SlideShare a Scribd company logo
1 of 34
โครงงานคอมพิวเตอร์
เรื่อง ปัญหาโรคอ้วน (obesity problems)
สารบัญ 01 ที่มาและความสาคัญ
วัตถุประสงค์
ประโยชน์ที่คาดว่าจะ
ได้รับ
อาการของโรคอ้วน
หลักการและทฤษฏี
สาเหตุของโรคอ้วน
การตรวจโรคอ้วน
การรักษาโรคอ้วน
ภาวะแทรกซ้อนของโรคอ้วน
02
03
04
05
06
07
08
09
ยาลดความอ้วนหรือยาลด
นาหนัก
10
11 ลักษณะของคนอ้วน
12 ประเภทของโรคอ้วน
13 แหล่งอ้างอิง
14 จัดทาโดย
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ทุกวันนีในสังคมปัจจุบัน กลุ่มนักเรียนวัยรุ่นนัน หันมาให้ความสาคัญกับอาหาร
ต่างประเทศกันเพิ่มมากขึน ไม่ว่าจะเป็นพวกสเต็ก สปาเกตตี ขนมขบเคียวหรือ
แม้แต่อาหารฟาสฟู้ด เป็นต้น ซึ่งวัยรุ่นนันก็ได้รับประทานอาหารประเภทนีใน
ปริมาณมาก ทาให้เกิดผลเสียต่อร่างกาย ทาให้ร่างกายนันได้รับสารอาหารที่ไม่มี
ประโยชน์และไม่เพียงพอต่อร่างกาย ซึ่งอาจจะส่งผลทาให้วัยรุ่นในปัจจุบันนันป่วย
สุขภาพร่างกายไม่แข็งแรง และส่งผลให้เป็นโรคอ้วนในที่สุด ซึ่งโครงงานเรื่องนีก็
ได้ทาขึนเพื่อให้ทุกๆคน ไม่ว่าจะเป็นกลุ่มคนวัยรุ่นหรือคนทั่วไป ได้ตระหนักถึง
ปัญหาโรคอ้วนเพิ่มมากขึน รู้ว่าโรคอ้วนเกิดจากสาเหตุใด ทาให้ทุกคนรับประทาน
อาหารที่มีประโยชน์มากกว่าการรับประทานอาหารที่มีไขมัน หรือพลังงานสูง
มากกว่าที่ร่างกายต้องการจนเกิดปัญหาโรคอ้วนตามมาในที่สุด และยังจัดทาขึน
เพื่อให้ทุกๆคนที่เป็นโรคอ้วนหรือเกิดปัญหาโรคอ้วนในขณะนี ได้รู้วิธีแก้ไขปัญหานี
อย่างถูกวิธี และเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาโรคอ้วนเพิ่มขึนหรือเกิดปัญหาโรคอ้วนซา
อีก โครงงานนีจะเป็นสาระความรู้เล็กๆให้กับกลุ่มคนวัยรุ่นทุกๆคนที่อยากจะรู้
ข้อมูลเกี่ยวกับโรคอ้วนหรืออาจจะ
01
วัตถุประสงค์ของโครงงาน
1
เพื่อให้
ความรู้
เกี่ยวกับ
โรคอ้วน
2
เพื่อให้
ตระหนักถึง
ความสาคัญ
ของปัญหา
3
เพื่อบอก
วิธีป้องกัน
ตนเอง
จากโรคอ้วน
4
เพื่อบอกวิธี
ดูแลตัวเอง
เมื่อเกิด
โรคอ้วน
5
เพื่อ
ร่วมมือกัน
แก้ไขปัญหา
โรคอ้วน
02
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.กลุ่มคนวัยรุ่นได้รับความรู้เกี่ยวกับ
ปัญหาโรคอ้วนได้ถูกต้องและครบถ้วน
2.กลุ่มคนวัยรุ่นตระหนักถึงสาเหตุและวิธี
ดูแลตัวเองให้ห่างไกลจากโรคอ้วน
3.ครอบครัวหรือคนรอบข้างเข้าใจและ
ช่วยเหลือผู้ที่เกิดปัญหาโรคอ้วนได้ถูกวิธี
03
หลักการและทฤษฏี
เกณฑ์มาตรฐานสากลที่ใช้กาหนดผู้ที่มีภาวะอ้วน คือ การคานวณหาค่าดัชนีมวลกาย หรือ BMI
(นาหนักเป็นกิโลกรัมหารด้วยส่วนสูงเป็นเมตรยกกาลังสอง) ผู้ที่มีภาวะอ้วน คือ ผู้ที่มีค่า BMI อยู่ที่
30 ขึนไป อย่างไรก็ตาม ผู้ที่มีค่า BMI ทังที่อยู่ในกลุ่มนาหนักเกิน (BMI อยู่ที่ 25 ขึนไป) ไป
จนถึงอยู่ในภาวะอ้วน (BMI อยู่ที่ 30 ขึนไป) ควรระมัดระวังเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพเป็นพิเศษ
หากไม่ได้มีรูปร่างหรือมีส่วนเกินในร่างกายที่มากเกินไปจนก่อปัญหา แต่กลับมีค่า BMI มากกว่า 25
ก็สามารถตรวจสอบกับแพทย์หรือเจ้าหน้าที่ทางการแพทย์ได้ เพราะในบางราย นาหนักตัวที่มากไม่
ได้มาจากไขมันที่สะสม แต่เป็นกล้ามเนือจากการออกกาลังกายหรือการเล่นกีฬา เนื่องจากค่าที่ได้
จาก BMI เป็นค่าโดยประมาณในการอ้างถึงมวลไขมัน แต่ไม่ได้เป็นค่าที่วัดมวลไขมันได้โดยตรง
อีกวิธีหนึ่งที่ใช้ตรวจหาภาวะอ้วน คือ การตรวจวัดรอบเอว โดยผู้ที่อยู่ในภาวะอ้วนที่เสี่ยงต่อการเกิด
โรคและปัญหาสุขภาพ คือ ผู้ชายที่มีรอบเอวเกินกว่า 90 เซนติเมตร และผู้หญิงที่มีรอบเอวเกินกว่า
80 เซนติเมตร
ผู้ที่อยู่ในภาวะอ้วนหรือมีนาหนักเกิน ควรศึกษาหาข้อมูลเพื่อดูแลสุขภาพตนเอง ควบคุมนาหนักตัว
หรือปรึกษาแพทย์เพื่อวางแผนการรักษาควบคุม ก่อนจะเผชิญปัญหาสุขภาพที่รุนแรงขึน
04
ปัจจุบันแนวโน้มและสถานการณ์โรคอ้วนทั่วโลกเพิ่มมากขึนในสัดส่วน 1 ต่อ 3 คน ในปี
2017 มีผู้เป็นโรคอ้วน 2,200 ล้านคน โดยผู้ชายเพิ่มขึน 3 เท่า ในขณะที่ผู้หญิงเพิ่มขึน 2
เท่า สาหรับในประเทศไทยเองก็มีอัตราเพิ่มสูงมากขึนเช่นกัน ดูได้จากสถิติผู้ป่วยโรคอ้วนใน
ประเทศไทยที่สูงเป็นลาดับที่ 2 ของกลุ่มประเทศอาเซียน รองจากประเทศมาเลเซีย คิดเป็น
16 ล้านคนที่เป็นโรคอ้วน แบ่งเป็นผู้ชาย 4.7 ล้านคนและผู้หญิง 11.3 ล้านคน
จะรู้ได้อย่างไรว่าเข้าข่าย “โรคอ้วน” (Obesity)
นาหนักที่เพิ่มมากขึน แขนขาใหญ่ขึน ลงพุง รับประทานมากเท่าไรก็รู้สึกว่ายังไม่อิ่ม กรนหรือมีภาวะหยุด
หายใจขณะหลับ อาการเหล่านีอาจไม่ได้บ่งบอกว่าคุณเป็นโรคอ้วนเสมอไป
โรคอ้วนสามารถบ่งชีได้ด้วยการวัดค่าดัชนีมวลกายและปริมาณไขมันสะสมในร่างกาย โดยค่าที่เกินมาตรฐาน
อาจหมายถึงภาวะผิดปกติที่มีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคอ้วนและโรคแทรกซ้อนต่าง ๆ ร่วมด้วย
อาการของโรคอ้วน
ไม่มั่นใจในตนเอง
มีปัญหาด้านความสัมพันธ์
หรือการเข้าสังคม
ทากิจกรรมต่าง ๆ
ได้ยากลาบาก
หายใจติดขัด นอนกรน
เหนื่อยง่าย ร้อนง่าย เหงื่อ
ออกง่าย
05
เกิดปัญหาสุขภาพอื่น ๆ
เกิดภาวะซึมเศร้า
สาเหตุของโรคอ้วน
เกิดจากพฤติกรรม
การใช้ชีวิต
เกิดจากกรรมพันธุ์
ร่างกายมีการสะสมไขมันมากเกิน
กว่าที่ร่างกายจะเผาผลาญออกไป
ผ่านกิจกรรมประจาวัน
ร่างกายมีการสะสมไขมัน
มากผิดปกติ
06
เกิดจากพฤติกรรม
การบริโภค
เกิดจากอายุที่มากขึน
การตรวจโรคอ้วนทาได้ด้วยการหาค่า BMI และการตรวจวัด
รอบเอว
เมื่อไปพบแพทย์ แพทย์จะตรวจร่างกาย ซักประวัติสุขภาพ
การใช้ชีวิตประจาวัน การบริโภคอาหารและเครื่องดื่ม การ
สูบบุหรี่ การดื่มสุรา การใช้สารเสพติด การทากิจกรรม
ต่าง ๆ ประวัติสุขภาพของครอบครัว ความรู้สึกที่มีต่อภาวะ
อ้วน และปัญหาที่กาลังเผชิญจากภาวะอ้วน
ส่วนการตรวจเพิ่มเติมเมื่อทราบว่าผู้ป่วยกาลังเผชิญกับภาวะ
อ้วน ได้แก่ การตรวจวัดความดันโลหิต การตรวจหาระดับ
นาตาลและไขมันในเลือด เพื่อให้ทราบผลความผิดปกติแล้ว
นาไปสู่การวางแผนรักษาต่อไป
การตรวจโรคอ้วน07
เพื่อให้ผู้ป่วยที่มีภาวะอ้วนมีนาหนักอยู่ในเกณฑ์
ปกติ มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง และมี
สุขภาพจิตที่ดี สามารถทาได้โดยการดูแลสุขภาพ
ด้วยตนเอง ควบคุมอาหารและพฤติกรรมการ
บริโภค ออกกาลังกายอย่างเหมาะสมสม่าเสมอ
ส่วนการรักษาทางการแพทย์ แพทย์จะพิจารณา
เป็นกรณี อาจมีบางรายที่ควรรับประทานยาลด
นาหนักภายใต้ใบสั่งแพทย์ควบคู่กับการดูแล
ตนเอง หรือบางราย แพทย์อาจต้องทาการผ่าตัด
เพื่อช่วยเหลือให้ผู้ป่วยมีอาการดีขึน ก่อนจะรักษา
ในขันต่อ ๆ ไป
การรักษาโรคอ้วน08
ลด ละ เลิก เครื่องดื่มที่มี
ปริมาณนาตาลหรือ
แอลกอฮอล์สูง
ออกกาลังกายอย่างน้อยวันละ
30 นาที ตามความเหมาะสม
ของสภาพร่างกาย
ดื่มนาเปล่าสะอาดอย่างน้อย
8 - 10 แก้วต่อวัน
ใส่ใจเรื่องอาหารการกิน
โภชนาการ ควบคุมอาหาร ลดแป้ง
เน้นผักและผลไม้
เลือกวิธีปรุงอาหารแบบ ต้ม นึ่ง
ย่างมากกว่าการทอดหรือผัด นอนหลับพักผ่อนใน
ช่วงเวลาที่เหมาะสมคือ
22.00 - 06.00 น.
ภาวะแทรกซ้อนของโรคอ้วน
เมื่อเผชิญกับโรคอ้วน ทาให้เพิ่มความเสี่ยงต่อการป่วยด้วยโรคและอาการต่าง ๆ ที่
เกี่ยวข้อง ไปจนถึงโรคและอาการที่ร้ายแรงที่อาจเกิดขึนได้ เช่น ความดันโลหิต
สูง ไขมันในเลือดสูง
09
ส่วนปัญหาสุขภาพจิตที่กระทบต่อการใช้ชีวิตซึ่งอาจเกิดขึนตามมา ได้แก่ การขาดความมั่นใจใน
ตนเอง ความรู้สึกโดดเดี่ยว เก็บตัว แยกตัว นาไปสู่ปัญหาด้านความสัมพันธ์ การเข้าสังคม
การเรียน การทางาน หรืออาจเกิดภาวะซึมเศร้าได้
ไขมันพอกตับ
การรับประทานอาหารมากเกินไป เป็น
สาเหตุหนึ่งที่ทาให้เกิดไขมันก่อตัวขึนใน
ตับ เมื่อตับไม่ได้นาไขมันไปใช้หรือย่อย
สลายอย่างที่ควรจะเป็นก็อาจเกิดการ
สะสมไขมันขึน โดยร้อยละ 20 ของ
คนที่เป็นโรคอ้วนจะมีโรคไขมันพอกตับ
ร่วมอยู่ด้วย
ภาวะหยุดหายใจขณะหลับ Sleep apnea
สาหรับคนที่มีนาหนักเกินและเป็นโรคอ้วน มัก
มีไขมันสะสมในผนังลาคอมากขึน ผนังลาคอ
จึงหนาและมีลักษณะลาคอหดสันมากขึน
ช่องลาคอจึงแคบลง ทาให้เกิดการอุดกัน
ทางเดินหายใจ และเสี่ยงเกิดภาวะหยุดหายใจ
ขณะหลับได้
กรดไหลย้อน ในผู้ที่เป็นโรคอ้วนจะมีความดันในช่องท้องและความดันใน
กระเพาะอาหารสูงขึน ทาให้กรดและอาหารที่กาลังย่อยในกระเพาะอาหาร
ไหลทวนย้อนกลับเข้าสู่หลอดอาหาร เกิดเป็นโรคกรดไหลย้อนได้
ภาวะไอจามปัสสาวะเล็ด ภาวะไอ จาม
ปัสสาวะเล็ด เกิดจากกล้ามเนืออุ้งเชิง
กรานที่คอยพยุงท่อปัสสาวะและ
กระเพาะปัสสาวะหย่อนยาน สามารถ
เกิดขึนได้จากภาวะผิดปกติของร่างกาย
ด้านต่าง ๆ รวมถึงโรคอ้วนด้วย เมื่อ
ขาดตัวช่วยพยุงท่อปัสสาวะเมื่อเวลาไอ
หรือจาม ท่อปัสสาวะเปิดตัวทาให้
ปัสสาวะเล็ดออกมา
ประจาเดือนผิดปกติ
ในสตรีที่มีนาหนักเกินเกณฑ์ปกติและมีภาวะ
อ้วนอาจส่งผลให้ประจาเดือนมาไม่ปกติ ขาด
ประจาเดือนไปได้คราวละหลาย ๆ เดือน
เนื่องจากในคนอ้วนผิวหนังสามารถเปลี่ยน
เซลล์ไขมันไปเป็นฮอร์โมนเอสโตรเจน ซึ่งมีผล
ต่อการหลั่งฮอร์โมน FSH และฮอร์โมน LH
ทาให้ประจาเดือนมาไม่ปกติ
โรคเบาหวาน นาหนักเกินเกณฑ์ หรือความอ้วนเป็นปัจจัยหนึ่งของความเสี่ยงของการเป็นเบาหวาน เนื่องจาก
ในผู้ป่วยโรคอ้วน อินซูลินที่หลั่งจากตับอ่อนอาจออกฤทธิ์ไม่ดี
ส่งผลให้เกิดภาวะดือต่ออินซูลิน ทาให้เนือเยื่อตอนปลายตอบสนองต่ออินซูลินได้น้อยลง เบตาเซลล์
ไม่ทางาน ไขมันในเลือดสูง ทาให้เกิดโรคที่เกี่ยวกับระบบการเผาผลาญ (Metabolic syndrome)
โรคข้อเสื่อม ในการเดินของคนอ้วนแต่ละก้าวจะเกิดเเรงกดกระแทกที่ข้อเข่า
มากกว่าคนไม่อ้วน อีกทังข้อเข่าที่มีเนือเยื่อไขมันมาก ๆ จะล้นไปกดเเละ
ทาลายผิวกระดูกอ่อนที่อยู่ใกล้ ๆ เป็นการเร่งให้เกิดโรคข้อเสื่อมเร็วขึน
ยาลดความอ้วน หรือยาลดนาหนัก เป็นสารที่มีผลทางเภสัชวิทยา ซึ่งจะลดหรือควบคุมนาหนัก
ยากลุ่มนีจะเปลี่ยนแปลง การควบคุมนาหนัก,โดยการเปลี่ยนแปลงทังความอยากอาหาร, หรือ การ
ดูดซึมพลังงาน รูปแบบการรักษาหลักๆ สาหรับผู้ที่มี นาหนักเกิน และ อ้วน เป็นเรื่องเฉพาะ
บุคคล แต่จะยังคงเป็นการควบคุมอาหาร และ การออกกาลังกาย
ยาลดความอ้วนหรือยาลดนาหนัก10
ดักจับไขมันทังดีและเสียของ
ร่างกายทาให้ร่างกายขาดไขมัน
ถ่ายบ่อย กลาง-มาก
ดักจับไขมันได้ดี
กินอะไรก็ได้ตามใจปาก
ไม่ต้องกลัวอ้วน
ข้อดี VS ข้อเสีย
ของยาลดนาหนัก
กินยังไง นาหนักก็ไม่ขึน
เห็นผลไว ทันใจ
ประหยัดเวลาเหมาะสาหรับ
คนที่ไม่มีเวลาออกกาลังกาย
ไม่ค่อยหิว
ทาให้ขาดสารอาหารที่จาเป็น
มีผลเสียระยะยาว
สมองจะเบลอเพราะมึนยา
และขาดสารอาหาร
-ยาลดความอยากอาหาร
-ยาฮอร์โมนไทรอยด์
-ยาขับปัสสาวะ
-ออร์ลิสแตท (Orlistat)
-ลอร์คาเซริน (Lorcaserin)
-เฟนเตอมีนและโทพิราเมท ชนิดออกฤทธิ์เร็ว
(Phentermine และ Topiramate-extended Release)
-ยาลดการหลั่งกรดในกระเพาะอาหาร
-ยาลดอัตราการเต้นของหัวใจ
-ยานอนหลับ
-อาหารเสริม (Dietary Supplements)
ชนิดของยาลดนาหนัก
อันตรายจากยาลดนาหนักที่ควรระวัง
•อัตราการเต้นของหัวใจเร็วขึน
•ความดันโลหิตสูงขึนผิดปกติ
•นอนไม่หลับ
•วิตกกังวล
•ปวดศีรษะ วิงเวียนศีรษะ
•มีอาการอ่อนแรง
•ลินเปลี่ยนรส หรือรู้สึกถึงรสโลหะภายในปาก
•ปากแห้ง
•มีอาการชาตามผิวหนัง
•คลื่นไส้ ท้องเสีย หรือมีปัญหาเกี่ยวกับระบบย่อยอาหาร
•เป็นตะคริวที่ท้อง
•มีปัญหาที่ตับ
อ้วนแบบลูกแอปเปิ้ล (apple-shape
obesity) หรือ อ้วนลงพุง (central
obesity)
คือคนอ้วนที่มีรอบเอวใหญ่กว่ารอบสะโพก
เกิดจากมีไขมันสะสมมากในช่องท้องและ
อวัยวะภายใน ไขมันที่อยู่ในอวัยวะภายในนีจะ
เป็นตัวการที่ทาให้เกิดโรคแทรกซ้อนต่างๆ
เช่น โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ
โรคความดันโลหิตสูง
11 ลักษณะของคนอ้วน
อ้วนแบบลูกแพร์ (pear-shape obesity)
หรืออ้วนชนิดสะโพกใหญ่
ส่วนใหญ่เป็นลักษณะที่พบในเพศหญิง โดย
จะมีไขมันสะสมอยู่มากบริเวณสะโพกและ
น่อง อ้วนลักษณะนียากต่อการลดนาหนัก
แต่โอกาสที่จะเกิดโรคแทรกซ้อนต่างๆ จะ
น้อยกว่าชนิดแรก
อ้วนทังตัว (generalized obesity)
ได้แก่ คนอ้วนที่มีไขมันทังตัวมากกว่าปกติ
กระจายตัวอยู่ตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย
โดยรอบ มีทังลงพุงและสะโพกใหญ่ รวมถึงมี
โรคแทรกซ้อนทุกอย่างดังกล่าว และโรคที่เกิด
จากนาหนักตัวมากโดยตรง เช่น โรคทางไขข้อ
ปวดข้อ ข้อเสื่อม ปวดหลัง เหนื่อยง่าย หายใจ
ลาบากเพราะไขมันสะสม ทาให้ระบบหายใจ
ทางานติดขัด
ประเภทของโรคอ้วน
1
Obesity of food ถือเป็นประเภทที่พบ
มากของโรคอ้วนในโลก คือ โรคอ้วนจาก
อาหาร มันเกิดขึนกับการรับประทาน
อาหารและนาตาลที่มากเกินไป ซึ่งวิธีแก้
โรคอ้วนประเภทนีสามารถทาได้โดยการลด
อาหาร หรือการทานอาหารให้น้อยลง
หลีกเลี่ยงอาหารที่มีนาตาลหรือความหวาน
สูง และการออกกาลังกายอย่าง น้อย วัน
ละ 30 นาที
2
Obesity “nervous stomach” โรคอ้วนจากความวิตก
กังวล ความเครียดลงกระเพาะ และภาวะซึมเศร้า เป็น
สาเหตุ ซึ่งคนส่วนใหญ่ที่เป็นโรคอ้วนประเภทนี มักจะ
ชอบบริโภคขนมขบเคียวอยู่บ่อยๆ ซึ่งวิธีแก้ก็สามารถทา
ได้โดยการฝึกควบคุมความวิตกกังวล การหากิจกรรม
อื่นๆทาการออกกาลังกาย ซึ่งจะช่วยบรรเทาคุณจาก
ความเครียดได้เป็นอย่างดี
12
3
Gluten obesity โรคอ้วนจากภูมิแพ้อาหาร
ที่มี Gluten ประเภทขนมปัง และธัญพืช
(เบเกอร์รี่) ซึ่งพบได้ในกลุ่มผู้หญิงวัยหมด
ประจาเดือน ช่วงวัยรุ่นที่เริ่มมีการ
เปลี่ยนแปลงทางฮอร์โมน ซึ่งวิธีแก้ก็
สามารถทาได้โดยการหลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่
และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ หมั่นการออก
กาลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 2-3 ครัง
4
Atheros Genic โรคอ้วนจากระบบเผา
ผลาญอาหาร รวมถึงระบบการหายใจ
ควรหลีกเลี่ยงเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และ
หมั่นออกกาลังกายให้สม่าเสมอ
5
Obesity due to venous circulation
โรคอ้วนเกิดจากการไหลเวียนของเลือดดา
ส่วนใหญ่มักได้รับการถ่ายทอดทาง
พันธุกรรม หรืออาจเกิดขึนในช่วงระยะเวลา
ของ การตังครรภ์ หรือคนที่มีอาการขา
บวม ซึ่งวิธีแก้ไขสามารถทาได้โดยการออก
กาลังกาย เช่น การวิ่ง หรือ การเดินขึน
-ลงบันได
6
Obesity of inactivity โรคอ้วนที่เกิดจากการ
ไม่ชอบออกกาลังกาย มักพบในคนที่ชอบอยู่นิ่งๆ
ไม่ใช้งานอวัยวะใดๆในร่างกายเลยทาให้เป็นโรค
อ้วน ซึ่งวิธีแก้ไขนัน สามารถทาได้ง่ายๆ คือ
ในช่วงที่รับประทานอาหารให้เคียวช้าๆ เคียว
อาหารให้ละเอียดก่อนกลืน เพราะทาให้อาหาร
ย่อย ไม่สะสมเป็นไขมันนั่นเอง
แหล่งอ้างอิง
https://www.pobpad.com/%E0%B8%AD%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%99
https://www.bltbangkok.com/article/info/10/235
https://www.honestdocs.co/the-effect-of-obesity
https://www.pobpad.com
https://health.kapook.com/view2270.html
https://www.bangkokhospital.com/th/disease-treatment/the-health-effects-of-
overweight-and-obesity
https://www.pobpad.com/%E0%B8%AD%E0%B9%89
http://www.lovefitt.com/healthy-fact
13
จัดทาโดย
นางสาวกษิณัฏฐ์ นนพัชรพงศ์
ม.6/13 เลขที่21
นางสาวฉัตรระวี รุ่งเรือง
ม6/13 เลขที่ 10
14

More Related Content

What's hot

การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน" การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน" Utai Sukviwatsirikul
 
Powerpoint
PowerpointPowerpoint
Powerpointnin261
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มาก
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มากโรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มาก
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มากfainaja
 
ใบงานที่ 2 สารคดี
ใบงานที่ 2 สารคดีใบงานที่ 2 สารคดี
ใบงานที่ 2 สารคดีSuparnisa Aommie
 
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพrubtumproject.com
 
โรคอ้วน+2..[1]
โรคอ้วน+2..[1]โรคอ้วน+2..[1]
โรคอ้วน+2..[1]arpakornsw2
 
สุขศึกษา
สุขศึกษาสุขศึกษา
สุขศึกษาSura Lika
 
บทนำ โรคอ้วน
บทนำ โรคอ้วนบทนำ โรคอ้วน
บทนำ โรคอ้วนพัน พัน
 
โครงงานคอม โรคอ้วน เนื้อหา
โครงงานคอม โรคอ้วน เนื้อหาโครงงานคอม โรคอ้วน เนื้อหา
โครงงานคอม โรคอ้วน เนื้อหาAoraoraor Pattraporn
 
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุงMetabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุงUtai Sukviwatsirikul
 
Columnis
ColumnisColumnis
ColumnisSangsue
 
คอม(ฟาสต์ฟู้ต)
คอม(ฟาสต์ฟู้ต)คอม(ฟาสต์ฟู้ต)
คอม(ฟาสต์ฟู้ต)Kanoksak Kangwanwong
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่fainaja
 
ผู้ชาย กินได้ ไม่ลงพุง
ผู้ชาย กินได้ ไม่ลงพุงผู้ชาย กินได้ ไม่ลงพุง
ผู้ชาย กินได้ ไม่ลงพุงJOMYNN.COM
 

What's hot (16)

Cpg obesity in children
Cpg obesity in childrenCpg obesity in children
Cpg obesity in children
 
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน" การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
 
Powerpoint
PowerpointPowerpoint
Powerpoint
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มาก
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มากโรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มาก
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มาก
 
ใบงานที่ 2 สารคดี
ใบงานที่ 2 สารคดีใบงานที่ 2 สารคดี
ใบงานที่ 2 สารคดี
 
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
 
โรคอ้วน+2..[1]
โรคอ้วน+2..[1]โรคอ้วน+2..[1]
โรคอ้วน+2..[1]
 
สุขศึกษา
สุขศึกษาสุขศึกษา
สุขศึกษา
 
บทนำ โรคอ้วน
บทนำ โรคอ้วนบทนำ โรคอ้วน
บทนำ โรคอ้วน
 
โครงงานคอม โรคอ้วน เนื้อหา
โครงงานคอม โรคอ้วน เนื้อหาโครงงานคอม โรคอ้วน เนื้อหา
โครงงานคอม โรคอ้วน เนื้อหา
 
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุงMetabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
 
Cpg obesity
Cpg obesityCpg obesity
Cpg obesity
 
Columnis
ColumnisColumnis
Columnis
 
คอม(ฟาสต์ฟู้ต)
คอม(ฟาสต์ฟู้ต)คอม(ฟาสต์ฟู้ต)
คอม(ฟาสต์ฟู้ต)
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่
 
ผู้ชาย กินได้ ไม่ลงพุง
ผู้ชาย กินได้ ไม่ลงพุงผู้ชาย กินได้ ไม่ลงพุง
ผู้ชาย กินได้ ไม่ลงพุง
 

Similar to Final project

โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวานweerawatkatsiri
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวานweerawatkatsiri
 
สอนการใช้ยาลดความอ้วนสำหรับนักเรียน
สอนการใช้ยาลดความอ้วนสำหรับนักเรียนสอนการใช้ยาลดความอ้วนสำหรับนักเรียน
สอนการใช้ยาลดความอ้วนสำหรับนักเรียนduangkaew
 
Diabete Mellitus 01
Diabete Mellitus 01Diabete Mellitus 01
Diabete Mellitus 01vora kun
 
โรคอ้วน007
โรคอ้วน007โรคอ้วน007
โรคอ้วน007Anirut007
 
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์Utai Sukviwatsirikul
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4fainaja
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4fainaja
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4fainaja
 
โรคอ้วน 1/13
โรคอ้วน 1/13โรคอ้วน 1/13
โรคอ้วน 1/13memomild
 
โครงงานการทดลองน้ำอัดลม B
โครงงานการทดลองน้ำอัดลม  Bโครงงานการทดลองน้ำอัดลม  B
โครงงานการทดลองน้ำอัดลม BKM117
 
พัชราภรณ์
พัชราภรณ์ พัชราภรณ์
พัชราภรณ์ pacharapornoiw
 
อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด
อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด
อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด Kraisee PS
 
อาหารตามหมู่เลือด
อาหารตามหมู่เลือดอาหารตามหมู่เลือด
อาหารตามหมู่เลือดVorawut Wongumpornpinit
 
Finals projevt
Finals projevtFinals projevt
Finals projevtonginzone
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน โรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน 54321_
 
เรื่องโรคเบาหวาน
เรื่องโรคเบาหวานเรื่องโรคเบาหวาน
เรื่องโรคเบาหวาน54321_
 

Similar to Final project (20)

โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
สอนการใช้ยาลดความอ้วนสำหรับนักเรียน
สอนการใช้ยาลดความอ้วนสำหรับนักเรียนสอนการใช้ยาลดความอ้วนสำหรับนักเรียน
สอนการใช้ยาลดความอ้วนสำหรับนักเรียน
 
Clu5
Clu5Clu5
Clu5
 
กินอยู่อย่างไรห่างไกลโรค
กินอยู่อย่างไรห่างไกลโรคกินอยู่อย่างไรห่างไกลโรค
กินอยู่อย่างไรห่างไกลโรค
 
Diabete Mellitus 01
Diabete Mellitus 01Diabete Mellitus 01
Diabete Mellitus 01
 
โรคอ้วน007
โรคอ้วน007โรคอ้วน007
โรคอ้วน007
 
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
 
Dm
DmDm
Dm
 
โรคอ้วน 1/13
โรคอ้วน 1/13โรคอ้วน 1/13
โรคอ้วน 1/13
 
โครงงานการทดลองน้ำอัดลม B
โครงงานการทดลองน้ำอัดลม  Bโครงงานการทดลองน้ำอัดลม  B
โครงงานการทดลองน้ำอัดลม B
 
พัชราภรณ์
พัชราภรณ์ พัชราภรณ์
พัชราภรณ์
 
อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด
อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด
อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด
 
อาหารตามหมู่เลือด
อาหารตามหมู่เลือดอาหารตามหมู่เลือด
อาหารตามหมู่เลือด
 
Finals projevt
Finals projevtFinals projevt
Finals projevt
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน โรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
เรื่องโรคเบาหวาน
เรื่องโรคเบาหวานเรื่องโรคเบาหวาน
เรื่องโรคเบาหวาน
 

Final project