2
  • 8. 8 เคมี อ.อุ๊ 25.ธาตุกัมมันตรังสี A สลายตัวได้ดังสมการ ถ้าเริ่มต้นด้วย Aหนัก 80 กรัม เมื่อเวลาผ่านไป 21 วันปรากฎว่ามี A เหลือ 10กรัม จงหาครึ่งชีวิตของA (วัน)และจำนวนอนุภาคแอลฟาที่เกิดขึ้น กำหนด มวลอะตอมของ A เท่ากับ 200 และเลขอาโวกาโดร เท่ากับ 6.0 x 1023 ก. 7 และ 2.1 x 1023 ข. 10 และ 4.2 x 1023 ค. 14 และ 6.3 x 1023 ง. 21 และ 8.4 x 1023 26.กำหนดค่าพลังงานไอออไนเซชัน (eV) (IE1 IE2 IE3 ....) ของธาตุ A X Y Z และ M ธาตุ IE1 IE2 IE3 IE4 IE5 IE6 IE7 IE8 IE9 A 5 76 122 X 11 24 48 65 392 490 Y 14 35 54 77 113 138 740 870 Z 17 36 63 87 114 157 185 954 1100 M 13 24 40 54 69 99 115 353 406 ข้อใดถูก ก.ขนาดของอะตอม X > Y > Z ข.สูตรเคมีของสารประกอบที่เกิดจาก A กับ X คือ AX3 ค. A และ X เป็นธาตุโลหะส่วน Y และ Z เป็นธาตุอโลหะ ง.ธาตุ 2 ธาตุใดๆ ในตารางรวมกันได้สารประกอบโคเวเลนท์ 27.นำกรดอินทรีย์ A มาทำปฏิกิริยาพอดีกับเอทานอล 9.2 กรัม ได้ผลิตภัณฑ์เป็นเอสเทอร์B26 กรัมและน้ำ จงหาจำนวนไอโซเมอร์ที่เป็นไปได้ของกรดอินทรีย์ A ก. 2 ข. 3 ค. 4 ง. 5 28. พิจารณาสมบัติของธาตุสมมติต่อไปนี้ ธาตุ สมบัติของธาตุ A อยู่หมู่เดียวกับ Se และคาบเดียวกับธาตุที่มีค่า IE1 สูงที่สุด C อยู่ในคาบที่ 3 และหมู่เดียวกับ As B อยู่ในคาบที่ 3 และหมู่เดียวกับธาตุ A D อยู่ในคาบที่ 3 และหมู่เดียวกับธาตุที่มีค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตีสูงที่สุด 75 33 79 34 y y−4 4 x x−2 2 A B + He
  • 9. 9 เคมี อ.อุ๊ ข้อใดถูก จำนวนอิเล็กตรอนคู่ สภาพขั้ว โดดเดี่ยวของอะตอมกลาง ของโมเลกุล สามเหลี่ยม แบนราบ ข. CAD3 ทรงสี่หน้า ไม่มี ไม่มี ค. BD2 มุมงอ 1คู่ มี พีระมิดคู่ฐาน สามเหลี่ยม สารประกอบ รูปร่างโมเลกุล BA3 ไม่มี ไม่มี CD5 ไม่มี มี ก. ง. 29. การทำให้เอทานอลและเอทิลแอซีเตต เดือดกลายเป็นไอ พลังงานที่ใช้เพื่อเอาชนะแรงระหว่างโมเลกุล เป็นไปตามข้อใด 1. แรงดึงดูดระหว่างขั้ว 2. พันธะไฮโดรเจน 3. แรงลอนดอน 4. แรงระหว่างประจุไฟฟ้า เอทานอล เอทิลแอซีเตต ก. 1 2 1 3 ข. 1 2 1 2 3 4 ค. 1 2 3 1 2 3 4 ง. 1 2 3 1 3 30. ข้อใดถูก 1) การเกิดพันธะเคมีเป็นกระบวนการคายพลังงาน 2) โมเลกุลเกิดขึ้นเมื่ออะตอมอยู่ใกล้กันที่สุด 3) ในการเกิดพันธะเคมีจะมีการถ่ายโอนอิเล็กตรอนจากอะตอมหนึ่งไปยังอีกอะตอมหนึ่งเสมอ 4) เมื่อสลายโมเลกุลเป็นอะตอมเดี่ยว พลังงานของอะตอมทั้งหมดที่เป็นองค์ประกอบรวมกันจะสูงกว่า พลังงานของโมเลกุลเดิม ก. 1 และ 3 ข. 1 และ 4 ค. 2 และ 3 ง. 2 และ 4
  • 10. 10 เคมี อ.อุ๊ 31. ไฮโดรคาร์บอน Y มีสูตรโมเลกุล C6 H14 เมื่อทำปฏิกิริยากับแก๊สคลอรีนในที่มีแสงให้ผลิตภัณฑ์ C6 H13 Cl ข้อใดเป็นโครงสร้างของ Y ที่ทำให้ได้ผลิตภัณฑ์ซึ่งเป็นไอโซเมอร์กันจำนวนมากที่สุด ก. ข. ค. ง. 32.ในการแยกโลหะสังกะสีจากสารละลาย ZnSO4 โดยใช้กระแสไฟฟ้า ข้อใดผิด ก.ปฏิกิริยาที่ขั้วแคโทดคือ Zn2+ (aq)+2e−−−−− Zn(s) ข. ที่ขั้วแอโนดจะมีแก๊สออกซิเจนเกิดขึ้น ค. เป็นเซลล์อิเล็กโทรไลต์ ง. pH ของสารละลายเพิ่มขึ้นเมื่อเวลาผ่านไป 33.ฟีนอล์ฟทาลีน เป็นอินดิเคเตอร์ที่ใช้กันแพร่หลาย มีสูตรโครงสร้างดังนี้ O O OH OH นำสารละลายฟีนอลฟ์ทาลีนไปต้มกับสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ ที่มากเกินพอผลิตภัณฑ์ที่ได้ มีโครงสร้างแบบใด ก. ข. O ONa OH OH O H OH OH OH
  • 11. 11 เคมี อ.อุ๊ ค. ง. O ONa ONa ONa OH O ONa ONa OH 34.พิวเทรสซิน เป็นสารที่พบในปลาซึ่งทำให้ปลามีกลิ่นคาว มีสูตรโครงสร้างแบบย่อ คือ NH2 (CH2 )4 NH2 ในการรับประทานปลาดิบนิยมบีบน้ำมะนาว ซึ่งมีกรดซิตริก เพื่อลดคาวปลา สารที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยา ระหว่าง พิวเทรสซิน และกรดซิตริก มีโครงสร้างตามข้อใด OH HOOC CH2 C CH2 COOH COOH กรดซิตริก ก. HOOC CH2 C CH2 COOH OH COO−−−−− H3 N+ CH2 CH2 CH2 CH2 NH2 ข. HOOC CH2 C CH2 COOH NHCH2 CH2 CH2 CH2 NH2 COOH ค. HOOC CH2 C CH2 COOH O− H3 N+ CH2 CH2 CH2 CH2 NH2 COOH OH ง. HOOC CH2 C CH2 CONHCH2 CH2 CH2 CH2 NH2 COOH
  • 12. 12 เคมี อ.อุ๊ 35.พิจารณาข้อมูลต่อไปนี้ ข้อใดเป็นสารประกอบ 1 2 และ 3 ตามลำดับ ก. CH2 ===== CHCOOH CH3 CH2 CH2 OH CH2 ===== CH −−−−− CH ===== CH2 ข. CH3 CH2 COOH CH2 ===== CHCH2 OH CH3 CH2 CH2 CH3 ง. CH2 ===== CHCH2 OH CH3 CH2 CH2 COOH CH =====CH2 ค. CH3 CH2 CH2 OH CH3 CH2 COOH CH2 CH3 การละลายน้ำ สารที่ใช้ทดสอบและผลของปฏิกิริยา และนำไฟฟ้า โลหะโซเดียม NaHCO3 Br2 ในที่สว่าง Br2 ในที่มืด สาร 2 1 3 เกิดฟองแก๊ส ฟอกสี ฟอกสี เกิดฟองแก๊ส ไม่ฟอกสี ไม่ฟอกสี ฟอกสี ฟอกสี ละลายได้ เกิดฟอง นำไฟฟ้า แก๊ส ละลายได้ ไม่เกิดฟอง ไม่นำไฟฟ้า แก๊ส ไม่ละลาย ไม่เกิดฟอง ไม่เกิดฟอง ไม่นำไฟฟ้า แก๊ส แก๊ส 36. กรดไขมัน สูตรโครงสร้าง ปาล์มิติก CH3 (CH2 )14 COOH ปาล์มิโตเลอิก CH3 (CH2 )5 CH = CH(CH2 )7 COOH สเตียริก CH3 (CH2 )16 COOH โอเลอิก CH3 (CH2 )7 CH = CH(CH2 )7 COOH ไขมันชนิดหนึ่งทำปฏิกิริยาสะปอนนิฟิเคชัน กับโซเดียมไฮดรอกไซด์ จำนวน 12.0 กรัม ได้ผลิตภัณฑ์ เป็นเกลือโซเดียมของกรดไขมัน 82.8 กรัม และกลีเซอรอล กรดไขมันของไขมันชนิดนี้ ควรเป็นกรดใด ก. ปาล์มิติก ข. ปาล์มิโตเลอิก ค. สเตียริก ง. โอเลอิก
  • 13. 13 เคมี อ.อุ๊ 38.สตัลลิมัยซิน เป็นสารแอนติไบโอติกและต้านไวรัส ได้จากเชื้อสเตร็บโตมัยซินมีโครงสร้างดังรูป HCONH N N N N N N C NH NH2 H O H OCH3 O H CH3 CH3 ค. 3 ง. 3 ก. 3 ข. 3 ข้อใดเป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสของสตัลลิมัยซิน NH N CONH2 + HCONH2 + CH3 CH2 C NH2 CH3 N COOH + HCOOH + NH2 CH2 CH2 C NH2 CH3 NH2 NH N CH3 HCONH + HCONHCH2 CH2 C NH2 NH CH3 N HCONH + HOOCCH2 CH2 C NH2 NH NH2 37. ปฏิกิริยาใดต่อไปนี้เป็นปฏิกิริยารีฟอร์มมิ่งสำหรับใช้ในการปรับปรุงคุณภาพของน้ำมัน ความร้อน ก. ตัวเร่งปฏิกิริยา + CH3 (CH2 )3 CH = CH2 ง. H2 /Pt ตัวเร่งปฏิกิริยา ค. CH3 (CH2 )4 CH3 CH3 CH3 + CH2 = CH2 + CH3 CH = CH2 H2 SO4 ข. CH3 CH = CH2 + CH3 CH(CH3 )2 CH3 CHCH2 CHCH3 CH3 CH3
  • 14. 14 เคมี อ.อุ๊ D n Cl ข้อใดถูก พอลิเมอร์ ชนิด ปฏิกิริยาการเกิด ก. A โฮโมพอลิเมอร์ การควบแน่น ข. B โคพอลิเมอร์ การเติม ค. C โคพอลิเมอร์ การเติม ง. D โฮโมพอลิเมอร์ การควบแน่น 39. A n C n B n O O O O 40. ข้อใดผิด ก. แก๊สมีเทนเป็นสารตั้งต้นชนิดหนึ่งที่ใช้ในการเตรียมปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟตและปุ๋ยยูเรีย ข. ขั้นตอนหนึ่งในการถลุงแร่คือการใช้ตัวรีดิวซ์ เช่น คาร์บอนในถ่านหินเปลี่ยนโลหะในสินแร่ให้เป็น โลหะอิสระก่อนทำให้บริสุทธิ์ต่อไป ค. การผลิตเซอร์โคเนียมใช้สารละลายผสมของกรดไฮโดรฟลูออริกและกรดซัลฟิวริกสกัดเซอร์โคเนียม ออกจากสินแร่เซอร์คอนก่อน ง. เรเดียมบริสุทธิ์ได้จากการแยกสลายสารประกอบเรเดียมแฮไลด์ด้วยไฟฟ้าโดยใช้ปรอทเป็นขั้วไฟฟ้า
  • 15. 15 เคมี อ.อุ๊ ตอนที่ 2 ข้อ 1 - 5 เป็นข้อสอบอัตนัย ข้อละ4 คะแนน 1. ยาลดกรดชนิดหนึ่งบดละเอียด หนัก 1.00 กรัม ค่อย ๆ เติม HCl เข้มข้น 1.0 mol/dm3 ลงไปจนครบ 15.0 cm3 เขย่าจนไม่เกิดฟองแก๊สอีก อุ่นให้ร้อนแล้วกรองส่วนที่ไม่ละลายออก ถ่ายของเหลวลงในขวดวัดปริมาตร ขนาด 100 cm3 พร้อมน้ำล้างตะกอนเติมน้ำกลั่นจนถึงขีดบอกปริมาตร 100 cm3 เขย่าเป็นเนื้อเดียวกัน ปิเปตต์สารละลายที่ได้ 10.0 cm3 ไทเทรตกับ NaOH เข้มข้น 0.10 mol/dm3 ที่จุดยุติใช้ 12.50 cm3 จงคำนวณปริมาณ CaCO3 ในยาลดกรดตัวอย่างเป็นร้อยละโดยมวล 2. ธาตุ A มี 2 ไอโซโทปซึ่งมีมวล 14.0 และ 12.9 ธาตุ B มีมวลเฉลี่ยเท่ากับ 36.0 สารประกอบ AB4 มีมวลโมเลกุล 157 จงหาร้อยละของไอโซโทปที่มีมวล เท่ากับ 14.0 (ตอบทศนิยม 2 ตำแหน่ง) 3. การเผาไหม้ CH4 และ C2 H2 อย่างละ 1 โมล คายพลังงานความร้อน 213 kcalและ 310 kcal ตามลำดับ ในการเตรียม C2 H2 ปริมาตร 4.48dm3 ที่ STP จาก CH4 จะมีพลังงานเกี่ยวข้องกี่ kcal CH4 + O2 CO2 + H2 O (สมการยังไม่ดุล) C2 H2 + O2 CO2 + H2 O (สมการยังไม่ดุล)
  • 16. 16 เคมี อ.อุ๊ 4. แก๊สผสม SO2 และNO2 ในภาชนะขนาด 1dm3 เกิดปฏิกิริยาดังสมการ SO2 + NO2 SO3 + NO เมื่อเข้าสู่ภาวะสมดุลพบว่ามี SO3 NO NO2 และ SO2 อย่างละ 0.60, 0.40, 0.10 และ 0.80 mol ตามลำดับ ถ้าต้องการเพิ่มปริมาณ NO2 ให้เป็น 0.30 mol จะต้องปล่อยแก๊ส NO เข้าสู่ภาชนะกี่โมลที่อุณหภูมิและ ความดันคงที่ 5. ภาชนะใบที่ 1 จุ 45.0 cm3 บรรจุแก๊สผสมระหว่าง CO และ CO2 ภาชนะใบที่ 2 ขนาดเดียวกับใบแรก บรรจุแก๊ส O2 เมื่อเปิดวาล์วให้แก๊สทั้งสองภาชนะผสมกัน จะเกิดปฏิกิริยาอย่างรวดเร็ว พบว่าที่อุณหภูมิ และความดันคงที่ค่าหนึ่ง แก๊สผสมนี้มีปริมาตร 70 cm3 ปริมาตรเริ่มต้นของแก๊ส CO เป็นกี่ลูกบาศก์ - เซนติเมตร กำหนดปฏิกิริยาที่เกี่ยวข้อง 2CO + O2 2CO2