SlideShare a Scribd company logo
1 of 51
กรดเบส
สารละลาย   คือ  ของผสมเนื้อเดียวที่ประกอบ  ตัวละลายละลายในตัวทำละลาย โดยทั่วไปตัวทำละลายเป็นสารที่มีสถานะเหมือนกับสถานะของสารละลาย  สารละลายอาจอยู่ในสถานะแก๊ส  ของเหลว  หรือของแข็งก็ได้
4.1 สารละลาย  (solution)   คือของผสมเนื้อเดียวของสารอย่างน้อย  2  ชนิด ประกอบด้วย ตัวละลาย   (solute)   =  สารที่มีปริมาณน้อยกว่า ตัวทำละลาย  (solvent)  =  สารที่มีปริมาณมากกว่า น้ำอัดลม   ( l ) อากาศ  ( g ) นาค   ( s ) H 2 O N 2 Au น้ำตาล , CO 2 O 2 , Ar, CH 4 Cu สารละลาย ตัวทำละลาย ตัวละลาย
1. สารอิเล็กโทรไลต์ (Electrolyte) หมายถึง สารที่หลอมเหลวหรือละลายน้ำแล้วแตกตัวให้ไอออนได้จึงนำไฟฟ้าได้
สารละลายอิเล็กโทรไลต์   คือสารละลายที่ตัวละลายแตกตัวให้ไอออนได้จึงนำไฟฟ้าได้ ซึ่งประกอบไอออนบวกและไอออนลบเคลื่อนที่ในตัวทำละลาย เช่น สารที่มีสมบัติเป็นกรด เบสทุกชนิด
สารละลายนอนอิเล็กโทรไลต์   คือสารละลายที่ไม่นำไฟฟ้า เพราะ ตัวถูกละลายไม่แตกตัวเป็นไอออนในตัวทำละลาย เช่น น้ำเชื่อม แอลกอฮอล์
อิเลกโทรไล ต์   (electrolyte)   เป็นสารซึ่งเมื่อละลายน้ำแล้ว จะได้สารละลายที่สามารถนำไฟฟ้าได้ 4.1 นอนอิเลกโทรไล ต์ (nonelectrolyte)   เป็นสารซึ่งเมื่อละลายน้ำแล้วสารละลาย ที่ได้ จะไม่นำไฟฟ้า nonelectrolyte weak electrolyte strong electrolyte
สารละลายอิเล็กโทรไลต์ จำแนกได้  2  กลุ่มคือ 1.  อิเล็กโทรไลต์แก่  คือสารที่ละลายน้ำแล้วแตกตัวได้หมด  100%  ไม่มีภาวะสมดุล ใช้  แทนการแตกตัว  สารละลายจะประกอบด้วยไอออนบวกและไอออนลบ อาจมีสมบัติเป็นกรด เบส หรือ กลางก็ได้ เช่น HBr(aq)  H + (aq) + Br - (aq) H 2 O
สารละลายอิเล็กโทรไลต์ 2.  อิเล็กโทรไลต์อ่อน  คือสารที่ละลายน้ำแล้วแตกตัว  ให้ไอออนบางส่วน   ในสารละลายประกอบด้วยโมเลกุล ไอออนบวก ไอออนลบ จึงเกอดภาวะสมดุลได้ ใช้ แทนการแตกตัว สารละลายอาจมีสมบัติเป็นกรด หรือเบส หรือกลางก็ได้ เช่น HF(aq)  H + (aq) + F - (aq) H 2 O
ตัวอย่างสารละลายอิเล็กโทรไลต์ 1)  อิเล็กโทรไลต์แก่ กรด HCl  HBrO 3   HIO 3   HClO 4  HNO 3  H 2 SO 4 เกลือ เกลือส่วนมาก เบส LiOH NaOH Ba(OH) 2  Ca(OH) 2  Sr(OH) 2
2)  อิเล็กโตรไลต์อ่อน กรด HClO  H 2 S  HF  H 3 PO 4   H 2 CO 3   HNO 2  H 2 SO 3 เบส NH 3   และเบสอินทรีย์ เกลือ เกลือเฮไลด์ ไซยาไนด์ และไทโอไซยาเนต ของ  Zn Cd  และ  Hg(II)
สารละลายกรดและสารละลายเบส สารละลายกรดและสารละลายเบส สามารถนำไฟฟ้าได้  เพราะมีไอออนเคลื่อนที่ในสารละลายและไอออนเหล่านี้จะแสดงสมบัติต่าง ๆ
สารละลายกรดทุกชนิดเมื่อละลายน้ำจะแตกตัวให้ไฮโดรเจนไอออน  ( H +  )  เหมือนกันแต่เกิดไอออนลบต่างชนิดกัน ไอออนในสารละลายกรด
ไอออนในสารละลายเบส  สารละลายเบสทุกชนิดละลายน้ำแตกตัวให้ไฮดรอกไซด์ไอออน  (OH -  )  เหมือนกันแต่เกิดไอออนบวกต่างชนิดกัน
สารละลายกรด - เบส ในชีวิตประจำวัน   ( Acid Base in Everyday Life ) ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ตัวอย่างแหล่งของกรด เบส   กรด   เบส กรดซิตริกในผลไม้ ผงฟู หรือ เบคกิงโซดา แอสไพริน   (Aspirin)   ผงซักฟอก   (Detergents) โคคา โคลา  ( Coca Cola)   น้ำยาแอมโมเนียทำความสะอาด (Ammonia cleaners) น้ำส้มสายชู   (Vinegar) สบู่   (soap) วิตามินซี  ( Vitamin C)
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
สมบัติทั่วไปของสารละลายกรด - เบส กรด เบส 1. เปลี่ยนกระดาษลิตมัสจากน้ำเงินเป็นแดง  2. นำไฟฟ้าได้   3. ทำปฏิกิริยากับโลหะบางชนิดได้ก๊าซ  H 2 4. ทำปฏิกิริยากับเบสได้  เกลือ  +  น้ำ  1.  เปลี่ยนกระดาษลิตมัสจากแดงเป็นน้ำเงิน  2. นำไฟฟ้าได้ 3. ไม่ทำปฏิกิริยากับโลหะที่อุณหภูมิปกติ 4.  ทำปฏิกิริยากับกรดได้  เกลือ  +  น้ำ
ทฤษฎี กรด - เบส ,[object Object],ทฤษฎีกรด-เบสของอาร์เรเนียส ทฤษฎีกรด-เบสของเบรินสเตด - ลาวรี
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
กรดตามนิยามของ  Arrhenius  เป็นสารซึ่ง ให้  H +  (H 3 O + )   เมื่อละลายน้ำ เบสตามนิยามของ  Arrhenius  เป็นสารซึ่ง ให้  OH -  เมื่อละลายน้ำ 4.3 กรด เบส hydronium ion
ตัวอย่างกรดตามนิยามของอาร์เรเนียส กรด  คือ สารที่ ละลายน้ำ  แล้ว แตกตัวให้  H +  เช่น HCl H +   +  Cl - H 2 SO 4 H +   +  HSO 4 - HCO 3 - H +  +   CO 3 2-
เบส  คือ สารที่  ละลายน้ำ  แล้วแตกตัวให้  OH -   เช่น NaOH   Na +   +  OH - Ba(OH) 2   Ba 2+  +  2OH - Ca(OH) 2   Ca 2+  +  2OH - ตัวอย่างเบสตามนิยามของอาร์เรเนียส
กรดแก่   คือ กรดที่แตกตัวให้  H +   มาก   กรดอ่อน   คือ กรดที่แตกตัวให้  H +   น้อย เบสแก่  คือ เบสที่แตกตัวให้  OH -   มาก   เบสอ่อน   คือ เบสที่แตกตัวให้  OH -   น้อย ความแรงของกรดและเบส
ข้อจำกัดของนิยามอาร์เรเนียส ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
นิยามของบรอนสเตด - เลารี กรด  คือ สารที่  ให้   H + เบส  คือ สารที่  รับ   H +
ทฤษฎีกรด - เบสของเบรินสเตด  -  ลาวรี  กรด  เบส เบส   คือ  สารที่รับโปรตอนให้สารอื่นได้ กรด   คือ  สารที่จ่ายโปรตอนให้สารอื่นได้ ทฤษฎีกรด - เบส
กรดตามนิยามของ  Br ø nsted  คือ สารซึ่ง ให้ โปรตอน เบสตามนิยามของ  Br ø nsted  คือ สารซึ่ง รับ โปรตอน กรด เบส กรด เบส 4.3 ดังนั้น กรด   Br ø nsted  จะต้องมีโปรตอนอย่างน้อย หนึ่งตัวที่สามารถแตกตัวเป็นไอออนได้
ปฏิกิริยาระหว่างกรดและเบส เป็น การเคลื่อนย้าย โปรตอนจากกรดไปยังเบส
HCl(aq) + H 2 O(l)   H 3 O + (aq)  + Cl - (aq) กรด 1   เบส 2   กรด 2 เบส 1 HCl  และ   Cl -   เป็น คู่กรด - เบส คู่ที่  1( conjugate acid-base) H 3 O +   และ   H 2 O  เป็น คู่กรด - เบส คู่ที่  2 ( conjugate acid-base) โดย Cl -   เป็นคู่เบส  (conjugate base)  ของกรด  HCl HCl  เป็นคู่กรด  (conjugate acid)  ของ  Cl - และ
CO 3 2-   +  H 2 O OH -   +  HCO 3 - เบส 1 กรด 2 NH 3   +  H 2 O NH 4 +   +  OH - เบส 1 กรด 2 กรด 2 เบส 2 เบส 2 กรด 2
พิจารณาสมการต่อไปนี้ สารใดเป็นกรดและสารใดเป็นเบส 1. NH 3   + HS -   NH 4 +  + S 2- 2. HS -  + HCO 3 -   S 2-  + H 2 CO 3 3. HCO 3 -  + NH 3   CO 3 2-  + NH 4 + 4. NH 4 +  + HS -   NH 3  + H 2 S 5. HPO 4 2-  + H 2 O  H 3 O +  + PO 4 3- 6. H 2 Se + H 2 O  H 3 O +  + HSe - 7. CH 3 COOH + HCO 3 -   CH 3 COO -  + H 2 CO 3
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
H 2 O   เป็นได้ทั้งกรดและเบส  สารที่เป็นฝ่ายให้และรับ  H +   เรียกว่า  แอมฟิโปรติก  (amphiprotic)
Amphoteric Compo u nds คือสารที่สามารถแสดงสมบัติได้ทั้งกรดและเบส เช่น 4.3 HCO 3 -  (aq)  H +  (aq) + CO 3 2-  (aq) HCO 3 -  (aq) + H +  (aq)  H 2 CO 3   (aq)
ขึ้นอยู่กับความสามารถในการให้และรับ  H + ความแรงของกรดและเบส กรดแก่  คือ กรดที่ให้  H +   มาก กรดอ่อน   คือ กรดที่ให้  H +   น้อย เบสแก่   คือ เบสที่รับ  H +   มาก เบสอ่อน   คือ เบสที่รับ  H +   น้อย
ข้อสังเกต 1.  สำหรับคู่กรด - เบสคู่หนึ่ง ถ้ากรดเป็นกรดแก่ คู่เบสจะเป็นเบสอ่อน เช่น  HCl  เป็น  กรดแก่   Cl -   เป็น  เบสอ่อน NH 3   เป็น  เบสอ่อน NH 4 +   เป็น  กรดแก่ 2.  กรดหรือเบสอาจเป็นโมเลกุลหรือไอออนก็ได้ 3.  โมเลกุลของน้ำอาจเป็นฝ่ายให้หรือรับ  H +   ก็ได้ นั่นคือ  น้ำเป็นแอมฟิโปรติกหรือแอมโฟเทอริก
  คู่กรด - เบส (Acid-Base pair) ,[object Object]
คู่กรด - เบส คู่กรด  -  เบส HCN(aq)+H 2 O(l) = CN - (aq)+H 3 O + aq)   กรด  1   เบส 2  คู่กรด  -  เบส  เบส 1  กรด 2   สารที่เป็นคู่กรด  -  เบส  คือ  HCN - CN -  และ   H 2 O-H 3 O +
1. ปฏิกิริยากรด  -  เบสที่ผันกลับได้  จะมีคู่กรด  -  เบส  อย่างน้อย  2  คู่ ข้อสรุปเรื่องคู่กรด - เบส
2.  สารที่เป็นคู่กรด  -  เบสซึ่งกันและกันจะมีโปรตอนต่างกัน  1  ตัว  โดยที่สารที่มีจำนวนโปรตอนมากกว่าเป็นคู่กรด  และสารที่มีโปรตอนน้อยกว่าเป็นคู่เบส
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ตัวอย่างคู่กรด - เบส คู่กรด คู่เบส คู่กรด คู่เบส ? ClO 4 - HI ? ? Cl - H 2 SO 4 ? ? NO 3 - H 3 O + ? ? HSO 3 - H 3 PO 4 ? ? F - HNO 2 ? ? C 2 H 3 O 2 -
ตัวอย่างคู่กรด - เบส คู่กรด คู่เบส คู่กรด คู่เบส HClO 4   ( กรดแก่ที่สุด )   ClO 4 - HI I - HCl Cl - H 2 SO 4 HSO 4 - HNO 3 NO 3 - H 3 O + H 2 O H 2 SO 3 HSO 3 - H 3 PO 4 H 2 PO 4 - HF F - HNO 2 NO 2 - HC 2 H 3 O 2 C 2 H 3 O 2 -
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ทฤษฎีกรด - เบสของลิวอิส ,[object Object],[object Object],เบส  กรด ทฤษฎีกรด - เบส
นิยามของลิวอิส กรด   คือ สารที่ รับคู่  e -   จากเบสได้ แล้วเกิดพันธะโคเวเลนต์ เบส   คือ  สารที่ ให้คู่  e -   ในการเกิดพันธะโคเวเลนต์ H +   +  : O-H  - H - O-H .. .. .. .. H H-N :  + B-F H-N  B-F  H H H F F F F เบส กรด
ส . ป . ก .  ที่ ธาตุมี  V. e -  < 8  หรือมีออร์บิตอลว่าง  เช่น  BF 3  AlCl 3   จัดเป็น  กรดลิวอิส  และเรียกธาตุนั้น ว่า  อิเล็กโตรไฟล์  (Electrophile) ส . ป . ก . หรือไอออน ที่มีคู่  e -   โดดเดี่ยว  จัดเป็น  เบสลิวอิส  และเรียกอะตอมนั้นว่า  donor atom  หรือ นิวคลีโอไฟล์  (Nucleophile)  เช่น  O   ใน  O H -   N   ใน  N H 3
ในปฏิกิริยาสะเทินระหว่างโลหะออกไซด์ เช่น :O : 2-  + S-O: :O  S-O: .. .. .. .. O: :O: .. .. O: :O: .. .. 2-
ตัวอย่างที่  3  สารต่อไปนี้สารใดเป็นกรดตามนิยามของลิวอิส NH 4 +  CH 3 +   BCl 3   Fe 2+   H 2 S ตอบ CH 3 + BCl 3 Fe 2+
1. จงระบุว่าสารใดเป็นกรดเป็นเบส 1.1  PO 4 3-  + H 2 O  HPO 4 2-  + OH - 1.2  H 2 SO 3  + H 2 O  HSO 3 -  + H 3 O + 2. จงหาคู่กรดของสารต่อไปนี้ 2.1 SO 3 2- 2.2 H 2 PO 4 - 3. จงหาคู่เบสของสารต่อไปนี้ 3.1 H 3 O + 3.2 HCO 3 -

More Related Content

What's hot

อิเล็กโทรไลด์และนอนอิเล็กโทรไลด์
อิเล็กโทรไลด์และนอนอิเล็กโทรไลด์อิเล็กโทรไลด์และนอนอิเล็กโทรไลด์
อิเล็กโทรไลด์และนอนอิเล็กโทรไลด์พาราฮัท มิวสิค
 
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibriumกรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion EquilibriumDr.Woravith Chansuvarn
 
กรดเบส011
กรดเบส011กรดเบส011
กรดเบส011jirat266
 
เบส
เบสเบส
เบสkruruty
 
Acid base1
Acid base1Acid base1
Acid base1Benny BC
 
สรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีสรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีTutor Ferry
 
สื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
สื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณสื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
สื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณพัน พัน
 
Lab 2 acid base titration and applications
Lab 2 acid base titration and applicationsLab 2 acid base titration and applications
Lab 2 acid base titration and applicationsBELL N JOYE
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2Tanchanok Pps
 
สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนสารประกอบไฮโดรคาร์บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนKrusek Seksan
 

What's hot (19)

กรด เบส 4
กรด เบส 4กรด เบส 4
กรด เบส 4
 
Acid and base
Acid and baseAcid and base
Acid and base
 
Solubility
SolubilitySolubility
Solubility
 
อิเล็กโทรไลด์และนอนอิเล็กโทรไลด์
อิเล็กโทรไลด์และนอนอิเล็กโทรไลด์อิเล็กโทรไลด์และนอนอิเล็กโทรไลด์
อิเล็กโทรไลด์และนอนอิเล็กโทรไลด์
 
กรด เบส 6
กรด เบส 6กรด เบส 6
กรด เบส 6
 
Acid base
Acid baseAcid base
Acid base
 
ACIC BASE
ACIC BASEACIC BASE
ACIC BASE
 
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibriumกรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
 
กรดเบส011
กรดเบส011กรดเบส011
กรดเบส011
 
เบส
เบสเบส
เบส
 
กรด เบส 5
กรด เบส 5กรด เบส 5
กรด เบส 5
 
Acid base1
Acid base1Acid base1
Acid base1
 
สรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีสรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมี
 
กรด เบส 7
กรด เบส 7กรด เบส 7
กรด เบส 7
 
สื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
สื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณสื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
สื่อประกอบการสอนวิชาเคมีเพิ่มเติม3 ว30223 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
 
Buffer h in
Buffer h inBuffer h in
Buffer h in
 
Lab 2 acid base titration and applications
Lab 2 acid base titration and applicationsLab 2 acid base titration and applications
Lab 2 acid base titration and applications
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
 
สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนสารประกอบไฮโดรคาร์บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
 

Similar to Acid1

กรด
กรดกรด
กรดporpia
 
-เบส-612.pptx
-เบส-612.pptx-เบส-612.pptx
-เบส-612.pptxJoySarocha
 
acid-base_1.ppt
acid-base_1.pptacid-base_1.ppt
acid-base_1.pptChewJa
 
ข้อสอบ เคมี
ข้อสอบ เคมีข้อสอบ เคมี
ข้อสอบ เคมีzweetiiz
 
เคมี
เคมี เคมี
เคมี Mu PPu
 
เคมีอินทรีย์เบื้องต้น
เคมีอินทรีย์เบื้องต้นเคมีอินทรีย์เบื้องต้น
เคมีอินทรีย์เบื้องต้นDr.Woravith Chansuvarn
 
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2ครูแป้ง ครูตาว
 
ธาตุหมู่ 6A
ธาตุหมู่ 6Aธาตุหมู่ 6A
ธาตุหมู่ 6ANattha Namm
 
Slideที่ 8 ไอออนในสารละลายกรด เบส(เผยแพร่)
Slideที่ 8 ไอออนในสารละลายกรด  เบส(เผยแพร่)Slideที่ 8 ไอออนในสารละลายกรด  เบส(เผยแพร่)
Slideที่ 8 ไอออนในสารละลายกรด เบส(เผยแพร่)KasemsanThumwisad
 
เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์ratchaneeseangkla
 
ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ (Organic Reactions)
ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ (Organic Reactions)ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ (Organic Reactions)
ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ (Organic Reactions)Dr.Woravith Chansuvarn
 

Similar to Acid1 (19)

กรด
กรดกรด
กรด
 
Acid base
Acid baseAcid base
Acid base
 
กรด เบส 1
กรด เบส 1กรด เบส 1
กรด เบส 1
 
-เบส-612.pptx
-เบส-612.pptx-เบส-612.pptx
-เบส-612.pptx
 
Acid base 1
Acid base 1Acid base 1
Acid base 1
 
acid-base_1.ppt
acid-base_1.pptacid-base_1.ppt
acid-base_1.ppt
 
ข้อสอบ เคมี
ข้อสอบ เคมีข้อสอบ เคมี
ข้อสอบ เคมี
 
เคมี
เคมี เคมี
เคมี
 
Acid base 1
Acid base 1Acid base 1
Acid base 1
 
เคมีอินทรีย์เบื้องต้น
เคมีอินทรีย์เบื้องต้นเคมีอินทรีย์เบื้องต้น
เคมีอินทรีย์เบื้องต้น
 
Atom
AtomAtom
Atom
 
กรด เบส 8
กรด เบส 8กรด เบส 8
กรด เบส 8
 
Acid base
Acid baseAcid base
Acid base
 
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
 
ธาตุหมู่ 6A
ธาตุหมู่ 6Aธาตุหมู่ 6A
ธาตุหมู่ 6A
 
Slideที่ 8 ไอออนในสารละลายกรด เบส(เผยแพร่)
Slideที่ 8 ไอออนในสารละลายกรด  เบส(เผยแพร่)Slideที่ 8 ไอออนในสารละลายกรด  เบส(เผยแพร่)
Slideที่ 8 ไอออนในสารละลายกรด เบส(เผยแพร่)
 
เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์
 
ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ (Organic Reactions)
ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ (Organic Reactions)ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ (Organic Reactions)
ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ (Organic Reactions)
 
Que oct 47
Que oct 47Que oct 47
Que oct 47
 

More from Manchai

ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลManchai
 
ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)Manchai
 
Equilibrium1
Equilibrium1Equilibrium1
Equilibrium1Manchai
 
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาManchai
 
หลักสูตรเรณูนครฯปี51
หลักสูตรเรณูนครฯปี51หลักสูตรเรณูนครฯปี51
หลักสูตรเรณูนครฯปี51Manchai
 

More from Manchai (6)

Acid1
Acid1Acid1
Acid1
 
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
 
ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)
 
Equilibrium1
Equilibrium1Equilibrium1
Equilibrium1
 
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
 
หลักสูตรเรณูนครฯปี51
หลักสูตรเรณูนครฯปี51หลักสูตรเรณูนครฯปี51
หลักสูตรเรณูนครฯปี51
 

Acid1

  • 2. สารละลาย คือ ของผสมเนื้อเดียวที่ประกอบ ตัวละลายละลายในตัวทำละลาย โดยทั่วไปตัวทำละลายเป็นสารที่มีสถานะเหมือนกับสถานะของสารละลาย สารละลายอาจอยู่ในสถานะแก๊ส ของเหลว หรือของแข็งก็ได้
  • 3. 4.1 สารละลาย (solution) คือของผสมเนื้อเดียวของสารอย่างน้อย 2 ชนิด ประกอบด้วย ตัวละลาย (solute) = สารที่มีปริมาณน้อยกว่า ตัวทำละลาย (solvent) = สารที่มีปริมาณมากกว่า น้ำอัดลม ( l ) อากาศ ( g ) นาค ( s ) H 2 O N 2 Au น้ำตาล , CO 2 O 2 , Ar, CH 4 Cu สารละลาย ตัวทำละลาย ตัวละลาย
  • 4. 1. สารอิเล็กโทรไลต์ (Electrolyte) หมายถึง สารที่หลอมเหลวหรือละลายน้ำแล้วแตกตัวให้ไอออนได้จึงนำไฟฟ้าได้
  • 5. สารละลายอิเล็กโทรไลต์ คือสารละลายที่ตัวละลายแตกตัวให้ไอออนได้จึงนำไฟฟ้าได้ ซึ่งประกอบไอออนบวกและไอออนลบเคลื่อนที่ในตัวทำละลาย เช่น สารที่มีสมบัติเป็นกรด เบสทุกชนิด
  • 6. สารละลายนอนอิเล็กโทรไลต์ คือสารละลายที่ไม่นำไฟฟ้า เพราะ ตัวถูกละลายไม่แตกตัวเป็นไอออนในตัวทำละลาย เช่น น้ำเชื่อม แอลกอฮอล์
  • 7. อิเลกโทรไล ต์ (electrolyte) เป็นสารซึ่งเมื่อละลายน้ำแล้ว จะได้สารละลายที่สามารถนำไฟฟ้าได้ 4.1 นอนอิเลกโทรไล ต์ (nonelectrolyte) เป็นสารซึ่งเมื่อละลายน้ำแล้วสารละลาย ที่ได้ จะไม่นำไฟฟ้า nonelectrolyte weak electrolyte strong electrolyte
  • 8. สารละลายอิเล็กโทรไลต์ จำแนกได้ 2 กลุ่มคือ 1. อิเล็กโทรไลต์แก่ คือสารที่ละลายน้ำแล้วแตกตัวได้หมด 100% ไม่มีภาวะสมดุล ใช้ แทนการแตกตัว สารละลายจะประกอบด้วยไอออนบวกและไอออนลบ อาจมีสมบัติเป็นกรด เบส หรือ กลางก็ได้ เช่น HBr(aq) H + (aq) + Br - (aq) H 2 O
  • 9. สารละลายอิเล็กโทรไลต์ 2. อิเล็กโทรไลต์อ่อน คือสารที่ละลายน้ำแล้วแตกตัว ให้ไอออนบางส่วน ในสารละลายประกอบด้วยโมเลกุล ไอออนบวก ไอออนลบ จึงเกอดภาวะสมดุลได้ ใช้ แทนการแตกตัว สารละลายอาจมีสมบัติเป็นกรด หรือเบส หรือกลางก็ได้ เช่น HF(aq) H + (aq) + F - (aq) H 2 O
  • 10. ตัวอย่างสารละลายอิเล็กโทรไลต์ 1) อิเล็กโทรไลต์แก่ กรด HCl HBrO 3 HIO 3 HClO 4 HNO 3 H 2 SO 4 เกลือ เกลือส่วนมาก เบส LiOH NaOH Ba(OH) 2 Ca(OH) 2 Sr(OH) 2
  • 11. 2) อิเล็กโตรไลต์อ่อน กรด HClO H 2 S HF H 3 PO 4 H 2 CO 3 HNO 2 H 2 SO 3 เบส NH 3 และเบสอินทรีย์ เกลือ เกลือเฮไลด์ ไซยาไนด์ และไทโอไซยาเนต ของ Zn Cd และ Hg(II)
  • 12. สารละลายกรดและสารละลายเบส สารละลายกรดและสารละลายเบส สามารถนำไฟฟ้าได้ เพราะมีไอออนเคลื่อนที่ในสารละลายและไอออนเหล่านี้จะแสดงสมบัติต่าง ๆ
  • 13. สารละลายกรดทุกชนิดเมื่อละลายน้ำจะแตกตัวให้ไฮโดรเจนไอออน ( H + ) เหมือนกันแต่เกิดไอออนลบต่างชนิดกัน ไอออนในสารละลายกรด
  • 15.
  • 16. ตัวอย่างแหล่งของกรด เบส กรด เบส กรดซิตริกในผลไม้ ผงฟู หรือ เบคกิงโซดา แอสไพริน (Aspirin) ผงซักฟอก (Detergents) โคคา โคลา ( Coca Cola) น้ำยาแอมโมเนียทำความสะอาด (Ammonia cleaners) น้ำส้มสายชู (Vinegar) สบู่ (soap) วิตามินซี ( Vitamin C)
  • 17.
  • 18. สมบัติทั่วไปของสารละลายกรด - เบส กรด เบส 1. เปลี่ยนกระดาษลิตมัสจากน้ำเงินเป็นแดง 2. นำไฟฟ้าได้ 3. ทำปฏิกิริยากับโลหะบางชนิดได้ก๊าซ H 2 4. ทำปฏิกิริยากับเบสได้ เกลือ + น้ำ 1. เปลี่ยนกระดาษลิตมัสจากแดงเป็นน้ำเงิน 2. นำไฟฟ้าได้ 3. ไม่ทำปฏิกิริยากับโลหะที่อุณหภูมิปกติ 4. ทำปฏิกิริยากับกรดได้ เกลือ + น้ำ
  • 19.
  • 20.
  • 21. กรดตามนิยามของ Arrhenius เป็นสารซึ่ง ให้ H + (H 3 O + ) เมื่อละลายน้ำ เบสตามนิยามของ Arrhenius เป็นสารซึ่ง ให้ OH - เมื่อละลายน้ำ 4.3 กรด เบส hydronium ion
  • 22. ตัวอย่างกรดตามนิยามของอาร์เรเนียส กรด คือ สารที่ ละลายน้ำ แล้ว แตกตัวให้ H + เช่น HCl H + + Cl - H 2 SO 4 H + + HSO 4 - HCO 3 - H + + CO 3 2-
  • 23. เบส คือ สารที่ ละลายน้ำ แล้วแตกตัวให้ OH - เช่น NaOH Na + + OH - Ba(OH) 2 Ba 2+ + 2OH - Ca(OH) 2 Ca 2+ + 2OH - ตัวอย่างเบสตามนิยามของอาร์เรเนียส
  • 24. กรดแก่ คือ กรดที่แตกตัวให้ H + มาก กรดอ่อน คือ กรดที่แตกตัวให้ H + น้อย เบสแก่ คือ เบสที่แตกตัวให้ OH - มาก เบสอ่อน คือ เบสที่แตกตัวให้ OH - น้อย ความแรงของกรดและเบส
  • 25.
  • 26. นิยามของบรอนสเตด - เลารี กรด คือ สารที่ ให้ H + เบส คือ สารที่ รับ H +
  • 27. ทฤษฎีกรด - เบสของเบรินสเตด - ลาวรี กรด เบส เบส คือ สารที่รับโปรตอนให้สารอื่นได้ กรด คือ สารที่จ่ายโปรตอนให้สารอื่นได้ ทฤษฎีกรด - เบส
  • 28. กรดตามนิยามของ Br ø nsted คือ สารซึ่ง ให้ โปรตอน เบสตามนิยามของ Br ø nsted คือ สารซึ่ง รับ โปรตอน กรด เบส กรด เบส 4.3 ดังนั้น กรด Br ø nsted จะต้องมีโปรตอนอย่างน้อย หนึ่งตัวที่สามารถแตกตัวเป็นไอออนได้
  • 30. HCl(aq) + H 2 O(l) H 3 O + (aq) + Cl - (aq) กรด 1 เบส 2 กรด 2 เบส 1 HCl และ Cl - เป็น คู่กรด - เบส คู่ที่ 1( conjugate acid-base) H 3 O + และ H 2 O เป็น คู่กรด - เบส คู่ที่ 2 ( conjugate acid-base) โดย Cl - เป็นคู่เบส (conjugate base) ของกรด HCl HCl เป็นคู่กรด (conjugate acid) ของ Cl - และ
  • 31. CO 3 2- + H 2 O OH - + HCO 3 - เบส 1 กรด 2 NH 3 + H 2 O NH 4 + + OH - เบส 1 กรด 2 กรด 2 เบส 2 เบส 2 กรด 2
  • 32. พิจารณาสมการต่อไปนี้ สารใดเป็นกรดและสารใดเป็นเบส 1. NH 3 + HS - NH 4 + + S 2- 2. HS - + HCO 3 - S 2- + H 2 CO 3 3. HCO 3 - + NH 3 CO 3 2- + NH 4 + 4. NH 4 + + HS - NH 3 + H 2 S 5. HPO 4 2- + H 2 O H 3 O + + PO 4 3- 6. H 2 Se + H 2 O H 3 O + + HSe - 7. CH 3 COOH + HCO 3 - CH 3 COO - + H 2 CO 3
  • 33.
  • 34. H 2 O เป็นได้ทั้งกรดและเบส สารที่เป็นฝ่ายให้และรับ H + เรียกว่า แอมฟิโปรติก (amphiprotic)
  • 35. Amphoteric Compo u nds คือสารที่สามารถแสดงสมบัติได้ทั้งกรดและเบส เช่น 4.3 HCO 3 - (aq) H + (aq) + CO 3 2- (aq) HCO 3 - (aq) + H + (aq) H 2 CO 3 (aq)
  • 36. ขึ้นอยู่กับความสามารถในการให้และรับ H + ความแรงของกรดและเบส กรดแก่ คือ กรดที่ให้ H + มาก กรดอ่อน คือ กรดที่ให้ H + น้อย เบสแก่ คือ เบสที่รับ H + มาก เบสอ่อน คือ เบสที่รับ H + น้อย
  • 37. ข้อสังเกต 1. สำหรับคู่กรด - เบสคู่หนึ่ง ถ้ากรดเป็นกรดแก่ คู่เบสจะเป็นเบสอ่อน เช่น HCl เป็น กรดแก่ Cl - เป็น เบสอ่อน NH 3 เป็น เบสอ่อน NH 4 + เป็น กรดแก่ 2. กรดหรือเบสอาจเป็นโมเลกุลหรือไอออนก็ได้ 3. โมเลกุลของน้ำอาจเป็นฝ่ายให้หรือรับ H + ก็ได้ นั่นคือ น้ำเป็นแอมฟิโปรติกหรือแอมโฟเทอริก
  • 38.
  • 39. คู่กรด - เบส คู่กรด - เบส HCN(aq)+H 2 O(l) = CN - (aq)+H 3 O + aq) กรด 1 เบส 2 คู่กรด - เบส เบส 1 กรด 2 สารที่เป็นคู่กรด - เบส คือ HCN - CN - และ H 2 O-H 3 O +
  • 40. 1. ปฏิกิริยากรด - เบสที่ผันกลับได้ จะมีคู่กรด - เบส อย่างน้อย 2 คู่ ข้อสรุปเรื่องคู่กรด - เบส
  • 41. 2. สารที่เป็นคู่กรด - เบสซึ่งกันและกันจะมีโปรตอนต่างกัน 1 ตัว โดยที่สารที่มีจำนวนโปรตอนมากกว่าเป็นคู่กรด และสารที่มีโปรตอนน้อยกว่าเป็นคู่เบส
  • 42.
  • 43. ตัวอย่างคู่กรด - เบส คู่กรด คู่เบส คู่กรด คู่เบส ? ClO 4 - HI ? ? Cl - H 2 SO 4 ? ? NO 3 - H 3 O + ? ? HSO 3 - H 3 PO 4 ? ? F - HNO 2 ? ? C 2 H 3 O 2 -
  • 44. ตัวอย่างคู่กรด - เบส คู่กรด คู่เบส คู่กรด คู่เบส HClO 4 ( กรดแก่ที่สุด ) ClO 4 - HI I - HCl Cl - H 2 SO 4 HSO 4 - HNO 3 NO 3 - H 3 O + H 2 O H 2 SO 3 HSO 3 - H 3 PO 4 H 2 PO 4 - HF F - HNO 2 NO 2 - HC 2 H 3 O 2 C 2 H 3 O 2 -
  • 45.
  • 46.
  • 47. นิยามของลิวอิส กรด คือ สารที่ รับคู่ e - จากเบสได้ แล้วเกิดพันธะโคเวเลนต์ เบส คือ สารที่ ให้คู่ e - ในการเกิดพันธะโคเวเลนต์ H + + : O-H - H - O-H .. .. .. .. H H-N : + B-F H-N B-F H H H F F F F เบส กรด
  • 48. ส . ป . ก . ที่ ธาตุมี V. e - < 8 หรือมีออร์บิตอลว่าง เช่น BF 3 AlCl 3 จัดเป็น กรดลิวอิส และเรียกธาตุนั้น ว่า อิเล็กโตรไฟล์ (Electrophile) ส . ป . ก . หรือไอออน ที่มีคู่ e - โดดเดี่ยว จัดเป็น เบสลิวอิส และเรียกอะตอมนั้นว่า donor atom หรือ นิวคลีโอไฟล์ (Nucleophile) เช่น O ใน O H - N ใน N H 3
  • 50. ตัวอย่างที่ 3 สารต่อไปนี้สารใดเป็นกรดตามนิยามของลิวอิส NH 4 + CH 3 + BCl 3 Fe 2+ H 2 S ตอบ CH 3 + BCl 3 Fe 2+
  • 51. 1. จงระบุว่าสารใดเป็นกรดเป็นเบส 1.1 PO 4 3- + H 2 O HPO 4 2- + OH - 1.2 H 2 SO 3 + H 2 O HSO 3 - + H 3 O + 2. จงหาคู่กรดของสารต่อไปนี้ 2.1 SO 3 2- 2.2 H 2 PO 4 - 3. จงหาคู่เบสของสารต่อไปนี้ 3.1 H 3 O + 3.2 HCO 3 -