SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
E-mail:tangkwa83@hotmail.com
Developer:http//:developer.facebook.com/suppadech
โรคมือ เท้า ปาก
โรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภชลาดกระบัง
เสนอ
อาจารย์ธนา ยอดเกิด
โรคมือเท้าปาก(Hand foot mouth syn-
drome)คือ ?
เป็นโรคทมักพบการติดเชื้อในกลุ่มทารกและเด็กเล็ก
แต่บางรายจะมีอาการรุนแรง
ขึ้นอยู่กับชนิดของไวรัสที่มีการติดเชื้อ
โรค HFMD ส่วนใหญ่พบในเด็กอายุน้อยกว่า 10 ปี
โดยเฉพาะอายุต่ากว่า 5 ปี มีอาการไข้ร่วมกับตุ่มเล็กๆ
เกิดขึ้นที่ผิวหนังบริเวณฝ่ามือ ฝ่าเท้า และในปาก
ส่วนใหญ่อาการไม่รุนแรง หายได้เอง
ส่วนน้อยอาจมีอาการทางสมองร่วมด้วย
ซึ่งอาจทาให้รุนแรงถึงเสียชีวิตได้ส่วนใหญ่พบในเด็กอายุ
1-7 ปี ส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อ coxsackievirusA16 และ
EV71 ผู้ป่วยจะมีไข้ฉับพลันและมีแผลเปื่อยเล็กๆ
ในลาคอบริเวณเพดาน ลิ้นไก่ ทอนซิล
มีอาการเจ็บคอมากร่วมกับมีน้าลายมาก
ยังไม่เคยมีรายงานการเสียชีวิต
อ้างอิง
http://www.wikipedia.org
http://www.siamhealth.net
จัดทาโดย
ด.ช.ศุภเดช คงประเสริฐ เลขที่8 ม.2/2
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อไวรัสในกลุ่ม Enteroviruses ที่พบเฉพาะ
ในมนุษย์ซึ่งมีหลายสายพันธุ์ โรคปากเท้าเปื่อย
ส่วนใหญ่เกิดจาการติดเชื้อไวรัสที่ชื่อว่า coxsackie
A16 มักไม่รุนแรง เด็ก
จะหายเป็นปกติภายใน
7-10 วัน ส่วนที่เกิดจาก
Enterovirus 71 อาจเป็น
แบบ เยื่อหุ้มสมอง
อักเสบ Aseptic menin-
gitis ที่ไม่รุนแรง หรือมีอาการคล้ายโปลิโอ ส่วนที่
รุนแรงมากจนอาจเสียชีวิตจะเป็นแบบสมอง
อักเสบ encephalitis ซึ่งมีอาการอักเสบส่วนก้าน
สมองทาให้หมดสติ หากเกิดกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ
จะทาให้เกิดหัวใจวาย ความดันโลหิตจะต่า มีอาการ
หัวใจวาย และ/หรือมีภาวะน้าท่วมปอด
อาการ
ผู้ติดเชื้อส่วนใหญ่จะไม่แสดงอาการป่วย
หรืออาจพบอาการเพียงเล็กน้อย เช่น มีไข้
ปวดศีรษะ คลื่นไส้ ปวดเมื่อย เป็นต้น
จะปรากฏอาการดังกล่าว 3-5 วัน แล้วหายได้เอง
สาหรับผู้ที่มีอาการมักจะเริ่มด้วยไข้เบื่ออาหาร
ครั่นเนื้อครั่นตัวเจ็บคอ หลังจากไข้1-2
วันจะเห็นแผลแดงเล็กๆที่ปากโดยเป็นตุ่มน้าในร
ะยะแรกและแตกเป็นแผล
ตาแหน่งของแผลมักจะอยู่ที่เพดานปาก
หลังจากนั้นอีก1-2 วันจะเกิดผื่นที่มือและเท้า
แต่ก็อาจจะเกิดที่แขน และก้นได้
เด็กที่เจ็บปากมากอาจจะขาดน้า
 ไข้ มีอาการไข้สูงอาจเกิน 39 องศาเซลเซียส 2 วันแล้วจะมีไข้ต่าๆ
ประมาณ 37.5 - 38.5 องศาเซลเซียส อีก 3-5 วัน
 เจ็บคอเจ็บในปากกลืนน้าลายไม่ได้ไม่กินอาหาร
 พบตุ่มแผลในปาก ส่วนใหญ่พบที่เพดานอ่อนลิ้น กระพุ้งแก้ม
อาจมี 1 แผล หรือ 2-3 แผล ขนาด 4-8 มิลลิลิตร
เป็นสาเหตุให้เด็กไม่ดูดนม ไม่กินอาหารเพราะเจ็บ
ผื่นหรือแผลในปากจะเกิดหลังจากไข้1-2 วัน
 ปวดศีรษะ
 พบตุ่มพอง (vesicles) สีขาวขุ่นบนฐานรอบสีแดง ขนาด 3-7
มิลลิเมตร บริเวณด้านข้างของนิ้วมือ นิ้วเท้า บางครั้งพบที่ฝ่ามือ
ฝ่าเท้า ส้นเท้า
ส่วนมากมีจานวน 5-6 ตุ่ม
เวลากดจะเจ็บ
ส่วนใหญ่ไม่ค่อยแตกเป็นแผล
จะหายไปได้เองในเวลาประมาณ 1 สัปดาห์
 เบื่ออาหาร
 เด็กจะหงุดหงิด
 ในเด็กโตจะบ่นปวดศีรษะ ปวดหลัง อาจมีอาเจียน เจ็บคอ
น้าลายไหล
จากนั้นจะพบตุ่มพองใส ขนาด 1-
2 มิลลิเมตร 2
ข้างของบริเวณเหนือต่อมทอนซิล
(anteriar fauces)
ซึ่งอาจแตกเป็นแผล
หลังจากระยะ 2-3 วันแรก แผลจะใหญ่ขึ้นเป็น 3-4 มิลลิเมตร
จะเห็นเป็นสีขาวเหลืองอยู่บนฐานสีแดงโดยรอบ
ทาให้มีอาการเจ็บคอหรือกลืนลาบากเวลาดูดนมหรือกินอาหาร
เด็กจะมีอาการน้าลายไหล ส่วนใหญ่จะหายได้เองภายใน 3-6 วัน
ยังไม่เคยมีรายงานการเสียชีวิต
ระยะฝักตัว
หมายถึงระยะตั้งแต่ได้รับเชื้อจนกระทั่งเกิดอากา
รใช้เวลาประมาณ 4-6 วัน
การติดต่อ
โรคนี้มักจะติดต่อในสัปดาห์แรก เชื้อนี้ติดต่อจาก
 จากมือที่เปื้อนน้ามูก น้าลาย
และอุจจาระของผู้ป่วยหรือผู้ติดเชื้อ
(ซึ่งอาจจะยังไม่มีอาการ)
หรือน้าในตุ่มพองหรือแผลของผู้ป่วย
 และโดยการหายใจเอาเชื้อที่แพร่กระจายจากล
ะอองฝอยของการไอ จาม
ของผู้ป่วยหรือผู้ติดเชื้อ ( droplet spread)
การรักษา
ปกติแล้วโรคมือ เท้า ปาก
สามารถหายได้เองภายใน 7-10 วัน
หากไม่มีภาวะแทรกซ้อนโรคนี้ไม่มียารักษาโดยเ
ฉพาะ เพราะเป็นโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัส
จึงต้องใช้ภูมิคุ้มกันของตัวเองต่อสู้กับเชื้อโรค
ทั้งนี้ แพทย์จะให้ยารักษาตามอาการ
วิธีการป้ องกัน
ปัจจุบันยังไม่มีวัคซีนป้องกันโรคมือ เท้า ปาก
แต่โดยปกติป้องกันโรคมือ เท้า ปาก
ได้โดยการรักษาสุขอนามัยที่ดีไม่ว่าจะเป็นการรัก
ษาความสะอาด ตัดเล็บให้สั้น
หมั่นล้างมือด้วยน้าสบู่บ่อย ๆ

More Related Content

Similar to แผ่นพับ โรคมือเท้าปาก (9)

โรคติดต่อที่สำคัญในเด็ก
โรคติดต่อที่สำคัญในเด็กโรคติดต่อที่สำคัญในเด็ก
โรคติดต่อที่สำคัญในเด็ก
 
Factsheet hfm
Factsheet hfmFactsheet hfm
Factsheet hfm
 
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยโรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
 
Factsheet hfm
Factsheet hfmFactsheet hfm
Factsheet hfm
 
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง รู้เรื่องโรค
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง รู้เรื่องโรคบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง รู้เรื่องโรค
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง รู้เรื่องโรค
 
DENGUE
DENGUE DENGUE
DENGUE
 
hand foot mouth
hand foot mouthhand foot mouth
hand foot mouth
 
Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23
 
Knowledge
KnowledgeKnowledge
Knowledge
 

More from native

แผ่นพับ โรคกระเพาะ
แผ่นพับ โรคกระเพาะแผ่นพับ โรคกระเพาะ
แผ่นพับ โรคกระเพาะ
native
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
native
 
ดวงอาทิตย์ The sun
ดวงอาทิตย์  The sunดวงอาทิตย์  The sun
ดวงอาทิตย์ The sun
native
 
ระบบสุริยะ Solar system
ระบบสุริยะ Solar systemระบบสุริยะ Solar system
ระบบสุริยะ Solar system
native
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
native
 
ใบความรู้ เรื่องตรีโกณมิติ
ใบความรู้ เรื่องตรีโกณมิติใบความรู้ เรื่องตรีโกณมิติ
ใบความรู้ เรื่องตรีโกณมิติ
native
 

More from native (19)

โปรแกรมเมอร์
โปรแกรมเมอร์โปรแกรมเมอร์
โปรแกรมเมอร์
 
แผ่นพับ โรคกระเพาะ
แผ่นพับ โรคกระเพาะแผ่นพับ โรคกระเพาะ
แผ่นพับ โรคกระเพาะ
 
ใบความรู้ โอเปร่า เรื่อง ขลุ่ยวิเศษ
ใบความรู้ โอเปร่า เรื่อง ขลุ่ยวิเศษใบความรู้ โอเปร่า เรื่อง ขลุ่ยวิเศษ
ใบความรู้ โอเปร่า เรื่อง ขลุ่ยวิเศษ
 
โอโซน
โอโซนโอโซน
โอโซน
 
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
 
คำศัพท์ภาษาอังกฤษที่มีการใช้มากที่สุด
คำศัพท์ภาษาอังกฤษที่มีการใช้มากที่สุดคำศัพท์ภาษาอังกฤษที่มีการใช้มากที่สุด
คำศัพท์ภาษาอังกฤษที่มีการใช้มากที่สุด
 
ใบความรู้ เรื่องพระพุทธศาสนาเน้นการพัฒนาศรัทธาและปัญญาที่ถูกต้อง
ใบความรู้ เรื่องพระพุทธศาสนาเน้นการพัฒนาศรัทธาและปัญญาที่ถูกต้องใบความรู้ เรื่องพระพุทธศาสนาเน้นการพัฒนาศรัทธาและปัญญาที่ถูกต้อง
ใบความรู้ เรื่องพระพุทธศาสนาเน้นการพัฒนาศรัทธาและปัญญาที่ถูกต้อง
 
บันทึกเหตุการณ์(วิชา ลิขิตภาษา)
บันทึกเหตุการณ์(วิชา ลิขิตภาษา)บันทึกเหตุการณ์(วิชา ลิขิตภาษา)
บันทึกเหตุการณ์(วิชา ลิขิตภาษา)
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน
 
ไวรัสกับไวรอยด์แตกต่างกันอย่างไร
ไวรัสกับไวรอยด์แตกต่างกันอย่างไรไวรัสกับไวรอยด์แตกต่างกันอย่างไร
ไวรัสกับไวรอยด์แตกต่างกันอย่างไร
 
มงคลชีวิต
มงคลชีวิตมงคลชีวิต
มงคลชีวิต
 
กลุ่มดาว88กลุ่ม
กลุ่มดาว88กลุ่มกลุ่มดาว88กลุ่ม
กลุ่มดาว88กลุ่ม
 
โทมัส_เอดิสัน
โทมัส_เอดิสันโทมัส_เอดิสัน
โทมัส_เอดิสัน
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ดวงอาทิตย์ The sun
ดวงอาทิตย์  The sunดวงอาทิตย์  The sun
ดวงอาทิตย์ The sun
 
ระบบสุริยะ Solar system
ระบบสุริยะ Solar systemระบบสุริยะ Solar system
ระบบสุริยะ Solar system
 
รายงานวิชาพระพุทธ
รายงานวิชาพระพุทธรายงานวิชาพระพุทธ
รายงานวิชาพระพุทธ
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
 
ใบความรู้ เรื่องตรีโกณมิติ
ใบความรู้ เรื่องตรีโกณมิติใบความรู้ เรื่องตรีโกณมิติ
ใบความรู้ เรื่องตรีโกณมิติ
 

แผ่นพับ โรคมือเท้าปาก

  • 1. E-mail:tangkwa83@hotmail.com Developer:http//:developer.facebook.com/suppadech โรคมือ เท้า ปาก โรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภชลาดกระบัง เสนอ อาจารย์ธนา ยอดเกิด โรคมือเท้าปาก(Hand foot mouth syn- drome)คือ ? เป็นโรคทมักพบการติดเชื้อในกลุ่มทารกและเด็กเล็ก แต่บางรายจะมีอาการรุนแรง ขึ้นอยู่กับชนิดของไวรัสที่มีการติดเชื้อ โรค HFMD ส่วนใหญ่พบในเด็กอายุน้อยกว่า 10 ปี โดยเฉพาะอายุต่ากว่า 5 ปี มีอาการไข้ร่วมกับตุ่มเล็กๆ เกิดขึ้นที่ผิวหนังบริเวณฝ่ามือ ฝ่าเท้า และในปาก ส่วนใหญ่อาการไม่รุนแรง หายได้เอง ส่วนน้อยอาจมีอาการทางสมองร่วมด้วย ซึ่งอาจทาให้รุนแรงถึงเสียชีวิตได้ส่วนใหญ่พบในเด็กอายุ 1-7 ปี ส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อ coxsackievirusA16 และ EV71 ผู้ป่วยจะมีไข้ฉับพลันและมีแผลเปื่อยเล็กๆ ในลาคอบริเวณเพดาน ลิ้นไก่ ทอนซิล มีอาการเจ็บคอมากร่วมกับมีน้าลายมาก ยังไม่เคยมีรายงานการเสียชีวิต อ้างอิง http://www.wikipedia.org http://www.siamhealth.net จัดทาโดย ด.ช.ศุภเดช คงประเสริฐ เลขที่8 ม.2/2
  • 2. สาเหตุ เกิดจากเชื้อไวรัสในกลุ่ม Enteroviruses ที่พบเฉพาะ ในมนุษย์ซึ่งมีหลายสายพันธุ์ โรคปากเท้าเปื่อย ส่วนใหญ่เกิดจาการติดเชื้อไวรัสที่ชื่อว่า coxsackie A16 มักไม่รุนแรง เด็ก จะหายเป็นปกติภายใน 7-10 วัน ส่วนที่เกิดจาก Enterovirus 71 อาจเป็น แบบ เยื่อหุ้มสมอง อักเสบ Aseptic menin- gitis ที่ไม่รุนแรง หรือมีอาการคล้ายโปลิโอ ส่วนที่ รุนแรงมากจนอาจเสียชีวิตจะเป็นแบบสมอง อักเสบ encephalitis ซึ่งมีอาการอักเสบส่วนก้าน สมองทาให้หมดสติ หากเกิดกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ จะทาให้เกิดหัวใจวาย ความดันโลหิตจะต่า มีอาการ หัวใจวาย และ/หรือมีภาวะน้าท่วมปอด อาการ ผู้ติดเชื้อส่วนใหญ่จะไม่แสดงอาการป่วย หรืออาจพบอาการเพียงเล็กน้อย เช่น มีไข้ ปวดศีรษะ คลื่นไส้ ปวดเมื่อย เป็นต้น จะปรากฏอาการดังกล่าว 3-5 วัน แล้วหายได้เอง สาหรับผู้ที่มีอาการมักจะเริ่มด้วยไข้เบื่ออาหาร ครั่นเนื้อครั่นตัวเจ็บคอ หลังจากไข้1-2 วันจะเห็นแผลแดงเล็กๆที่ปากโดยเป็นตุ่มน้าในร ะยะแรกและแตกเป็นแผล ตาแหน่งของแผลมักจะอยู่ที่เพดานปาก หลังจากนั้นอีก1-2 วันจะเกิดผื่นที่มือและเท้า แต่ก็อาจจะเกิดที่แขน และก้นได้ เด็กที่เจ็บปากมากอาจจะขาดน้า  ไข้ มีอาการไข้สูงอาจเกิน 39 องศาเซลเซียส 2 วันแล้วจะมีไข้ต่าๆ ประมาณ 37.5 - 38.5 องศาเซลเซียส อีก 3-5 วัน  เจ็บคอเจ็บในปากกลืนน้าลายไม่ได้ไม่กินอาหาร  พบตุ่มแผลในปาก ส่วนใหญ่พบที่เพดานอ่อนลิ้น กระพุ้งแก้ม อาจมี 1 แผล หรือ 2-3 แผล ขนาด 4-8 มิลลิลิตร เป็นสาเหตุให้เด็กไม่ดูดนม ไม่กินอาหารเพราะเจ็บ ผื่นหรือแผลในปากจะเกิดหลังจากไข้1-2 วัน  ปวดศีรษะ  พบตุ่มพอง (vesicles) สีขาวขุ่นบนฐานรอบสีแดง ขนาด 3-7 มิลลิเมตร บริเวณด้านข้างของนิ้วมือ นิ้วเท้า บางครั้งพบที่ฝ่ามือ ฝ่าเท้า ส้นเท้า ส่วนมากมีจานวน 5-6 ตุ่ม เวลากดจะเจ็บ ส่วนใหญ่ไม่ค่อยแตกเป็นแผล จะหายไปได้เองในเวลาประมาณ 1 สัปดาห์  เบื่ออาหาร  เด็กจะหงุดหงิด  ในเด็กโตจะบ่นปวดศีรษะ ปวดหลัง อาจมีอาเจียน เจ็บคอ น้าลายไหล จากนั้นจะพบตุ่มพองใส ขนาด 1- 2 มิลลิเมตร 2 ข้างของบริเวณเหนือต่อมทอนซิล (anteriar fauces) ซึ่งอาจแตกเป็นแผล หลังจากระยะ 2-3 วันแรก แผลจะใหญ่ขึ้นเป็น 3-4 มิลลิเมตร จะเห็นเป็นสีขาวเหลืองอยู่บนฐานสีแดงโดยรอบ ทาให้มีอาการเจ็บคอหรือกลืนลาบากเวลาดูดนมหรือกินอาหาร เด็กจะมีอาการน้าลายไหล ส่วนใหญ่จะหายได้เองภายใน 3-6 วัน ยังไม่เคยมีรายงานการเสียชีวิต ระยะฝักตัว หมายถึงระยะตั้งแต่ได้รับเชื้อจนกระทั่งเกิดอากา รใช้เวลาประมาณ 4-6 วัน การติดต่อ โรคนี้มักจะติดต่อในสัปดาห์แรก เชื้อนี้ติดต่อจาก  จากมือที่เปื้อนน้ามูก น้าลาย และอุจจาระของผู้ป่วยหรือผู้ติดเชื้อ (ซึ่งอาจจะยังไม่มีอาการ) หรือน้าในตุ่มพองหรือแผลของผู้ป่วย  และโดยการหายใจเอาเชื้อที่แพร่กระจายจากล ะอองฝอยของการไอ จาม ของผู้ป่วยหรือผู้ติดเชื้อ ( droplet spread) การรักษา ปกติแล้วโรคมือ เท้า ปาก สามารถหายได้เองภายใน 7-10 วัน หากไม่มีภาวะแทรกซ้อนโรคนี้ไม่มียารักษาโดยเ ฉพาะ เพราะเป็นโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัส จึงต้องใช้ภูมิคุ้มกันของตัวเองต่อสู้กับเชื้อโรค ทั้งนี้ แพทย์จะให้ยารักษาตามอาการ วิธีการป้ องกัน ปัจจุบันยังไม่มีวัคซีนป้องกันโรคมือ เท้า ปาก แต่โดยปกติป้องกันโรคมือ เท้า ปาก ได้โดยการรักษาสุขอนามัยที่ดีไม่ว่าจะเป็นการรัก ษาความสะอาด ตัดเล็บให้สั้น หมั่นล้างมือด้วยน้าสบู่บ่อย ๆ