SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
Download to read offline
1
สถานที่ส่งสิ่งส่งตรวจของฝ่ ายปรสิตวิทยามีเพียง 1 แห่งเท่านั้น คือห้องปฏิบัติการปรสิตวิทยา
ห้องหมายเลข 14 อาคาร ภปร. ชั้น 4 เวลา 8.00-12.00 น. และ 13.00-15.00 น.
โทร. 0-2256-5386 สายใน 5386
สถานที่ อาคาร เวลาทาการ
หมายเลข
โทรศัพท์
ติดต่อ
หมายเลข
โทรศัพท์
ภายใน
1. “ฝ่ ายปรสิตวิทยา”
สานักงานหลัก
อปร. ชั้น 18 8.00-16.00 น. 0-2256-4387 4387
2. ห้องปฏิบัติการฯ
2.1 ห้องปฏิบัติการปรสิตวิทยา ภปร. ชั้น 4
หมายเลข 14
8.00-15.30 น. 0-2256-5386 5386
2.2 ห้องปฏิบัติการปรสิตวิทยา อปร. ชั้น 18 8.00-16.00 น. 0-2256-4387 4387
3. “คลินิกโรคปรสิต”
มีแพทย์จากฝ่ายปรสิตวิทยาออก
ตรวจผู้ป่วย ให้การรักษาและ
รับปรึกษาโรคทางปรสิตวิทยา
ภปร. ชั้น 2 8.00-12.00 น. 0-2256-4387 5432
สถานที่ทาการของฝ่ ายปรสิตวิทยา
สถานที่และเวลาในการส่งสิ่งส่งตรวจ
2
รายการที่ให้บริการตรวจวินิจฉัย และ วิเคราะห์ทางปรสิตวิทยา ที่อาคาร ภปร. ชั้น 4 ได้แก่
 การตรวจอุจจาระ (Routine stool examination)
 การตรวจหาเลือดออกในระบบทางเดินอาหาร (ICT for occult blood)
 การตรวจหาไขมันในอุจจาระ (Stain for fat)
 การตรวจหาพยาธิโรคเท้าช้างในเลือดหลังการให้ยา (Microfilaria after DEC
treatment [6 mg/kg] single dose)
 การตรวจหาพยาธิโรคเท้าช้างในเลือด (Thin and Thick blood films for
microfilaria )
 การตรวจหาเชื้อมาลาเรียในเลือด (Thin and Thick blood films for malaria)
 การตรวจหาพยาธิเข็มหมุดโดยวิธีสก๊อตเทป (Scotch tape technic)
หมายเหตุ: เป็นรายการที่ให้บริการตรวจวินิจฉัย และ วิเคราะห์โดยเทคนิคการตรวจที่ใช้ระยะเวลาไม่มาก
ขอบข่ายการให้บริการของฝ่ ายปรสิตวิทยา
3
รายการที่ให้บริการตรวจวินิจฉัย และ วิเคราะห์ทางปรสิตวิทยา ที่อาคาร อปร. ชั้น 18 ได้แก่
1. เทคนิคทางปรสิตวิทยา เช่น
การเพาะเชื้อหนอนพยาธิและ โปรโตซัวชนิดต่าง ๆ
 Agar plate culture for Strongyloides & hookworm
 Culture for E. histolytica/ E.dispar
 Culture for T. vaginalis
 Culture for free-living amoebae (Acanthamoeba, Naegleria)
การย้อมสีโปรโตซัวชนิดต่าง ๆ
 Stain for Cryptosporidium, Cyclospora & Isospora
 Stain for Microsporidium
 Stain for Pneumocystis jiroveci เป็นต้น
การจาแนกชนิดของปรสิต เช่น ตัวพยาธิ ตัวแมลง (Parasite Identification)
2. เทคนิคทางภูมิคุ้มกันวิทยา เช่น
การตรวจหาแอนติเจนของเชื้อ
 E.histolytica antigen from pus or stool
 Filaria specific antigen (W.bancrofti)
 ICT for malaria
การตรวจหาแอนติบอดีที่จาเพาะต่อการติดเชื้อ
 IHA for E.histolytica
 Toxoplasma IgG antibody
 Toxoplasma IgM antibody
 Taenia solium IgG antibody (cysticercosis)
 Western blot for Gnathostoma spinigerum
 IFA for Pneumocystis jiroveci เป็นต้น
3. เทคนิคทางอณูชีววิทยา เช่น
การตรวจหาสารพันธุกรรมของโปรโตซัวชนิดต่าง ๆ โดยวิธี Polymerase Chain
Reaction (PCR) เช่น
 PCR for malaria (4 species)
 PCR for Pneumocystis jiroveci เป็นต้น
หมายเหตุ: เป็นรายการที่ให้บริการตรวจวินิจฉัย และ วิเคราะห์โดยเทคนิคการตรวจที่ใช้ระยะเวลามาก
4
ข้อมูลสาคัญในการสั่งตรวจ
 ชื่อ นามสกุล เลขที่ผู้ป่วยนอก (HN)
 เพศ อายุของผู้ป่วย
 ชนิดสิ่งส่งตรวจ วันเวลาที่สั่งและ เก็บสิ่งส่งตรวจ
 การวินิจฉัยโรค
 หอผู้ป่วย หมายเลขโทรศัพท์
 ชื่อแพทย์ผู้สั่งตรวจพร้อมรหัสแพทย์
 ข้อมูลที่สาคัญทางการแพทย์อื่นๆ หากมี เพื่อผลการตรวจที่ถูกต้องรวดเร็วและ
เพื่อความสะดวกในการติดต่อกลับเพื่อขอข้อมูลเพิ่มเติม หรือ ในกรณีที่มีปัญหา
การสั่งตรวจ มีวิธีและ ขั้นตอนดังนี้คือ
1. ใช้ใบสั่งตรวจทางห้องปฏิบัติการของฝ่ายปรสิตวิทยา (สีเทา ขนาด A4 หมายเลข
บ.6329) ให้บริการตรวจวิเคราะห์รวม 26 รายการตรวจ เลือก
โดยทาเครื่องหมาย  ให้ชัดเจนในช่องด้านหน้าของรหัสรายการทดสอบ
การสั่งตรวจทางปรสิตวิทยา
5
6
2. การสั่งตรวจ Routine stool examination หากแพทย์ต้องการให้ผู้ป่วยรอรับผล ให้
ระบุ “รอรับผล” หรือ “ด่วน” ที่ด้านบนของใบสั่งตรวจ ซึ่งจะได้รับผลการตรวจเมื่อ
ครบ 45 นาที
7
ผู้ป่ วยนอก(OPD) ผู้ป่ วยใน(IPD)
ผู้ป่วยติดต่อชาระเงินที่ช่องการเงิน เจ้าหน้าที่หอผู้ป่วยนาใบสั่งตรวจ(สีเทา) และ
สิ่งส่งตรวจมาส่งที่ห้องปฏิบัติการ
อาคาร ภปร. ชั้น 4 ห้องเบอร์ 14
เวลา8.00–12.00น. และ13.00–15.00น.
 
ผู้ป่วยนาใบสั่งตรวจ(สีเทา) และ
สิ่งส่งตรวจมาส่งที่ห้องปฏิบัติการ
อาคาร ภปร. ชั้น 4 ห้องเบอร์ 14
เวลา8.00–12.00น. และ13.00–15.00น.
เจ้าหน้าที่หอผู้ป่วยบันทึกข้อมูลใน
แบบฟอร์มการส่งสิ่งส่งตรวจ
สาหรับผู้ป่วยใน
 
เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการรับและตรวจสอบ
ความถูกต้อง
เจ้าหน้าที่รับและตรวจสอบความถูกต้อง
 
ผู้ป่วยรับใบนัดรับผล เรียกดูผลการตรวจจาก
ระบบคอมพิวเตอร์ online (HIS)
1. การขอสั่งรายการทดสอบเพิ่มเติม หากสั่งเพิ่มภายในวันเดียวกันจะสามารถให้บริการได้
2. การขอทดสอบรายการที่ไม่ได้แสดงไว้ในใบสั่งตรวจ หรือ ต้องการส่งวิเคราะห์นอกเหนือ
ข้อกาหนด เช่น ต้องการส่งวิเคราะห์ CSF แทน Serum หรือ ต้องการส่ง Slide ที่แพทย์ในหอ
ผู้ป่วยสเมียร์บนแผ่นสไลด์ให้แล้ว หรือ ส่งเนื้อเยื่อให้วินิจฉัย เป็นต้น ต้องติดต่ออาจารย์ หรือ
เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบในฝ่ ายปรสิตก่อน ซึ่งในกรณีนี้ ไม่สามารถรายงานผลผ่านระบบ
คอมพิวเตอร์ online(HIS)แพทย์ผู้สั่งหรือพยาบาลที่เกี่ยวข้องต้องติดต่อรับผลด้วยตนเอง
3. กรณีที่ส่งสิ่งส่งตรวจปริมาณจากัด ไม่มาก หรือ ไม่เพียงพอ ที่จะตรวจวิเคราะห์ให้ครบได้ทุก
รายการ ทางห้องปฏิบัติการจะเลือกตรวจรายการที่ใช้ปริมาณสิ่งส่งตรวจน้อยกว่าเป็นลาดับแรก
4. การขนส่งสิ่งส่งตรวจ ต้องใส่ภาชนะปิดมิดชิด หากเป็นสิ่งส่งตรวจที่ต้องการตรวจหา Antigen
ต้องใส่ในภาชนะที่รักษาความเย็นได้ในขณะนาส่ง
ขั้นตอนการนาส่งสิ่งส่งตรวจ
8
สิ่งส่งตรวจที่ไม่เหมาะสมกับการตรวจจะถูกปฏิเสธและอาจส่งคืนให้ผู้ป่ วย หรือ
ผู้ส่งตรวจ หรือ หอผู้ป่ วย ซึ่งได้แก่สิ่งส่งตรวจที่มีลักษณะดังต่อไปนี้
1. ชื่อ-สกุลและHNของผู้ป่วยในใบส่งตรวจไม่ตรงกับบนภาชนะที่บรรจุสิ่งส่งตรวจ
2. ปริมาณสิ่งส่งตรวจมีน้อยเกินไปจนไม่สามารถทาการทดสอบได้
3. สิ่งส่งตรวจที่ไม่เหมาะสมเช่น อุจจาระมีปัสสาวะ หรือ น้าปะปน
 ส่งเลือดเพื่อเพาะเชื้อ Entamoeba histolytica
 นาอุจจาระที่สงสัยการติดเชื้อ Entamoeba histolytica แต่เก็บเข้าตู้เย็นก่อนส่งตรวจ
Routine stool examination หรือ ก่อนส่งเพาะเชื้อ
 นาอุจจาระที่เก็บในตู้เย็นส่งเพาะเชื้อตรวจAgarplatecultureforStrongyloides&hookworm
อุจจาระมีปัสสาวะปน
อุจจาระมีปริมาณน้อยเกินไป
อุจจาระมีน้าปน อุจจาระห่อด้วยกระดาษชาระ
อุจจาระที่มีปริมาณเหมาะสม
การปฏิเสธ และ ส่งคืนสิ่งส่งตรวจ
9
หมายเหตุ: การรับผลการตรวจวิเคราะห์ รายการต่าง ๆ ทางห้องปฏิบัติการจะออกผลภายในวันและ
เวลาที่กาหนดไว้(รายละเอียดดังตารางในภาคผนวก)
การรับผล วิธีการ ติดต่อสอบถาม
ผู้ป่ วยนอก (OPD) ผู้ป่ วยที่ส่งตรวจอุจจาระ (Routine stool
examination) เมื่อครบ 45 นาที ให้นาใบนัดรับ
ผลไปยื่นที่หน้าห้องตรวจแพทย์ พยาบาล หรือ
เจ้าหน้าที่หน้าห้องตรวจจะตรวจสอบใบรับผล
และพิมพ์ผลการตรวจจากระบบคอมพิวเตอร์
online (HIS) และ พร้อมให้ผู้ป่วยเข้าพบแพทย์
ต่อไป
0-2256-5386
0-2256-4387
ผู้ป่ วยใน (IPD) ทางหอผู้ป่ วยสามารถเรียกดูผลการตรวจ
วิเคราะห์ได้จากระบบคอมพิวเตอร์ online (HIS)
0-2256-5386
0-2256-4387
การแจ้งผลทาง
โทรศัพท์
ทางฝ่ายปรสิตวิทยา ไม่มีนโยบายแจ้งผลทาง
โทรศัพท์ เว้นแต่ในกรณีจาเป็นเท่านั้นซึ่งแพทย์
ผู้สั่งตรวจจะต้องติดต่อแจ้งล่วงหน้ากับอาจารย์
ผู้รับผิดชอบ
สอบถามเพิ่มเติม สามารถสอบถามอาจารย์ผู้รับผิดชอบรายการ
ตรวจนั้น ๆ ตามหมายเลขโทรศัพท์ที่ระบุไว้ใน
ตารางของหน้าที่ 30
0-2256-4387
การรับผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการฯ
10
Acanthamoeba spp.
Naegleria spp.
Plasmodium spp.
Pneumocystis jiroveci
Isospora spp.
Capillaria philippinensis
เมื่อตรวจพบเชื้อจานวนตั้งแต่
1 เซลล์ หรือ
หรือ 1 Oocyst
หรือไข่ 1 ใบ ขึ้นไป
Strongyloides stercoralis เมื่อตรวจพบเชื้อที่มีจานวนตั้งแต่
20 larvae/smear ขึ้นไป
เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการของฝ่ายฯ จะโทรศัพท์แจ้งไปที่แผนก หรือ หอผู้ป่วย
ที่ส่งตรวจให้ทราบว่าออกผลการตรวจแล้ว เพื่อให้เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องตรวจดู
รายงานผลการตรวจทางระบบคอมพิวเตอร์ online (HIS) และ รายงานแพทย์ต่อไป
การรายงานการตรวจพบเชื้อปรสิตก่อโรค
ที่อาจมีผลรุนแรงต่อผู้ป่ วย
11
1. กล่องใส่อุจจาระเป็นกล่องสีฟ้าเทาเบอร์ 3 หรืออนุโลมกล่อง หรือ กระปุกสะอาด
ขนาดใกล้เคียงกัน
2. เก็บอุจจาระใส่กล่องให้มีปริมาณเพียงพอ ปริมาณครึ่งกล่อง (ประมาณ 5 กรัม
หรือลูกมะนาวขนาดเล็ก)
3. ไม่เก็บอุจจาระที่ถ่ายบนพื้นดิน อุจจาระต้องไม่มีปัสสาวะ หรือ น้าปน หรือ สิ่ง
แปลกปลอมอื่น ๆ เช่น กระดาษชาระ เศษไม้ใบไม้เป็นต้น
4. ถ้าอุจจาระมีส่วนที่เป็นมูก-เลือด ควรเลือกเก็บมูก-เลือดด้วย เนื่องจากมักพบเชื้อ
ในส่วนของมูกและ เลือด ทั้งนี้การขับ หรือ สร้างมูกโดยเซลล์ของผนังลาไส้ เป็น
กลไกหนึ่งของร่างกายที่ตอบสนองต่อเชื้อหรือสิ่งแปลกปลอมในระบบทางเดิน
อาหาร
Bruce Williams, DVM
Anthong Bray, MD
Crazygallery.info
Atlas of Pediatric Physical
Diagnosis
การเก็บสิ่งส่งตรวจ
อุจจาระ (Stool)
12
Simple smear
5. การสั่งตรวจ Routine stool examination เป็นการตรวจวินิจฉัยหาเชื้อปรสิตทั้งโปรโตซัว
และหนอนพยาธิด้วยวิธี Simple smear และ วิธี Concentration technique โดยรายงาน
Genus species พร้อมบอกระยะของเชื้อ
Simple smear สามารถตรวจพบระยะไข่ ตัวอ่อนและตัวแก่ของหนอนพยาธิ และ ระยะ
Trophozoite และ Cyst ของโปรโตซัวได้
วิธีนี้เขี่ยอุจจาระหรือสิ่งส่งตรวจปริมาณเท่าหัวไม้ขีด มาคนกับหยดน้าเกลือที่หยด
ไว้บนสไลด์

13
Concentration technique เป็นการเพิ่มความไวหรือโอกาสการพบเชื้อปรสิต เพิ่มประสิทธิภาพ
ของการตรวจ โดยมี Formalin ช่วยตรึงสภาพของเชื้อ ส่วน Ether หรือ Ethyl acetate
(อย่างใดอย่างหนึ่ง) เป็นตัวละลายไขมันในอุจจาระ ทาให้เชื้อปรสิตแยกตัวออกจาก
อุจจาระ เมื่อนาไปปั่นเหวี่ยง เชื้อจะตกตะกอนที่ก้นหลอด วิธีนี้ใช้อุจจาระจานวนมาก
ประมาณลูกมะนาวขนาดเล็ก จึงมีโอกาสพบเชื้อได้มากกว่าวิธี Simple smear
วิธีนี้ตรวจพบระยะไข่ ตัวอ่อน และตัวแก่ของหนอนพยาธิและระยะ Cyst ของ
โปรโตซัวได้แต่ไม่สามารถตรวจพบระยะ Trophozoite
แบ่งอุจจาระมา 5 g เติม Normal saline
คนอุจจาระให้กระจายตัว กรองผ่านผ้ากอซ
เติม 10% Formalin เติม Ethyl acetate
14
 ในกรณีที่ต้องการตรวจหาระยะ Trophozoite ของเชื้อโปรโตซัว ควรส่งอุจจาระ
ภายใน 30 นาที ถ้าไม่สามารถส่งได้ ควรเติมน้ายารักษาสภาพ PVA (Polyvinyl alcohol)
หรือ MIF (Merthiolate Iodine Formadehyde) จนท่วมและคนให้เข้ากัน (ไม่เกิน 1
สัปดาห์) ควรบันทึกวันและเวลาที่เก็บอุจจาระไว้บนภาชนะด้วย
 ในกรณีต้องการหาไข่พยาธิ หรือ Cyst ของโปรโตซัว ควรส่งอุจจาระภายใน 24 ชั่วโมง
ถ้าไม่สามารถส่งได้ ควรเก็บไว้ในตู้เย็นที่ 4 องศาเซลเซียส (ไม่เกิน 3 วัน) หรือใส่ลงใน
10 % formalin จนท่วมและคนให้เข้ากัน (ไม่เกิน 1 สัปดาห์)
เขย่า เข้าเครื่องปั่นเหวี่ยง
หลังปั่นเหวี่ยง
15
6. การสั่งเพาะเชื้อบิดมีตัว (Culture for E.histolytica) ให้ส่งอุจจาระภายใน
30 นาที หรือ เก็บไว้ที่อุณหภูมิห้อง (ภายใน 24 ชั่วโมง) ห้ามนาสิ่งส่งตรวจ
เข้าตู้เย็น
7. การสั่งตรวจวิเคราะห์หา Antigen ของเชื้อ Entamoeba histolytica ควรส่ง
อุจจาระภายในวันนั้น ถ้าไม่สามารถส่งได้ ควรเก็บไว้ในตู้เย็นที่ 4 องศาเซลเซียส
(ทันทีภายใน 24 ชั่วโมง) หรือแช่แข็งที่ -20 องศาเซลเซียส (ไม่เกิน 1 สัปดาห์)


16
8. การเพาะเชื้อพยาธิเส้นด้ายและ พยาธิปากขอ (Agar plate culture for Strongyloides and
Hookworm)
สิ่งส่งตรวจที่มีหนอนพยาธิ เมื่อวางบนวุ้นเลี้ยงเชื้อ จะพบร่องรอย การเคลื่อนที่ของ
หนอนพยาธิในเนื้อวุ้นได้ โดยหลักการนี้ หากสิ่งส่งตรวจมีตัวอ่อนของพยาธิเส้นด้าย
(Strongyloides stercoralis) สามารถพบร่องรอยดังกล่าวพยาธิตัวอ่อน (ระยะ Rhabditiform
larva) นี้ยังสามารถเติบโตเป็นตัวอ่อนระยะถัดไป (ระยะ Filariform larva) และพัฒนาต่อไป
เป็นตัวแก่เต็มวัย (Free-living adults) ในวุ้นเลี้ยงเชื้อได้ พยาธิตัวแก่เพศเมียยังสามารถสร้าง
ไข่ภายในลาตัวและออกลูกเป็นตัวอ่อนต่อไป ทาให้พบพยาธิจานวนเพิ่มขึ้นในวุ้นเลี้ยงเชื้อได้
ดังนั้นการเพาะเชื้อในวันหลัง ๆ จะพบหนอนพยาธิจานวนมากในวุ้นเลี้ยงเชื้อ
หากอุจจาระมีไข่ของพยาธิปากขอ (Hookworm) เมื่อวางลงบนวุ้นเลี้ยงเชื้อนี้ ไข่ของ
พยาธิปากขอสามารถพัฒนาจาก Non-embryonated egg เป็น Embryonated egg คือมีตัวอ่อน
เกิดขึ้นในไข่ ซึ่งตัวอ่อนในไข่นี้จะออกจากไข่ อยู่ในวุ้นเลี้ยงเชื้อ เป็นระยะ Rhabditiform
larva การไชเคลื่อที่ของ Rhabditiform larva ก่อให้เกิดร่องรอยการเคลื่อนที่ในเนื้อวุ้นได้
เช่นเดียวกัน ตัวอ่อนระยะ Rhabditiform นี้ยังสามารถพัฒนาต่อเป็นตัวอ่อนระยะถัดไปคือ
ระยะ Filariform (แต่ระยะ Filariform ของพยาธิปากขอนี้ จะไม่พัฒนาเป็นตัวแก่เต็มวัยใน
วุ้นเลี้ยงเชื้อ)
ดังนั้นในวันหลัง ๆ ของการเพาะเชื้อ หากอุจจาระผู้ป่วยติดเชื้อไข่พยาธิปากขอ จะ
พบตัวอ่อนระยะ Filariform ในวุ้นเลี้ยงเชื้อได้
พบร่องรอยการเคลื่อนที่ของหนอนพยาธิในเนื้อวุ้น
หมายเหตุ: หากต้องการส่งตรวจมากกว่า 1 รายการต้องเพิ่มปริมาณอุจจาระขึ้นตามจานวนรายการส่งตรวจ
17
9. ถ้าอุจจาระของผู้ป่วยมีตัวพยาธิ หรือ วัตถุที่สงสัยว่าเป็นตัวพยาธิปะปนออกมา ควรส่งตรวจ
ทั้งอุจจาระและตัวพยาธิพร้อมกัน โดยเลือกสั่งตรวจ 2 ช่องคือ Routine stool examination
และ Identification of parasite
 Routine stool examination เป็นการตรวจวิเคราะห์ภายใต้กล้องจุลทรรศน์ ว่าอุจจาระมี
เชื้อหรือไม่ และหากมีการติดเชื้อ ทางห้องปฏิบัติการจะรายงานชนิด (Genus Species)
ระยะ และ จานวนของเชื้อที่ตรวจพบ
 Identification of parasite เป็นการวินิจฉัยจาแนกบอกชนิดของหนอนพยาธิ หรือ วัตถุ
สงสัยที่พบปนมากับอุจจาระ โดยรายงานเป็นชนิด (GenusSpecies) และระยะของเชื้อ


18
หมายเหตุ: ตามมาตรฐานสากล การเก็บอุจจาระเพื่อส่งตรวจ (Stool examination) กาหนดให้ผู้ป่วย
เก็บอุจจาระ 3 วัน
หากผู้ป่วยไม่สามารถถ่ายอุจจาระติดต่อกัน 3 วันก็สามารถเก็บอุจจาระ วันเว้นวัน หรือ
วันใดก็ได้ที่ถ่ายได้แต่ต้องเก็บให้ได้3 วันตลอดช่วงเวลาไม่เกิน 10 วัน
หากผู้ป่วยมีประวัติท้องผูกมาก แพทย์มักพิจารณาให้ยาระบาย
ในกรณีนี้จะได้รับใบสั่งตรวจ 3 ใบ (เพื่อเก็บและ ส่งตรวจอุจจาระ 3 วัน) และเขียนวันที่
เก็บตัวอย่างอุจจาระที่ภาชนะให้ชัดเจน
ผู้ป่วยสามารถขอกล่องใส่อุจจาระครั้งเดียวเท่ากับจานวนใบสั่งตรวจ โดยกล่องใส่
อุจจาระ 1 กล่อง จะใช้สาหรับใส่อุจจาระ 1 วัน ถ้าผู้ป่วยไม่สะดวกที่จะมาส่งอุจจาระทุกครั้ง
สามารถเก็บจนครบ 3 วัน จึงนาส่งพร้อมกันในช่วงเช้าของวันที่แพทย์นัดตรวจก็ได้
กรณีที่ต้องการเพาะเชื้อหนอนพยาธิ ให้เก็บอุจจาระไว้ที่อุณหภูมิห้องเท่านั้น
ห้ามนาเข้าตู้เย็น
หากเป็นการส่งตรวจเพาะเชื้อProtozoaเช่นEntamoebahistolytica ควรส่งภายในวันนั้น
19
1. เก็บหนองใส่ในภาชนะสะอาดไม่ควรต่ากว่า 1 มิลลิลิตร
2. การสั่งเพาะเชื้อทางปรสิตวิทยา (Culture for E. histolytica/ E.dispar) ให้ส่งหนองภายใน
30 นาที ห้ามนาเข้าตู้เย็น
3. ในกรณีที่ต้องการตรวจหาระยะ Trophozoite ของเชื้อโปรโตซัว ให้สั่งตรวจ Routine stool
examination และ ควรส่งหนองภายใน 30 นาที ถ้าไม่สามารถส่งได้ ควรใส่ลงในน้ายารักษา
สภาพ เช่นใช้ PVA (Polyvinyl alcohol) หรือ MIF (Merthiolate Iodine Formadehyde)
เทน้ายาให้ท่วม และ คนให้เข้ากัน (แล้วต้องส่งภายใน 1 สัปดาห์) ควรบันทึกวันและเวลาที่เก็บ
หนองไว้บนภาชนะด้วย
4. การสั่งตรวจหา Antigen ของเชื้อ Entamoeba histolytica ในหนองควรส่งภายในวันนั้น ถ้า
ไม่สามารถส่งได้ ควรเก็บไว้ในตู้เย็นที่ 4 องศาเซลเซียส (แล้วต้องส่งภายใน 24 ชั่วโมง) หรือ
แช่แข็งที่ -20 องศาเซลเซียส (แล้วต้องส่งภายใน 1 สัปดาห์)
5. ถ้าหนองมีส่วนที่เป็นเลือด ควรเลือกเก็บส่วนที่เป็นเลือดด้วย ยกตัวอย่าง หนองฝีที่เกิดจาก
การติดเชื้อ Entamoeba histolytica จะพบเชื้อได้ที่บริเวณขอบแผลมากกว่าบริเวณอื่น หนอง
จากส่วนกลาง ๆ ของฝีมักมีเลือดปนน้อยมาก คือ มีแต่หนอง และ มีเชื้อน้อยมาก หรือ ไม่มีเลย
 ปริมาณหนองที่เพียงพอ
สาหรับการตรวจวินิจฉัย
หนอง (Pus)
20
เพื่อตรวจวินิจฉัยโรคเท้าช้างและ มาลาเรีย
 Microfilaria after DEC treatment
 Thin and Thick blood films for microfilaria
 Thin and Thick blood films for malaria
 ICT for malaria
 PCR for malaria
1. เจาะเลือดผู้ป่วย 3 มิลลิลิตร ใส่ในหลอดฝาสีม่วง (EDTA Blood)
2. นาใบสั่งตรวจและเลือดมาส่งที่ห้องปฏิบัติการปรสิตวิทยา ควรส่งตรวจภายในวันนั้น
ถ้าไม่สามารถส่งได้ควรไว้ในตู้เย็นที่ 4 องศาเซลเซียส (ไม่เกิน 1 วัน)
เพื่อตรวจหาแอนติบอดีที่จาเพาะต่อการติดเชื้อ หรือ
แอนติเจนของเชิ้อปรสิต
 Filaria specific antigen (W. bancrofti)
 IHA for E. histolytica
 Toxoplasma IgG antibody
 Toxoplasma IgM antibody
 Taenia solium IgG antibody (cysticercosis)
 Western blot for Gnathostoma spinigerum
1. เจาะเลือดผู้ป่วย 2-3 มิลลิลิตร ใส่ในหลอดฝาแดง (Clotted blood)
2. นาใบสั่งตรวจและ เลือดมาส่งที่ห้องปฏิบัติการปรสิตวิทยา ควรส่งตรวจภายในวันนั้น ถ้า
ไม่สามารถส่งได้ควรไว้ในตู้เย็นที่ 4 องศาเซลเซียส (ไม่เกิน 1 วัน) ถ้าต้องเก็บไว้มากกว่า
1 วัน ให้ปั่นแยก Serum และ เก็บใส่ลงในหลอดใหม่ที่สะอาด
EDTA Blood
Clotted Blood
21
เป็นวิธีตรวจหาไข่ของพยาธิเข็มหมุด (Enterobius vermicularis, Pinworm) บริเวณรอบ ๆ
ทวารหนัก เนื่องจากในเวลากลางคืน พยาธิเข็มหมุดตัวเมียจะเดินทางออกจากปลายลาไส้ใหญ่มา
วางไข่ภายนอกรอบ ๆ ทวารหนัก เมื่อนาเทปกาวใสด้านเหนียวมาสัมผัสกับบริเวณรอบ ๆ ทวาร
หนัก ไข่พยาธิจะถูกจับติดโดยความเหนียวของเทปกาว
1. การทา Scotch tape technique แก่ผู้ป่วยในหอผู้ป่วย ให้ใช้มือข้างหนึ่งแหวกรูก้น (Buttocks)
ให้เห็นถึง Outer anal canal มืออีกข้างหนึ่งนาด้านเหนียวของเทปกาวใสกดลงบน Perianal
folds ทั้งด้านซ้ายและขวาของผู้ป่วย แล้วนาด้านเหนียวของเทปกาวใสนี้ติดลงบนแผ่นสไลด์
2. กรณีให้ผู้ป่วยไปเก็บสิ่งส่งตรวจในที่พักอาศัยของตนเอง ควรอธิบายให้ผู้ปกครองเข้าใจ และ
ทา Scotch tape เช่นเดียวกับข้อ 1 หรือ ในกรณีที่เป็นเด็กโต ให้เด็กนั่งยอง ๆ แล้วใช้แผ่นเทป
กาวใส ให้ด้านเหนียวกดสัมผัสกับรอบบริเวณทวารหนักดังกล่าวให้ทั่ว ๆ
3. เทคนิคนี้ควรตรวจหลังตื่นนอน ก่อนผู้ป่วยอาบน้าชาระร่างกาย มิฉะนั้นไข่จะถูกชะล้างออกไป
หมายเหตุ: หากการติดเชื้อพยาธิเข็มหมุดมีจานวนน้อย ควรตรวจติดต่อกัน 3 วัน เป็นอย่างน้อย เนื่องจากพยาธิตัวเมียอาจไม่วางไข่ทุกวัน
รูปไข่พยาธิเข็มหมุด
Scotch tape
22
เสมหะที่ส่งตรวจวิเคราะห์ ควรมีน้าลายปนเปื้อนน้อยที่สุด
น้าล้างปอด ควรเก็บใส่ในขวดหรือภาชนะที่สะอาด ไม่ต่ากว่า 2 มิลลิลิตร
 ตรวจหาไข่พยาธิใบไม้ในปอด
 ตรวจหาพยาธิ Strongyloides stercoralis
 Stain for Pneumocystis jiroveci
 PCR for Pneumocystis jiroveci
 IFA for Pneumocystis jiroveci เป็นต้น
ควรส่งตรวจภายในวันนั้น ถ้าไม่สามารถส่งได้ทันที
ควรไว้ในตู้เย็นที่ 4 องศาเซลเซียส (ไม่เกิน 1 สัปดาห์)
ถ้าต้องการส่งเพาะเชื้อ (Agar plate culture for Strongyloides &
hookworm, Culture for E. histolytica/ E.dispar)ห้ามนาเข้าตู้เย็น
เสมหะ น้าล้างปอด
เสมหะ (Sputum) น้าล้างปอด (Bronchoalveolar lavage, BAL)
23
1. น้าจากตา, Corneal scrapings
ถ้าสงสัยว่าติดเชื้ออะมีบา และต้องการเพาะเชื้อ (Culture for free-
living amoebae, Acanthamoeba, Naegleria) หรือต้องการตรวจหาเชื้อ
Microsporidium ให้เก็บสิ่งส่งตรวจลงในภาชนะที่ปราศจากเชื้อ และ
แนะนาให้เติม Steriled Normal Saline จานวนเล็กน้อยลงในภาชนะ หรือ
ขวดที่เก็บสิ่งส่งตรวจด้วย เพื่อป้องกันไม่ให้สิ่งส่งตรวจแห้งเสีย
 ควรส่งตรวจภายในวันนั้น ในกรณีต้องการส่งเพาะเชื้อ ถ้าไม่สามารถ
ส่งได้ทันที ให้ไว้ที่อุณหภูมิห้องได้(ไม่เกิน 1 วัน) ห้ามนาสิ่งส่งตรวจ
เข้าตู้เย็น หรือ ตู้แช่แข็ง
2. น้าจากลาไส้ (Duodenal content)
สิ่งส่งตรวจ Duodenal content ให้เก็บใส่ขวดที่ปราศจากเชื้อ (Sterile)
ในกรณีติดเชื้อ Giardia intestinalis (Giardia duodenalis, Giardia lamblia)
จะพบระยะ Trophozoite หากนาสิ่งส่งตรวจเข้าตู้เย็นจะทาให้เชื้อระยะ
Trophozoite นี้หยุดการเคลื่อนที่ และ ตายได้ นอกจากนี้น้าจากลาไส้ยัง
สามารถตรวจพบเชื้อ Isospora, Cryptosporidium และ Strongyloidesระยะ
Rhabditiform larva ได้หากต้องการส่งเพาะเชื้อ ห้ามนาเข้าตู้เย็น
สารน้าอื่น ๆ
24
เป็นการวินิจฉัยจาแนกบอกชนิดของสิ่งที่สงสัยว่าเป็นปรสิตชนิดใด เป็นหนอนพยาธิสายพันธุ์ใด
เป็นเชื้อระยะตัวแก่ หรือตัวอ่อน เป็นส่วนหัวหรือส่วนใดของเชื้อ
1. ให้เก็บหนอนพยาธิที่ยังมีชีวิต หรือ ที่ตายแล้วก็ได้แต่คงสภาพที่ดีไม่เน่าเปื่อย ล้างหนอนพยาธิที่สงสัย
ด้วยน้าธรรมดาจนสะอาด
2. ส่งห้องปฏิบัติการทันที หากไม่สามารถส่งได้ในวันนั้น ให้ใส่ลงในน้าเกลือ 0.85% และเก็บไว้ที่ 4
องศาเซลเซียส (ภายใน 3วัน)หรือใส่ลงใน70%Alcohol หรือ 10%Formalin และควรส่งภายใน 7วัน
หมายเหตุ: การส่งวัตถุที่สงสัย ให้เลือกรายการตรวจในช่อง Identification of parasite ไม่ใช่ Routine stool
examination
ชิ้นส่วนของหนอนพยาธิ และ วัตถุสงสัย
วัตถุที่สงสัยพยาธิ

25
เมื่อแพทย์สั่งยาถ่ายพยาธิให้ผู้ป่วย และกาหนดให้ผู้ป่วยเก็บพยาธิและ นา
อุจจาระทั้งหมดที่ถ่ายได้มาส่งตรวจวิเคราะห์และวินิจฉัยทางห้องปฎิบัติการฯนั้น
 ควรให้ผู้ป่ วยกินยาระบายก่อนในวันแรกเพื่อถ่ายเอาอุจจาระออกจาก
ระบบทางเดินอาหารให้มากที่สุด
 วันต่อมาจึงให้ผู้ป่วยรับประทานยาถ่ายพยาธิ และ ให้ผู้ป่วยงดรับประทาน
ผักสด ผลไม้และ ควรรับประทานอาหารอ่อน เพราะช่วยลดกากใยต่าง ๆ
จากผัก ผลไม้ เนื่องจากกากใยในอุจจาระเป็นสิ่งรบกวนการวินิจฉัย และ
หากเป็นหนอนพยาธิเล็ก ๆ อาจบดบังเชื้อได้
 รุ่งขึ้นให้ผู้ป่วยเก็บอุจจาระที่ถ่ายได้ทั้งหมดนาส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การให้ยาถ่ายพยาธิ
อุจจาระจานวนมากและ
หนอนพยาธิที่ถ่ายจากผู้ป่ วย
ที่ไม่ได้กินยาระบายในวันแรก
อุจจาระจานวนน้อยและ
หนอนพยาธิที่ถ่ายจากผู้ป่ วย
ที่กินยาระบายถ่ายอุจจาระออก
ก่อนในวันแรก
เก็บล้างตัวพยาธิในถุงพลาสติก
หรือ ภาชนะสะอาด
26
แมลงขนาดเล็ก เช่น ยุง ด้วงก้นกระดก ควรห่อด้วยกระดาษอ่อน หรือใส่ตลับ หรือ กล่อง
ขนาดเล็กมีฝาปิด หรือ ใส่ใน 70 % Alcohol ให้ท่วม
1. Arthropods ขนาดเล็ก เช่น หมัด ไร เหา ควรใส่ใน 70 % Alcohol ให้ท่วม
2. Arthropods ขนาดใหญ่ เช่น ตะขาบ แมงมุม ควรทาให้ตายด้วยคลอโรฟอร์ม หรือ
แช่แข็งให้ตายก่อน แล้วเก็บในกล่องที่แห้ง หรือ ใส่ใน 70% Alcohol ให้ท่วม
นาแมลงและ Arthropods ส่งห้องปฏิบัติการปรสิตวิทยา โดยเลือกรายการ
Identification of parasite และ ระบุบริเวณที่เก็บ เช่น เก็บจากรูหูผู้ป่วย เส้นขน
จากหัวเหน่า (Pubic hair) เป็นสะเก็ดที่ขูดจากง่ามนิ้ว เป็นต้น
แมลง และ Arthropods อื่น ๆ
27
Garcia, L S. (2006). Diagnostic medical parasitology (5th Ed.). Washington D.C: ASM Press.
หมายเหตุ
คู่มือ “การปฏิบัติงานของฝ่ายปรสิตวิทยา สาหรับนิสิตแพทย์เวชปฏิบัติ ในการ
ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์” ฉบับนี้เรียบเรียงโดย รองศาสตราจารย์ดร. วิไล
ศักดิ์ศิริสัมพันธ์ หากมีข้อแนะนา หรือสงสัยสามารถติดต่อผู้เรียบเรียงได้ที่หมายเลข
โทรศัพท์ 02-2564387 ต่อ 12 หรือ 20
เอกสารอ้างอิง
28
สถานที่ รายการตรวจ อาจารย์ผู้รับผิดชอบ โทรศัพท์
ภปร. 4 Routine stool examination อ.ดร.วิวรพรรณ สรรประเสริฐ 5386
ภปร. 4 ICT for Occult blood อ.ดร.วิวรพรรณ สรรประเสริฐ 5386
ภปร. 4 Stain for fat อ.ดร.วิวรพรรณ สรรประเสริฐ 5386
ภปร. 4 Microfilaria after DEC treatment (6mg/kg) single
dose
ศ.ดร.พญ. สุรางค์นุชประยูร 4387
ภปร. 4 Thin and Thick blood film for microfilaria อ.ดร.วิวรพรรณ สรรประเสริฐ 5386
ภปร. 4 Thin and Thick blood films for malaria ศ.ดร.นพ. สมชาย จงวุฒิเวศย์ 4387
ภปร. 4 Scotch tape technic รศ.พญ.กัญญรัตน์ กรัยวิเชียร 4387
อปร. 18 Agar plate culture for Strongyloides and hookworm ศ.ดร.นพ. สมชาย จงวุฒิเวศย์ 4387
อปร. 18 Culture for E. histolytica/E. dispar ศ.ดร.นพ. สมชาย จงวุฒิเวศย์ 4387
อปร. 18 Stain for Cryptosporidium, Cyclospora and Isospora ศ.ดร.นพ. สมชาย จงวุฒิเวศย์ 4387
อปร. 18 Stain for microsporidium ศ.ดร.นพ. สมชาย จงวุฒิเวศย์ 4387
อปร. 18 E. histolytic antigen from pus or stool รศ. วิไล ศักดิ์ศิริสัมพันธ์ 4387
อปร. 18 Filaria specific antigen (Wuchereria bancrofti) ศ.ดร.พญ. สุรางค์นุชประยูร 4387
อปร. 18 IHA for E. histolytica รศ. วิไล ศักดิ์ศิริสัมพันธ์ 4387
อปร. 18 Toxoplasma IgG antibody รศ. วิไล ศักดิ์ศิริสัมพันธ์ 4387
อปร. 18 Toxoplasma IgM antibody รศ. วิไล ศักดิ์ศิริสัมพันธ์ 4387
อปร. 18 Taenia solium IgG antibody (Cysticercosis) รศ. วิไล ศักดิ์ศิริสัมพันธ์ 4387
อปร. 18 Western blot for Gnathostoma spinigerum รศ.พญ. กัญญรัตน์ กรัยวิเชียร 4387
อปร. 18 ICT for malaria ศ.ดร.นพ. สมชาย จงวุฒิเวศย์ 4387
อปร. 18 PCR for malaria (4 species) ศ.ดร.นพ. สมชาย จงวุฒิเวศย์ 4387
อปร. 18 Identification of parasite รศ. วิไล ศักดิ์ศิริสัมพันธ์
รศ.นพ. เผด็จ สิริยะเสถียร
4387
อปร. 18 Culture for T. vaginalis รศ. วิไล ศักดิ์ศิริสัมพันธ์ 4387
อปร. 18 Stain for Pneumocystis jiroveci รศ.ดร. จตุรงค์พุทธพรทิพย์ 4387
อปร. 18 Culture for free-living amoebae (Acanthamoeba,
Naegleria)
ศ.ดร.นพ. สมชาย จงวุฒิเวศย์ 4387
อปร. 18 PCR for Pneumocystis jiroveci รศ.ดร. จตุรงค์พุทธพรทิพย์ 4387
อปร. 18 IFA for Pneumocystis jiroveci รศ.ดร. จตุรงค์พุทธพรทิพย์ 4387
ตารางที่ 1: แสดงสถานที่ทาการตรวจ รายการตรวจ และ อาจารย์ผู้รับผิดชอบดูแลรายการตรวจ
29
รหัส รายการตรวจ ชนิดสิ่งส่งตรวจ และ ปริมาณ เทคนิคการตรวจ ระยะเวลา
รอคอยผล
ราคา
PS001 Agar plate culture for Strongyloides
and hookworm
อุจจาระ
และ/หรือ
เสมหะ
½ กล่อง
Culture 7วันทาการ 160
PS002 Culture for E. histolytica/ E.dispar อุจจาระ และ/หรือ
หนอง
½ กล่อง
Culture 7วันทาการ 200
PS009 ICT for Occult blood อุจจาระ
½ กล่อง
Immunochromatography test 30 นาที 80
PS010 Routine stool examination อุจจาระ
½ กล่อง
Simple smear & Formalin
Ethyl Acetate Concentration
Technique
45 นาที 100
ตารางที่ 2: แสดงรหัส รายการตรวจ ชนิดสิ่งส่งตรวจ และ ปริมาณ เทคนิคการตรวจ ระยะเวลารอคอยผล และราคา
30
รหัส รายการตรวจ ชนิดสิ่งส่งตรวจ และ ปริมาณ เทคนิคการตรวจ ระยะเวลา
รอคอยผล
ราคา
PS013 Stain for Cryptosporidium, Cyclospora
and Isospora
อุจจาระ
½ กล่อง
Modified cold Kinyoun acid
fast stain
2 วันทาการ 150
PS014 Stain for fat อุจจาระ
½ กล่อง
Sudan's stain 30 นาที 30
PS015 Stain for Microsporidium อุจจาระ
½ กล่อง
Modified Trichrome 's stain 3 วันทาการ 100
PS023 E. histolytica antigen from
pus or stool
อุจจาระ และ/หรือ
หนอง
½ กล่อง
ELISA 3 วันทาการ 1,400
PS005 Microfilaria after DEC treatment
(6mg/kg) single dose
EDTABlood
3 ml
Knot Technique & Giemsa's
stain
2 ชั่วโมง 50
31
รหัส รายการตรวจ ชนิดสิ่งส่งตรวจ และ ปริมาณ เทคนิคการตรวจ ระยะเวลา
รอคอยผล
ราคา
PS006 Filaria specific antigen (W. bancrofti) ClottedBlood
2-3 ml
ELISA 3 วันทาการ 2,500
PS008 IHA for E. histolytica Clotted Blood
2-3 ml
Indirect Haemagglutination 3 วันทาการ 650
PS019 Thin and Thick blood film for
microfilaria
EDTABlood
3 ml
Knot Technique & Giemsa's
stain
1 ชั่วโมง 80
PS020 Toxoplasma IgG antibody ClottedBlood
2-3 ml
ELISA 5 วันทาการ 1,250
PS021 Toxoplasma IgM antibody ClottedBlood
2-3 ml
ELISA 5 วันทาการ 1,250
32
รหัส รายการตรวจ ชนิดสิ่งส่งตรวจ และ ปริมาณ เทคนิคการตรวจ ระยะเวลา
รอคอยผล
ราคา
PS024 Taenia solium IgG antibody
(Cysticercosis)
ClottedBlood
2-3 ml
ELISA 3 วันทาการ 1,600
PS025 Western blot for
Gnathostoma spinigerum
Clotted Blood
2-3 ml
Western blot 4 วันทาการ 1,100
PS027 Thin and Thick blood films for malaria EDTABlood
3 ml
Giemsa's stain 1 ชั่วโมง 80
PS028 ICT for malaria EDTABlood
3 ml
Immunochromatography test 2 วันทาการ 280
PS029 PCR for malaria (4 species) EDTABlood
3 ml
Polymerase chain reaction 5 วันทาการ 700
33
รหัส รายการตรวจ ชนิดสิ่งส่งตรวจ และ ปริมาณ เทคนิคการตรวจ ระยะเวลา
รอคอยผล
ราคา
PS003 Culture for T. vaginalis Vaginal Swab
in NSS
0.5-1 ml
Culture 3 วันทาการ 300
PS007 Identification of parasite ตัวพยาธิ หรือ
แมลง
Parasite technique 3 วันทาการ 65
PS011 Scotch tape technic Slide Scotch tape
2 แผ่น
Scotch tape technic 30 นาที 50
PS016 Stain for Pneumocystis jiroveci BALและ/หรือ
Sputum
2 ml
Giemsa's stain 3 วันทาการ 150
PS022 Culture for free-living amoebae
(Acanthamoeba, Naegleria)
น้าจากตา และ/หรือ
ชิ้นส่วนจากตา
1-2 ml
Culture 7 วันทาการ 200
34
หมายเหตุ: จานวนวันที่ระบุในช่อง “ระยะเวลารอคอยผล” จะหมายถึง “จานวนวันทาการ” ไม่รวมวันหยุดเสาร์-อาทิตย์หรือ วันหยุดราชการ
รหัส รายการตรวจ ชนิดสิ่งส่งตรวจ และ ปริมาณ เทคนิคการตรวจ ระยะเวลา
รอคอยผล
ราคา
PS026 PCR for Pneumocystis jiroveci BALและ/หรือ
Sputum
3 ml
Polymerase chain reaction 5 วันทาการ 750
PS030 IFA for Pneumocystis jiroveci BALและ/หรือ
Sputum
3 ml
Immunofluorescence assay 3 วันทาการ 1,000
35
ชนิดปรสิต รายการตรวจ รหัส
Parasites in stool Routine stool examination PS010
Parasites and arthropods Identification of parasite PS007
Blood in stool ICT for occult blood PS009
Fat in stool Stain for fat PS014
Acanthamoeba spp. Cultureforfree-livingamoebae(Acanthamoeba,Naegleria) PS022
Identification of parasite PS007
Cryptosporidium spp. Stain for Cryptosporidium, Cyclospora & Isospora PS013
Cyclospora cayetanensis Stain for Cryptosporidium, Cyclospora & Isospora PS013
Entamoeba histolytica Culture for E. histolytica/ E. dispar PS002
IHA for E. histolytica PS008
E. histolytica antigen from pus or stool PS023
Routine stool examination PS010
Enterobius vermicularis Scotch tape technic PS011
Routine stool examination PS010
Filaria Thin and Thick blood films for microfilaria PS019
Microfilaria after DEC treatment (6 mg/kg) single dose PS005
Filaria specific antigen (W. bancrofti) PS006
Gnathostoma spinigerum Western blot for Gnathostoma spinigerum PS025
Isospora belli Stain for Cryptosporidium, Cyclospora & Isospora PS013
Routine stool examination PS010
Malaria Thin and Thick blood films for malaria PS027
ICT for malaria PS028
PCR for malaria (4 species) PS029
Microsporidium spp. Stain for microsporidium PS015
Naegleria spp. Cultureforfree-livingamoebae(Acanthamoeba,Naegleria) PS022
Pneumocystis jiroveci Stain for Pneumocystis jiroveci PS016
IFA for Pneumocystis jiroveci PS030
PCR for Pneumocystis jiroveci PS026
Strongyloides stercoralis Agar plate culture for Strongyloides & hookworm PS001
Routine stool examination PS010
Taenia solium
(cysticercosis)
Taenia solium IgG antibody (cysticercosis) PS024
Toxoplasma gondii Toxoplasma IgG antibody PS020
Toxoplasma IgM antibody PS021
Trichomonas vaginalis Culture for T. vaginalis PS003
ตารางที่ 3: แสดงรายการตรวจ จาแนกตามชนิดปรสิต
36

More Related Content

What's hot

ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกPrachaya Sriswang
 
แผ่นพับโรคไข้เลือดออก (1)
แผ่นพับโรคไข้เลือดออก (1)แผ่นพับโรคไข้เลือดออก (1)
แผ่นพับโรคไข้เลือดออก (1)Z'zine Thanyathip
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผนFmz Npaz
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)Sakarin Habusaya
 
ไข้เลือดอ..
ไข้เลือดอ..ไข้เลือดอ..
ไข้เลือดอ..Prachaya Sriswang
 
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551Utai Sukviwatsirikul
 
โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1Prachaya Sriswang
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์Papawee Laonoi
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4Tatthep Deesukon
 
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...Utai Sukviwatsirikul
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบssuserf8d051
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุคู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรืองUtai Sukviwatsirikul
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 

What's hot (20)

ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
แผ่นพับโรคไข้เลือดออก (1)
แผ่นพับโรคไข้เลือดออก (1)แผ่นพับโรคไข้เลือดออก (1)
แผ่นพับโรคไข้เลือดออก (1)
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
 
4.2 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาจุลชีววิทยา
4.2 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาจุลชีววิทยา4.2 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาจุลชีววิทยา
4.2 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาจุลชีววิทยา
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
 
ไข้เลือดอ..
ไข้เลือดอ..ไข้เลือดอ..
ไข้เลือดอ..
 
การบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาลการบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาล
 
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
 
โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1
 
จำแนกประเภท
จำแนกประเภทจำแนกประเภท
จำแนกประเภท
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
 
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุคู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
ภูมิแพ้
ภูมิแพ้ภูมิแพ้
ภูมิแพ้
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
 

Viewers also liked

การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)
การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)
การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)Sambushi Kritsada
 
Ic update 2012
Ic  update 2012Ic  update 2012
Ic update 2012techno UCH
 
หลักพยาธิบ.5การอักเสบ pptx
หลักพยาธิบ.5การอักเสบ pptx หลักพยาธิบ.5การอักเสบ pptx
หลักพยาธิบ.5การอักเสบ pptx pop Jaturong
 
tia52010918560
tia52010918560tia52010918560
tia52010918560tungmsu
 
ดูงานโรงพยาบาลราชบุรี
ดูงานโรงพยาบาลราชบุรีดูงานโรงพยาบาลราชบุรี
ดูงานโรงพยาบาลราชบุรีTanchanok Pps
 
52010918560sce12
52010918560sce1252010918560sce12
52010918560sce12tungmsu
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2chirapa
 
4.10 ระเบียบปฏิบัติงานพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
4.10 ระเบียบปฏิบัติงานพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์4.10 ระเบียบปฏิบัติงานพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
4.10 ระเบียบปฏิบัติงานพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์งานพัฒนาบุคลากร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
 
"Adaptación Animales & Seres Humanos"
"Adaptación Animales & Seres Humanos""Adaptación Animales & Seres Humanos"
"Adaptación Animales & Seres Humanos"Yumiko Grimmie
 
ส่งการบ้าน La.
ส่งการบ้าน La.ส่งการบ้าน La.
ส่งการบ้าน La.Pairot Sreerata
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ระบบห่อหุ้มร่ากาย 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ระบบห่อหุ้มร่ากาย 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ระบบห่อหุ้มร่ากาย 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ระบบห่อหุ้มร่ากาย 2Yottapum
 
คู่มือประเมินคุณภาพห้องปฏิบัติการทางการแพทย์
คู่มือประเมินคุณภาพห้องปฏิบัติการทางการแพทย์คู่มือประเมินคุณภาพห้องปฏิบัติการทางการแพทย์
คู่มือประเมินคุณภาพห้องปฏิบัติการทางการแพทย์Ann Ann
 
Nl 2010 nctms
Nl 2010 nctmsNl 2010 nctms
Nl 2010 nctmsNew Srsn
 

Viewers also liked (20)

การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)
การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)
การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)
 
4.5 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาปรสิตวิทยา
4.5 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาปรสิตวิทยา4.5 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาปรสิตวิทยา
4.5 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาปรสิตวิทยา
 
4.ภาควิชาจุลชีววิทยา
4.ภาควิชาจุลชีววิทยา4.ภาควิชาจุลชีววิทยา
4.ภาควิชาจุลชีววิทยา
 
Diagnosis
DiagnosisDiagnosis
Diagnosis
 
Ic update 2012
Ic  update 2012Ic  update 2012
Ic update 2012
 
3.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
3.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน3.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
3.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
 
แมลง ยุง
แมลง ยุงแมลง ยุง
แมลง ยุง
 
หลักพยาธิบ.5การอักเสบ pptx
หลักพยาธิบ.5การอักเสบ pptx หลักพยาธิบ.5การอักเสบ pptx
หลักพยาธิบ.5การอักเสบ pptx
 
tia52010918560
tia52010918560tia52010918560
tia52010918560
 
ดูงานโรงพยาบาลราชบุรี
ดูงานโรงพยาบาลราชบุรีดูงานโรงพยาบาลราชบุรี
ดูงานโรงพยาบาลราชบุรี
 
52010918560sce12
52010918560sce1252010918560sce12
52010918560sce12
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
4.10 ระเบียบปฏิบัติงานพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
4.10 ระเบียบปฏิบัติงานพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์4.10 ระเบียบปฏิบัติงานพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
4.10 ระเบียบปฏิบัติงานพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
 
"Adaptación Animales & Seres Humanos"
"Adaptación Animales & Seres Humanos""Adaptación Animales & Seres Humanos"
"Adaptación Animales & Seres Humanos"
 
ส่งการบ้าน La.
ส่งการบ้าน La.ส่งการบ้าน La.
ส่งการบ้าน La.
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ระบบห่อหุ้มร่ากาย 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ระบบห่อหุ้มร่ากาย 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ระบบห่อหุ้มร่ากาย 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ระบบห่อหุ้มร่ากาย 2
 
Management of tb ppt
Management of tb pptManagement of tb ppt
Management of tb ppt
 
คู่มือประเมินคุณภาพห้องปฏิบัติการทางการแพทย์
คู่มือประเมินคุณภาพห้องปฏิบัติการทางการแพทย์คู่มือประเมินคุณภาพห้องปฏิบัติการทางการแพทย์
คู่มือประเมินคุณภาพห้องปฏิบัติการทางการแพทย์
 
Nl 2010 nctms
Nl 2010 nctmsNl 2010 nctms
Nl 2010 nctms
 
Pneumonia
PneumoniaPneumonia
Pneumonia
 

Similar to 7.ภาควิชาปรสิตวิทยา

Surveillance Systems
Surveillance SystemsSurveillance Systems
Surveillance SystemsUltraman Taro
 
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...Loveis1able Khumpuangdee
 
ทันตกรรมกับความสมบูรณ์ของเวชระเบียน10กพ60
ทันตกรรมกับความสมบูรณ์ของเวชระเบียน10กพ60ทันตกรรมกับความสมบูรณ์ของเวชระเบียน10กพ60
ทันตกรรมกับความสมบูรณ์ของเวชระเบียน10กพ60Suthee Saritsiri
 
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้เลือดออก
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้เลือดออกสอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้เลือดออก
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้เลือดออกนายสามารถ เฮียงสุข
 
แนวทางการดำเนินงานเฝ้าระวัง โรคติดเชื้อไวรัสซิกา
แนวทางการดำเนินงานเฝ้าระวัง โรคติดเชื้อไวรัสซิกาแนวทางการดำเนินงานเฝ้าระวัง โรคติดเชื้อไวรัสซิกา
แนวทางการดำเนินงานเฝ้าระวัง โรคติดเชื้อไวรัสซิกาUtai Sukviwatsirikul
 
ยาปฏิชีวนะ : วันนี้โลกต้องทบทวนและยกเครื่องระบบสุขภาพใหม่
ยาปฏิชีวนะ : วันนี้โลกต้องทบทวนและยกเครื่องระบบสุขภาพใหม่ยาปฏิชีวนะ : วันนี้โลกต้องทบทวนและยกเครื่องระบบสุขภาพใหม่
ยาปฏิชีวนะ : วันนี้โลกต้องทบทวนและยกเครื่องระบบสุขภาพใหม่Klangpanya
 
Culture negative peritonitis 2018 - วิภาภัทร ชูจร
Culture negative peritonitis 2018 - วิภาภัทร ชูจรCulture negative peritonitis 2018 - วิภาภัทร ชูจร
Culture negative peritonitis 2018 - วิภาภัทร ชูจรKamol Khositrangsikun
 
บทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidaseบทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidasedentyomaraj
 
"Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค
"Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค"Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค
"Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ กรมควบคุมโรคnoodeejideenoodeejid
 

Similar to 7.ภาควิชาปรสิตวิทยา (20)

Surveillance Systems
Surveillance SystemsSurveillance Systems
Surveillance Systems
 
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
 
02 lepto
02 lepto02 lepto
02 lepto
 
4.4 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาพยาธิวิทยา
4.4 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาพยาธิวิทยา4.4 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาพยาธิวิทยา
4.4 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาพยาธิวิทยา
 
6.ภาควิชาพยาธิวิทยา
6.ภาควิชาพยาธิวิทยา6.ภาควิชาพยาธิวิทยา
6.ภาควิชาพยาธิวิทยา
 
Paraqaut
ParaqautParaqaut
Paraqaut
 
Publichealth
PublichealthPublichealth
Publichealth
 
hand foot mouth
hand foot mouthhand foot mouth
hand foot mouth
 
Sars
Sars Sars
Sars
 
ระบบยา
ระบบยาระบบยา
ระบบยา
 
ทันตกรรมกับความสมบูรณ์ของเวชระเบียน10กพ60
ทันตกรรมกับความสมบูรณ์ของเวชระเบียน10กพ60ทันตกรรมกับความสมบูรณ์ของเวชระเบียน10กพ60
ทันตกรรมกับความสมบูรณ์ของเวชระเบียน10กพ60
 
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้เลือดออก
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้เลือดออกสอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้เลือดออก
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้เลือดออก
 
Forensic medicine for EM
Forensic medicine for EMForensic medicine for EM
Forensic medicine for EM
 
แนวทางการดำเนินงานเฝ้าระวัง โรคติดเชื้อไวรัสซิกา
แนวทางการดำเนินงานเฝ้าระวัง โรคติดเชื้อไวรัสซิกาแนวทางการดำเนินงานเฝ้าระวัง โรคติดเชื้อไวรัสซิกา
แนวทางการดำเนินงานเฝ้าระวัง โรคติดเชื้อไวรัสซิกา
 
ยาปฏิชีวนะ : วันนี้โลกต้องทบทวนและยกเครื่องระบบสุขภาพใหม่
ยาปฏิชีวนะ : วันนี้โลกต้องทบทวนและยกเครื่องระบบสุขภาพใหม่ยาปฏิชีวนะ : วันนี้โลกต้องทบทวนและยกเครื่องระบบสุขภาพใหม่
ยาปฏิชีวนะ : วันนี้โลกต้องทบทวนและยกเครื่องระบบสุขภาพใหม่
 
Culture negative peritonitis 2018 - วิภาภัทร ชูจร
Culture negative peritonitis 2018 - วิภาภัทร ชูจรCulture negative peritonitis 2018 - วิภาภัทร ชูจร
Culture negative peritonitis 2018 - วิภาภัทร ชูจร
 
บทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidaseบทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidase
 
"Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค
"Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค"Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค
"Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค
 
3.หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ายผู้ป่วยนอก
3.หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ายผู้ป่วยนอก3.หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ายผู้ป่วยนอก
3.หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ายผู้ป่วยนอก
 
4.1 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ายผู้ป่วยนอก
4.1 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ายผู้ป่วยนอก4.1 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ายผู้ป่วยนอก
4.1 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ายผู้ป่วยนอก
 

More from งานพัฒนาบุคลากร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์

1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยงานพัฒนาบุคลากร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
 
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยงานพัฒนาบุคลากร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
 

More from งานพัฒนาบุคลากร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ (20)

7.แผนรับสาธารณภัยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
7.แผนรับสาธารณภัยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์7.แผนรับสาธารณภัยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
7.แผนรับสาธารณภัยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
 
6.การปฏิบัติงานระบบเภสัชกรรม
6.การปฏิบัติงานระบบเภสัชกรรม6.การปฏิบัติงานระบบเภสัชกรรม
6.การปฏิบัติงานระบบเภสัชกรรม
 
4.12 ระเบียบหอพักคณะแพทยศาสตร์
4.12 ระเบียบหอพักคณะแพทยศาสตร์4.12 ระเบียบหอพักคณะแพทยศาสตร์
4.12 ระเบียบหอพักคณะแพทยศาสตร์
 
4.11 ระเบียบหอสมุดคณะแพทย์
4.11 ระเบียบหอสมุดคณะแพทย์4.11 ระเบียบหอสมุดคณะแพทย์
4.11 ระเบียบหอสมุดคณะแพทย์
 
4.9 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ฝ่ายสวัสดิการสังคม
4.9 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ฝ่ายสวัสดิการสังคม4.9 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ฝ่ายสวัสดิการสังคม
4.9 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ฝ่ายสวัสดิการสังคม
 
4.8 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ฝ่ายธนาคารเลือด
4.8 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ฝ่ายธนาคารเลือด4.8 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ฝ่ายธนาคารเลือด
4.8 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ฝ่ายธนาคารเลือด
 
4.7 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชารังสิวิทยา
4.7 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชารังสิวิทยา4.7 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชารังสิวิทยา
4.7 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชารังสิวิทยา
 
4.6 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาเวชศาสตร์ชันสุตร
4.6 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาเวชศาสตร์ชันสุตร4.6 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาเวชศาสตร์ชันสุตร
4.6 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาเวชศาสตร์ชันสุตร
 
4.3 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชานิติเวชศาสตร์
4.3 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชานิติเวชศาสตร์4.3 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชานิติเวชศาสตร์
4.3 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชานิติเวชศาสตร์
 
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
 
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
 
17.แผนรับสาธารณภัยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
17.แผนรับสาธารณภัยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์17.แผนรับสาธารณภัยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
17.แผนรับสาธารณภัยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
 
16.การปฏิบัติงานระบบเภสัชกรรม
16.การปฏิบัติงานระบบเภสัชกรรม16.การปฏิบัติงานระบบเภสัชกรรม
16.การปฏิบัติงานระบบเภสัชกรรม
 
14.ระเบียบหอพักคณะแพทยศาสตร์
14.ระเบียบหอพักคณะแพทยศาสตร์14.ระเบียบหอพักคณะแพทยศาสตร์
14.ระเบียบหอพักคณะแพทยศาสตร์
 
13.ระเบียบหอสมุดคณะแพทย์
13.ระเบียบหอสมุดคณะแพทย์13.ระเบียบหอสมุดคณะแพทย์
13.ระเบียบหอสมุดคณะแพทย์
 
12.คำประกาศของผู้ป่วยและคู่มือพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย
12.คำประกาศของผู้ป่วยและคู่มือพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย12.คำประกาศของผู้ป่วยและคู่มือพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย
12.คำประกาศของผู้ป่วยและคู่มือพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย
 
11.ฝ่ายสวัสดิการสังคม
11.ฝ่ายสวัสดิการสังคม11.ฝ่ายสวัสดิการสังคม
11.ฝ่ายสวัสดิการสังคม
 
10.ฝ่ายธนาคารเลือด
10.ฝ่ายธนาคารเลือด10.ฝ่ายธนาคารเลือด
10.ฝ่ายธนาคารเลือด
 
9.ภาควิชารังสิวิทยา
9.ภาควิชารังสิวิทยา9.ภาควิชารังสิวิทยา
9.ภาควิชารังสิวิทยา
 
8.ภาควิชาเวชศาสตร์ชันสูตร
8.ภาควิชาเวชศาสตร์ชันสูตร8.ภาควิชาเวชศาสตร์ชันสูตร
8.ภาควิชาเวชศาสตร์ชันสูตร
 

7.ภาควิชาปรสิตวิทยา

  • 1. 1 สถานที่ส่งสิ่งส่งตรวจของฝ่ ายปรสิตวิทยามีเพียง 1 แห่งเท่านั้น คือห้องปฏิบัติการปรสิตวิทยา ห้องหมายเลข 14 อาคาร ภปร. ชั้น 4 เวลา 8.00-12.00 น. และ 13.00-15.00 น. โทร. 0-2256-5386 สายใน 5386 สถานที่ อาคาร เวลาทาการ หมายเลข โทรศัพท์ ติดต่อ หมายเลข โทรศัพท์ ภายใน 1. “ฝ่ ายปรสิตวิทยา” สานักงานหลัก อปร. ชั้น 18 8.00-16.00 น. 0-2256-4387 4387 2. ห้องปฏิบัติการฯ 2.1 ห้องปฏิบัติการปรสิตวิทยา ภปร. ชั้น 4 หมายเลข 14 8.00-15.30 น. 0-2256-5386 5386 2.2 ห้องปฏิบัติการปรสิตวิทยา อปร. ชั้น 18 8.00-16.00 น. 0-2256-4387 4387 3. “คลินิกโรคปรสิต” มีแพทย์จากฝ่ายปรสิตวิทยาออก ตรวจผู้ป่วย ให้การรักษาและ รับปรึกษาโรคทางปรสิตวิทยา ภปร. ชั้น 2 8.00-12.00 น. 0-2256-4387 5432 สถานที่ทาการของฝ่ ายปรสิตวิทยา สถานที่และเวลาในการส่งสิ่งส่งตรวจ
  • 2. 2 รายการที่ให้บริการตรวจวินิจฉัย และ วิเคราะห์ทางปรสิตวิทยา ที่อาคาร ภปร. ชั้น 4 ได้แก่  การตรวจอุจจาระ (Routine stool examination)  การตรวจหาเลือดออกในระบบทางเดินอาหาร (ICT for occult blood)  การตรวจหาไขมันในอุจจาระ (Stain for fat)  การตรวจหาพยาธิโรคเท้าช้างในเลือดหลังการให้ยา (Microfilaria after DEC treatment [6 mg/kg] single dose)  การตรวจหาพยาธิโรคเท้าช้างในเลือด (Thin and Thick blood films for microfilaria )  การตรวจหาเชื้อมาลาเรียในเลือด (Thin and Thick blood films for malaria)  การตรวจหาพยาธิเข็มหมุดโดยวิธีสก๊อตเทป (Scotch tape technic) หมายเหตุ: เป็นรายการที่ให้บริการตรวจวินิจฉัย และ วิเคราะห์โดยเทคนิคการตรวจที่ใช้ระยะเวลาไม่มาก ขอบข่ายการให้บริการของฝ่ ายปรสิตวิทยา
  • 3. 3 รายการที่ให้บริการตรวจวินิจฉัย และ วิเคราะห์ทางปรสิตวิทยา ที่อาคาร อปร. ชั้น 18 ได้แก่ 1. เทคนิคทางปรสิตวิทยา เช่น การเพาะเชื้อหนอนพยาธิและ โปรโตซัวชนิดต่าง ๆ  Agar plate culture for Strongyloides & hookworm  Culture for E. histolytica/ E.dispar  Culture for T. vaginalis  Culture for free-living amoebae (Acanthamoeba, Naegleria) การย้อมสีโปรโตซัวชนิดต่าง ๆ  Stain for Cryptosporidium, Cyclospora & Isospora  Stain for Microsporidium  Stain for Pneumocystis jiroveci เป็นต้น การจาแนกชนิดของปรสิต เช่น ตัวพยาธิ ตัวแมลง (Parasite Identification) 2. เทคนิคทางภูมิคุ้มกันวิทยา เช่น การตรวจหาแอนติเจนของเชื้อ  E.histolytica antigen from pus or stool  Filaria specific antigen (W.bancrofti)  ICT for malaria การตรวจหาแอนติบอดีที่จาเพาะต่อการติดเชื้อ  IHA for E.histolytica  Toxoplasma IgG antibody  Toxoplasma IgM antibody  Taenia solium IgG antibody (cysticercosis)  Western blot for Gnathostoma spinigerum  IFA for Pneumocystis jiroveci เป็นต้น 3. เทคนิคทางอณูชีววิทยา เช่น การตรวจหาสารพันธุกรรมของโปรโตซัวชนิดต่าง ๆ โดยวิธี Polymerase Chain Reaction (PCR) เช่น  PCR for malaria (4 species)  PCR for Pneumocystis jiroveci เป็นต้น หมายเหตุ: เป็นรายการที่ให้บริการตรวจวินิจฉัย และ วิเคราะห์โดยเทคนิคการตรวจที่ใช้ระยะเวลามาก
  • 4. 4 ข้อมูลสาคัญในการสั่งตรวจ  ชื่อ นามสกุล เลขที่ผู้ป่วยนอก (HN)  เพศ อายุของผู้ป่วย  ชนิดสิ่งส่งตรวจ วันเวลาที่สั่งและ เก็บสิ่งส่งตรวจ  การวินิจฉัยโรค  หอผู้ป่วย หมายเลขโทรศัพท์  ชื่อแพทย์ผู้สั่งตรวจพร้อมรหัสแพทย์  ข้อมูลที่สาคัญทางการแพทย์อื่นๆ หากมี เพื่อผลการตรวจที่ถูกต้องรวดเร็วและ เพื่อความสะดวกในการติดต่อกลับเพื่อขอข้อมูลเพิ่มเติม หรือ ในกรณีที่มีปัญหา การสั่งตรวจ มีวิธีและ ขั้นตอนดังนี้คือ 1. ใช้ใบสั่งตรวจทางห้องปฏิบัติการของฝ่ายปรสิตวิทยา (สีเทา ขนาด A4 หมายเลข บ.6329) ให้บริการตรวจวิเคราะห์รวม 26 รายการตรวจ เลือก โดยทาเครื่องหมาย  ให้ชัดเจนในช่องด้านหน้าของรหัสรายการทดสอบ การสั่งตรวจทางปรสิตวิทยา
  • 5. 5
  • 6. 6 2. การสั่งตรวจ Routine stool examination หากแพทย์ต้องการให้ผู้ป่วยรอรับผล ให้ ระบุ “รอรับผล” หรือ “ด่วน” ที่ด้านบนของใบสั่งตรวจ ซึ่งจะได้รับผลการตรวจเมื่อ ครบ 45 นาที
  • 7. 7 ผู้ป่ วยนอก(OPD) ผู้ป่ วยใน(IPD) ผู้ป่วยติดต่อชาระเงินที่ช่องการเงิน เจ้าหน้าที่หอผู้ป่วยนาใบสั่งตรวจ(สีเทา) และ สิ่งส่งตรวจมาส่งที่ห้องปฏิบัติการ อาคาร ภปร. ชั้น 4 ห้องเบอร์ 14 เวลา8.00–12.00น. และ13.00–15.00น.   ผู้ป่วยนาใบสั่งตรวจ(สีเทา) และ สิ่งส่งตรวจมาส่งที่ห้องปฏิบัติการ อาคาร ภปร. ชั้น 4 ห้องเบอร์ 14 เวลา8.00–12.00น. และ13.00–15.00น. เจ้าหน้าที่หอผู้ป่วยบันทึกข้อมูลใน แบบฟอร์มการส่งสิ่งส่งตรวจ สาหรับผู้ป่วยใน   เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการรับและตรวจสอบ ความถูกต้อง เจ้าหน้าที่รับและตรวจสอบความถูกต้อง   ผู้ป่วยรับใบนัดรับผล เรียกดูผลการตรวจจาก ระบบคอมพิวเตอร์ online (HIS) 1. การขอสั่งรายการทดสอบเพิ่มเติม หากสั่งเพิ่มภายในวันเดียวกันจะสามารถให้บริการได้ 2. การขอทดสอบรายการที่ไม่ได้แสดงไว้ในใบสั่งตรวจ หรือ ต้องการส่งวิเคราะห์นอกเหนือ ข้อกาหนด เช่น ต้องการส่งวิเคราะห์ CSF แทน Serum หรือ ต้องการส่ง Slide ที่แพทย์ในหอ ผู้ป่วยสเมียร์บนแผ่นสไลด์ให้แล้ว หรือ ส่งเนื้อเยื่อให้วินิจฉัย เป็นต้น ต้องติดต่ออาจารย์ หรือ เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบในฝ่ ายปรสิตก่อน ซึ่งในกรณีนี้ ไม่สามารถรายงานผลผ่านระบบ คอมพิวเตอร์ online(HIS)แพทย์ผู้สั่งหรือพยาบาลที่เกี่ยวข้องต้องติดต่อรับผลด้วยตนเอง 3. กรณีที่ส่งสิ่งส่งตรวจปริมาณจากัด ไม่มาก หรือ ไม่เพียงพอ ที่จะตรวจวิเคราะห์ให้ครบได้ทุก รายการ ทางห้องปฏิบัติการจะเลือกตรวจรายการที่ใช้ปริมาณสิ่งส่งตรวจน้อยกว่าเป็นลาดับแรก 4. การขนส่งสิ่งส่งตรวจ ต้องใส่ภาชนะปิดมิดชิด หากเป็นสิ่งส่งตรวจที่ต้องการตรวจหา Antigen ต้องใส่ในภาชนะที่รักษาความเย็นได้ในขณะนาส่ง ขั้นตอนการนาส่งสิ่งส่งตรวจ
  • 8. 8 สิ่งส่งตรวจที่ไม่เหมาะสมกับการตรวจจะถูกปฏิเสธและอาจส่งคืนให้ผู้ป่ วย หรือ ผู้ส่งตรวจ หรือ หอผู้ป่ วย ซึ่งได้แก่สิ่งส่งตรวจที่มีลักษณะดังต่อไปนี้ 1. ชื่อ-สกุลและHNของผู้ป่วยในใบส่งตรวจไม่ตรงกับบนภาชนะที่บรรจุสิ่งส่งตรวจ 2. ปริมาณสิ่งส่งตรวจมีน้อยเกินไปจนไม่สามารถทาการทดสอบได้ 3. สิ่งส่งตรวจที่ไม่เหมาะสมเช่น อุจจาระมีปัสสาวะ หรือ น้าปะปน  ส่งเลือดเพื่อเพาะเชื้อ Entamoeba histolytica  นาอุจจาระที่สงสัยการติดเชื้อ Entamoeba histolytica แต่เก็บเข้าตู้เย็นก่อนส่งตรวจ Routine stool examination หรือ ก่อนส่งเพาะเชื้อ  นาอุจจาระที่เก็บในตู้เย็นส่งเพาะเชื้อตรวจAgarplatecultureforStrongyloides&hookworm อุจจาระมีปัสสาวะปน อุจจาระมีปริมาณน้อยเกินไป อุจจาระมีน้าปน อุจจาระห่อด้วยกระดาษชาระ อุจจาระที่มีปริมาณเหมาะสม การปฏิเสธ และ ส่งคืนสิ่งส่งตรวจ
  • 9. 9 หมายเหตุ: การรับผลการตรวจวิเคราะห์ รายการต่าง ๆ ทางห้องปฏิบัติการจะออกผลภายในวันและ เวลาที่กาหนดไว้(รายละเอียดดังตารางในภาคผนวก) การรับผล วิธีการ ติดต่อสอบถาม ผู้ป่ วยนอก (OPD) ผู้ป่ วยที่ส่งตรวจอุจจาระ (Routine stool examination) เมื่อครบ 45 นาที ให้นาใบนัดรับ ผลไปยื่นที่หน้าห้องตรวจแพทย์ พยาบาล หรือ เจ้าหน้าที่หน้าห้องตรวจจะตรวจสอบใบรับผล และพิมพ์ผลการตรวจจากระบบคอมพิวเตอร์ online (HIS) และ พร้อมให้ผู้ป่วยเข้าพบแพทย์ ต่อไป 0-2256-5386 0-2256-4387 ผู้ป่ วยใน (IPD) ทางหอผู้ป่ วยสามารถเรียกดูผลการตรวจ วิเคราะห์ได้จากระบบคอมพิวเตอร์ online (HIS) 0-2256-5386 0-2256-4387 การแจ้งผลทาง โทรศัพท์ ทางฝ่ายปรสิตวิทยา ไม่มีนโยบายแจ้งผลทาง โทรศัพท์ เว้นแต่ในกรณีจาเป็นเท่านั้นซึ่งแพทย์ ผู้สั่งตรวจจะต้องติดต่อแจ้งล่วงหน้ากับอาจารย์ ผู้รับผิดชอบ สอบถามเพิ่มเติม สามารถสอบถามอาจารย์ผู้รับผิดชอบรายการ ตรวจนั้น ๆ ตามหมายเลขโทรศัพท์ที่ระบุไว้ใน ตารางของหน้าที่ 30 0-2256-4387 การรับผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการฯ
  • 10. 10 Acanthamoeba spp. Naegleria spp. Plasmodium spp. Pneumocystis jiroveci Isospora spp. Capillaria philippinensis เมื่อตรวจพบเชื้อจานวนตั้งแต่ 1 เซลล์ หรือ หรือ 1 Oocyst หรือไข่ 1 ใบ ขึ้นไป Strongyloides stercoralis เมื่อตรวจพบเชื้อที่มีจานวนตั้งแต่ 20 larvae/smear ขึ้นไป เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการของฝ่ายฯ จะโทรศัพท์แจ้งไปที่แผนก หรือ หอผู้ป่วย ที่ส่งตรวจให้ทราบว่าออกผลการตรวจแล้ว เพื่อให้เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องตรวจดู รายงานผลการตรวจทางระบบคอมพิวเตอร์ online (HIS) และ รายงานแพทย์ต่อไป การรายงานการตรวจพบเชื้อปรสิตก่อโรค ที่อาจมีผลรุนแรงต่อผู้ป่ วย
  • 11. 11 1. กล่องใส่อุจจาระเป็นกล่องสีฟ้าเทาเบอร์ 3 หรืออนุโลมกล่อง หรือ กระปุกสะอาด ขนาดใกล้เคียงกัน 2. เก็บอุจจาระใส่กล่องให้มีปริมาณเพียงพอ ปริมาณครึ่งกล่อง (ประมาณ 5 กรัม หรือลูกมะนาวขนาดเล็ก) 3. ไม่เก็บอุจจาระที่ถ่ายบนพื้นดิน อุจจาระต้องไม่มีปัสสาวะ หรือ น้าปน หรือ สิ่ง แปลกปลอมอื่น ๆ เช่น กระดาษชาระ เศษไม้ใบไม้เป็นต้น 4. ถ้าอุจจาระมีส่วนที่เป็นมูก-เลือด ควรเลือกเก็บมูก-เลือดด้วย เนื่องจากมักพบเชื้อ ในส่วนของมูกและ เลือด ทั้งนี้การขับ หรือ สร้างมูกโดยเซลล์ของผนังลาไส้ เป็น กลไกหนึ่งของร่างกายที่ตอบสนองต่อเชื้อหรือสิ่งแปลกปลอมในระบบทางเดิน อาหาร Bruce Williams, DVM Anthong Bray, MD Crazygallery.info Atlas of Pediatric Physical Diagnosis การเก็บสิ่งส่งตรวจ อุจจาระ (Stool)
  • 12. 12 Simple smear 5. การสั่งตรวจ Routine stool examination เป็นการตรวจวินิจฉัยหาเชื้อปรสิตทั้งโปรโตซัว และหนอนพยาธิด้วยวิธี Simple smear และ วิธี Concentration technique โดยรายงาน Genus species พร้อมบอกระยะของเชื้อ Simple smear สามารถตรวจพบระยะไข่ ตัวอ่อนและตัวแก่ของหนอนพยาธิ และ ระยะ Trophozoite และ Cyst ของโปรโตซัวได้ วิธีนี้เขี่ยอุจจาระหรือสิ่งส่งตรวจปริมาณเท่าหัวไม้ขีด มาคนกับหยดน้าเกลือที่หยด ไว้บนสไลด์ 
  • 13. 13 Concentration technique เป็นการเพิ่มความไวหรือโอกาสการพบเชื้อปรสิต เพิ่มประสิทธิภาพ ของการตรวจ โดยมี Formalin ช่วยตรึงสภาพของเชื้อ ส่วน Ether หรือ Ethyl acetate (อย่างใดอย่างหนึ่ง) เป็นตัวละลายไขมันในอุจจาระ ทาให้เชื้อปรสิตแยกตัวออกจาก อุจจาระ เมื่อนาไปปั่นเหวี่ยง เชื้อจะตกตะกอนที่ก้นหลอด วิธีนี้ใช้อุจจาระจานวนมาก ประมาณลูกมะนาวขนาดเล็ก จึงมีโอกาสพบเชื้อได้มากกว่าวิธี Simple smear วิธีนี้ตรวจพบระยะไข่ ตัวอ่อน และตัวแก่ของหนอนพยาธิและระยะ Cyst ของ โปรโตซัวได้แต่ไม่สามารถตรวจพบระยะ Trophozoite แบ่งอุจจาระมา 5 g เติม Normal saline คนอุจจาระให้กระจายตัว กรองผ่านผ้ากอซ เติม 10% Formalin เติม Ethyl acetate
  • 14. 14  ในกรณีที่ต้องการตรวจหาระยะ Trophozoite ของเชื้อโปรโตซัว ควรส่งอุจจาระ ภายใน 30 นาที ถ้าไม่สามารถส่งได้ ควรเติมน้ายารักษาสภาพ PVA (Polyvinyl alcohol) หรือ MIF (Merthiolate Iodine Formadehyde) จนท่วมและคนให้เข้ากัน (ไม่เกิน 1 สัปดาห์) ควรบันทึกวันและเวลาที่เก็บอุจจาระไว้บนภาชนะด้วย  ในกรณีต้องการหาไข่พยาธิ หรือ Cyst ของโปรโตซัว ควรส่งอุจจาระภายใน 24 ชั่วโมง ถ้าไม่สามารถส่งได้ ควรเก็บไว้ในตู้เย็นที่ 4 องศาเซลเซียส (ไม่เกิน 3 วัน) หรือใส่ลงใน 10 % formalin จนท่วมและคนให้เข้ากัน (ไม่เกิน 1 สัปดาห์) เขย่า เข้าเครื่องปั่นเหวี่ยง หลังปั่นเหวี่ยง
  • 15. 15 6. การสั่งเพาะเชื้อบิดมีตัว (Culture for E.histolytica) ให้ส่งอุจจาระภายใน 30 นาที หรือ เก็บไว้ที่อุณหภูมิห้อง (ภายใน 24 ชั่วโมง) ห้ามนาสิ่งส่งตรวจ เข้าตู้เย็น 7. การสั่งตรวจวิเคราะห์หา Antigen ของเชื้อ Entamoeba histolytica ควรส่ง อุจจาระภายในวันนั้น ถ้าไม่สามารถส่งได้ ควรเก็บไว้ในตู้เย็นที่ 4 องศาเซลเซียส (ทันทีภายใน 24 ชั่วโมง) หรือแช่แข็งที่ -20 องศาเซลเซียส (ไม่เกิน 1 สัปดาห์)  
  • 16. 16 8. การเพาะเชื้อพยาธิเส้นด้ายและ พยาธิปากขอ (Agar plate culture for Strongyloides and Hookworm) สิ่งส่งตรวจที่มีหนอนพยาธิ เมื่อวางบนวุ้นเลี้ยงเชื้อ จะพบร่องรอย การเคลื่อนที่ของ หนอนพยาธิในเนื้อวุ้นได้ โดยหลักการนี้ หากสิ่งส่งตรวจมีตัวอ่อนของพยาธิเส้นด้าย (Strongyloides stercoralis) สามารถพบร่องรอยดังกล่าวพยาธิตัวอ่อน (ระยะ Rhabditiform larva) นี้ยังสามารถเติบโตเป็นตัวอ่อนระยะถัดไป (ระยะ Filariform larva) และพัฒนาต่อไป เป็นตัวแก่เต็มวัย (Free-living adults) ในวุ้นเลี้ยงเชื้อได้ พยาธิตัวแก่เพศเมียยังสามารถสร้าง ไข่ภายในลาตัวและออกลูกเป็นตัวอ่อนต่อไป ทาให้พบพยาธิจานวนเพิ่มขึ้นในวุ้นเลี้ยงเชื้อได้ ดังนั้นการเพาะเชื้อในวันหลัง ๆ จะพบหนอนพยาธิจานวนมากในวุ้นเลี้ยงเชื้อ หากอุจจาระมีไข่ของพยาธิปากขอ (Hookworm) เมื่อวางลงบนวุ้นเลี้ยงเชื้อนี้ ไข่ของ พยาธิปากขอสามารถพัฒนาจาก Non-embryonated egg เป็น Embryonated egg คือมีตัวอ่อน เกิดขึ้นในไข่ ซึ่งตัวอ่อนในไข่นี้จะออกจากไข่ อยู่ในวุ้นเลี้ยงเชื้อ เป็นระยะ Rhabditiform larva การไชเคลื่อที่ของ Rhabditiform larva ก่อให้เกิดร่องรอยการเคลื่อนที่ในเนื้อวุ้นได้ เช่นเดียวกัน ตัวอ่อนระยะ Rhabditiform นี้ยังสามารถพัฒนาต่อเป็นตัวอ่อนระยะถัดไปคือ ระยะ Filariform (แต่ระยะ Filariform ของพยาธิปากขอนี้ จะไม่พัฒนาเป็นตัวแก่เต็มวัยใน วุ้นเลี้ยงเชื้อ) ดังนั้นในวันหลัง ๆ ของการเพาะเชื้อ หากอุจจาระผู้ป่วยติดเชื้อไข่พยาธิปากขอ จะ พบตัวอ่อนระยะ Filariform ในวุ้นเลี้ยงเชื้อได้ พบร่องรอยการเคลื่อนที่ของหนอนพยาธิในเนื้อวุ้น หมายเหตุ: หากต้องการส่งตรวจมากกว่า 1 รายการต้องเพิ่มปริมาณอุจจาระขึ้นตามจานวนรายการส่งตรวจ
  • 17. 17 9. ถ้าอุจจาระของผู้ป่วยมีตัวพยาธิ หรือ วัตถุที่สงสัยว่าเป็นตัวพยาธิปะปนออกมา ควรส่งตรวจ ทั้งอุจจาระและตัวพยาธิพร้อมกัน โดยเลือกสั่งตรวจ 2 ช่องคือ Routine stool examination และ Identification of parasite  Routine stool examination เป็นการตรวจวิเคราะห์ภายใต้กล้องจุลทรรศน์ ว่าอุจจาระมี เชื้อหรือไม่ และหากมีการติดเชื้อ ทางห้องปฏิบัติการจะรายงานชนิด (Genus Species) ระยะ และ จานวนของเชื้อที่ตรวจพบ  Identification of parasite เป็นการวินิจฉัยจาแนกบอกชนิดของหนอนพยาธิ หรือ วัตถุ สงสัยที่พบปนมากับอุจจาระ โดยรายงานเป็นชนิด (GenusSpecies) และระยะของเชื้อ  
  • 18. 18 หมายเหตุ: ตามมาตรฐานสากล การเก็บอุจจาระเพื่อส่งตรวจ (Stool examination) กาหนดให้ผู้ป่วย เก็บอุจจาระ 3 วัน หากผู้ป่วยไม่สามารถถ่ายอุจจาระติดต่อกัน 3 วันก็สามารถเก็บอุจจาระ วันเว้นวัน หรือ วันใดก็ได้ที่ถ่ายได้แต่ต้องเก็บให้ได้3 วันตลอดช่วงเวลาไม่เกิน 10 วัน หากผู้ป่วยมีประวัติท้องผูกมาก แพทย์มักพิจารณาให้ยาระบาย ในกรณีนี้จะได้รับใบสั่งตรวจ 3 ใบ (เพื่อเก็บและ ส่งตรวจอุจจาระ 3 วัน) และเขียนวันที่ เก็บตัวอย่างอุจจาระที่ภาชนะให้ชัดเจน ผู้ป่วยสามารถขอกล่องใส่อุจจาระครั้งเดียวเท่ากับจานวนใบสั่งตรวจ โดยกล่องใส่ อุจจาระ 1 กล่อง จะใช้สาหรับใส่อุจจาระ 1 วัน ถ้าผู้ป่วยไม่สะดวกที่จะมาส่งอุจจาระทุกครั้ง สามารถเก็บจนครบ 3 วัน จึงนาส่งพร้อมกันในช่วงเช้าของวันที่แพทย์นัดตรวจก็ได้ กรณีที่ต้องการเพาะเชื้อหนอนพยาธิ ให้เก็บอุจจาระไว้ที่อุณหภูมิห้องเท่านั้น ห้ามนาเข้าตู้เย็น หากเป็นการส่งตรวจเพาะเชื้อProtozoaเช่นEntamoebahistolytica ควรส่งภายในวันนั้น
  • 19. 19 1. เก็บหนองใส่ในภาชนะสะอาดไม่ควรต่ากว่า 1 มิลลิลิตร 2. การสั่งเพาะเชื้อทางปรสิตวิทยา (Culture for E. histolytica/ E.dispar) ให้ส่งหนองภายใน 30 นาที ห้ามนาเข้าตู้เย็น 3. ในกรณีที่ต้องการตรวจหาระยะ Trophozoite ของเชื้อโปรโตซัว ให้สั่งตรวจ Routine stool examination และ ควรส่งหนองภายใน 30 นาที ถ้าไม่สามารถส่งได้ ควรใส่ลงในน้ายารักษา สภาพ เช่นใช้ PVA (Polyvinyl alcohol) หรือ MIF (Merthiolate Iodine Formadehyde) เทน้ายาให้ท่วม และ คนให้เข้ากัน (แล้วต้องส่งภายใน 1 สัปดาห์) ควรบันทึกวันและเวลาที่เก็บ หนองไว้บนภาชนะด้วย 4. การสั่งตรวจหา Antigen ของเชื้อ Entamoeba histolytica ในหนองควรส่งภายในวันนั้น ถ้า ไม่สามารถส่งได้ ควรเก็บไว้ในตู้เย็นที่ 4 องศาเซลเซียส (แล้วต้องส่งภายใน 24 ชั่วโมง) หรือ แช่แข็งที่ -20 องศาเซลเซียส (แล้วต้องส่งภายใน 1 สัปดาห์) 5. ถ้าหนองมีส่วนที่เป็นเลือด ควรเลือกเก็บส่วนที่เป็นเลือดด้วย ยกตัวอย่าง หนองฝีที่เกิดจาก การติดเชื้อ Entamoeba histolytica จะพบเชื้อได้ที่บริเวณขอบแผลมากกว่าบริเวณอื่น หนอง จากส่วนกลาง ๆ ของฝีมักมีเลือดปนน้อยมาก คือ มีแต่หนอง และ มีเชื้อน้อยมาก หรือ ไม่มีเลย  ปริมาณหนองที่เพียงพอ สาหรับการตรวจวินิจฉัย หนอง (Pus)
  • 20. 20 เพื่อตรวจวินิจฉัยโรคเท้าช้างและ มาลาเรีย  Microfilaria after DEC treatment  Thin and Thick blood films for microfilaria  Thin and Thick blood films for malaria  ICT for malaria  PCR for malaria 1. เจาะเลือดผู้ป่วย 3 มิลลิลิตร ใส่ในหลอดฝาสีม่วง (EDTA Blood) 2. นาใบสั่งตรวจและเลือดมาส่งที่ห้องปฏิบัติการปรสิตวิทยา ควรส่งตรวจภายในวันนั้น ถ้าไม่สามารถส่งได้ควรไว้ในตู้เย็นที่ 4 องศาเซลเซียส (ไม่เกิน 1 วัน) เพื่อตรวจหาแอนติบอดีที่จาเพาะต่อการติดเชื้อ หรือ แอนติเจนของเชิ้อปรสิต  Filaria specific antigen (W. bancrofti)  IHA for E. histolytica  Toxoplasma IgG antibody  Toxoplasma IgM antibody  Taenia solium IgG antibody (cysticercosis)  Western blot for Gnathostoma spinigerum 1. เจาะเลือดผู้ป่วย 2-3 มิลลิลิตร ใส่ในหลอดฝาแดง (Clotted blood) 2. นาใบสั่งตรวจและ เลือดมาส่งที่ห้องปฏิบัติการปรสิตวิทยา ควรส่งตรวจภายในวันนั้น ถ้า ไม่สามารถส่งได้ควรไว้ในตู้เย็นที่ 4 องศาเซลเซียส (ไม่เกิน 1 วัน) ถ้าต้องเก็บไว้มากกว่า 1 วัน ให้ปั่นแยก Serum และ เก็บใส่ลงในหลอดใหม่ที่สะอาด EDTA Blood Clotted Blood
  • 21. 21 เป็นวิธีตรวจหาไข่ของพยาธิเข็มหมุด (Enterobius vermicularis, Pinworm) บริเวณรอบ ๆ ทวารหนัก เนื่องจากในเวลากลางคืน พยาธิเข็มหมุดตัวเมียจะเดินทางออกจากปลายลาไส้ใหญ่มา วางไข่ภายนอกรอบ ๆ ทวารหนัก เมื่อนาเทปกาวใสด้านเหนียวมาสัมผัสกับบริเวณรอบ ๆ ทวาร หนัก ไข่พยาธิจะถูกจับติดโดยความเหนียวของเทปกาว 1. การทา Scotch tape technique แก่ผู้ป่วยในหอผู้ป่วย ให้ใช้มือข้างหนึ่งแหวกรูก้น (Buttocks) ให้เห็นถึง Outer anal canal มืออีกข้างหนึ่งนาด้านเหนียวของเทปกาวใสกดลงบน Perianal folds ทั้งด้านซ้ายและขวาของผู้ป่วย แล้วนาด้านเหนียวของเทปกาวใสนี้ติดลงบนแผ่นสไลด์ 2. กรณีให้ผู้ป่วยไปเก็บสิ่งส่งตรวจในที่พักอาศัยของตนเอง ควรอธิบายให้ผู้ปกครองเข้าใจ และ ทา Scotch tape เช่นเดียวกับข้อ 1 หรือ ในกรณีที่เป็นเด็กโต ให้เด็กนั่งยอง ๆ แล้วใช้แผ่นเทป กาวใส ให้ด้านเหนียวกดสัมผัสกับรอบบริเวณทวารหนักดังกล่าวให้ทั่ว ๆ 3. เทคนิคนี้ควรตรวจหลังตื่นนอน ก่อนผู้ป่วยอาบน้าชาระร่างกาย มิฉะนั้นไข่จะถูกชะล้างออกไป หมายเหตุ: หากการติดเชื้อพยาธิเข็มหมุดมีจานวนน้อย ควรตรวจติดต่อกัน 3 วัน เป็นอย่างน้อย เนื่องจากพยาธิตัวเมียอาจไม่วางไข่ทุกวัน รูปไข่พยาธิเข็มหมุด Scotch tape
  • 22. 22 เสมหะที่ส่งตรวจวิเคราะห์ ควรมีน้าลายปนเปื้อนน้อยที่สุด น้าล้างปอด ควรเก็บใส่ในขวดหรือภาชนะที่สะอาด ไม่ต่ากว่า 2 มิลลิลิตร  ตรวจหาไข่พยาธิใบไม้ในปอด  ตรวจหาพยาธิ Strongyloides stercoralis  Stain for Pneumocystis jiroveci  PCR for Pneumocystis jiroveci  IFA for Pneumocystis jiroveci เป็นต้น ควรส่งตรวจภายในวันนั้น ถ้าไม่สามารถส่งได้ทันที ควรไว้ในตู้เย็นที่ 4 องศาเซลเซียส (ไม่เกิน 1 สัปดาห์) ถ้าต้องการส่งเพาะเชื้อ (Agar plate culture for Strongyloides & hookworm, Culture for E. histolytica/ E.dispar)ห้ามนาเข้าตู้เย็น เสมหะ น้าล้างปอด เสมหะ (Sputum) น้าล้างปอด (Bronchoalveolar lavage, BAL)
  • 23. 23 1. น้าจากตา, Corneal scrapings ถ้าสงสัยว่าติดเชื้ออะมีบา และต้องการเพาะเชื้อ (Culture for free- living amoebae, Acanthamoeba, Naegleria) หรือต้องการตรวจหาเชื้อ Microsporidium ให้เก็บสิ่งส่งตรวจลงในภาชนะที่ปราศจากเชื้อ และ แนะนาให้เติม Steriled Normal Saline จานวนเล็กน้อยลงในภาชนะ หรือ ขวดที่เก็บสิ่งส่งตรวจด้วย เพื่อป้องกันไม่ให้สิ่งส่งตรวจแห้งเสีย  ควรส่งตรวจภายในวันนั้น ในกรณีต้องการส่งเพาะเชื้อ ถ้าไม่สามารถ ส่งได้ทันที ให้ไว้ที่อุณหภูมิห้องได้(ไม่เกิน 1 วัน) ห้ามนาสิ่งส่งตรวจ เข้าตู้เย็น หรือ ตู้แช่แข็ง 2. น้าจากลาไส้ (Duodenal content) สิ่งส่งตรวจ Duodenal content ให้เก็บใส่ขวดที่ปราศจากเชื้อ (Sterile) ในกรณีติดเชื้อ Giardia intestinalis (Giardia duodenalis, Giardia lamblia) จะพบระยะ Trophozoite หากนาสิ่งส่งตรวจเข้าตู้เย็นจะทาให้เชื้อระยะ Trophozoite นี้หยุดการเคลื่อนที่ และ ตายได้ นอกจากนี้น้าจากลาไส้ยัง สามารถตรวจพบเชื้อ Isospora, Cryptosporidium และ Strongyloidesระยะ Rhabditiform larva ได้หากต้องการส่งเพาะเชื้อ ห้ามนาเข้าตู้เย็น สารน้าอื่น ๆ
  • 24. 24 เป็นการวินิจฉัยจาแนกบอกชนิดของสิ่งที่สงสัยว่าเป็นปรสิตชนิดใด เป็นหนอนพยาธิสายพันธุ์ใด เป็นเชื้อระยะตัวแก่ หรือตัวอ่อน เป็นส่วนหัวหรือส่วนใดของเชื้อ 1. ให้เก็บหนอนพยาธิที่ยังมีชีวิต หรือ ที่ตายแล้วก็ได้แต่คงสภาพที่ดีไม่เน่าเปื่อย ล้างหนอนพยาธิที่สงสัย ด้วยน้าธรรมดาจนสะอาด 2. ส่งห้องปฏิบัติการทันที หากไม่สามารถส่งได้ในวันนั้น ให้ใส่ลงในน้าเกลือ 0.85% และเก็บไว้ที่ 4 องศาเซลเซียส (ภายใน 3วัน)หรือใส่ลงใน70%Alcohol หรือ 10%Formalin และควรส่งภายใน 7วัน หมายเหตุ: การส่งวัตถุที่สงสัย ให้เลือกรายการตรวจในช่อง Identification of parasite ไม่ใช่ Routine stool examination ชิ้นส่วนของหนอนพยาธิ และ วัตถุสงสัย วัตถุที่สงสัยพยาธิ 
  • 25. 25 เมื่อแพทย์สั่งยาถ่ายพยาธิให้ผู้ป่วย และกาหนดให้ผู้ป่วยเก็บพยาธิและ นา อุจจาระทั้งหมดที่ถ่ายได้มาส่งตรวจวิเคราะห์และวินิจฉัยทางห้องปฎิบัติการฯนั้น  ควรให้ผู้ป่ วยกินยาระบายก่อนในวันแรกเพื่อถ่ายเอาอุจจาระออกจาก ระบบทางเดินอาหารให้มากที่สุด  วันต่อมาจึงให้ผู้ป่วยรับประทานยาถ่ายพยาธิ และ ให้ผู้ป่วยงดรับประทาน ผักสด ผลไม้และ ควรรับประทานอาหารอ่อน เพราะช่วยลดกากใยต่าง ๆ จากผัก ผลไม้ เนื่องจากกากใยในอุจจาระเป็นสิ่งรบกวนการวินิจฉัย และ หากเป็นหนอนพยาธิเล็ก ๆ อาจบดบังเชื้อได้  รุ่งขึ้นให้ผู้ป่วยเก็บอุจจาระที่ถ่ายได้ทั้งหมดนาส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ การให้ยาถ่ายพยาธิ อุจจาระจานวนมากและ หนอนพยาธิที่ถ่ายจากผู้ป่ วย ที่ไม่ได้กินยาระบายในวันแรก อุจจาระจานวนน้อยและ หนอนพยาธิที่ถ่ายจากผู้ป่ วย ที่กินยาระบายถ่ายอุจจาระออก ก่อนในวันแรก เก็บล้างตัวพยาธิในถุงพลาสติก หรือ ภาชนะสะอาด
  • 26. 26 แมลงขนาดเล็ก เช่น ยุง ด้วงก้นกระดก ควรห่อด้วยกระดาษอ่อน หรือใส่ตลับ หรือ กล่อง ขนาดเล็กมีฝาปิด หรือ ใส่ใน 70 % Alcohol ให้ท่วม 1. Arthropods ขนาดเล็ก เช่น หมัด ไร เหา ควรใส่ใน 70 % Alcohol ให้ท่วม 2. Arthropods ขนาดใหญ่ เช่น ตะขาบ แมงมุม ควรทาให้ตายด้วยคลอโรฟอร์ม หรือ แช่แข็งให้ตายก่อน แล้วเก็บในกล่องที่แห้ง หรือ ใส่ใน 70% Alcohol ให้ท่วม นาแมลงและ Arthropods ส่งห้องปฏิบัติการปรสิตวิทยา โดยเลือกรายการ Identification of parasite และ ระบุบริเวณที่เก็บ เช่น เก็บจากรูหูผู้ป่วย เส้นขน จากหัวเหน่า (Pubic hair) เป็นสะเก็ดที่ขูดจากง่ามนิ้ว เป็นต้น แมลง และ Arthropods อื่น ๆ
  • 27. 27 Garcia, L S. (2006). Diagnostic medical parasitology (5th Ed.). Washington D.C: ASM Press. หมายเหตุ คู่มือ “การปฏิบัติงานของฝ่ายปรสิตวิทยา สาหรับนิสิตแพทย์เวชปฏิบัติ ในการ ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์” ฉบับนี้เรียบเรียงโดย รองศาสตราจารย์ดร. วิไล ศักดิ์ศิริสัมพันธ์ หากมีข้อแนะนา หรือสงสัยสามารถติดต่อผู้เรียบเรียงได้ที่หมายเลข โทรศัพท์ 02-2564387 ต่อ 12 หรือ 20 เอกสารอ้างอิง
  • 28. 28 สถานที่ รายการตรวจ อาจารย์ผู้รับผิดชอบ โทรศัพท์ ภปร. 4 Routine stool examination อ.ดร.วิวรพรรณ สรรประเสริฐ 5386 ภปร. 4 ICT for Occult blood อ.ดร.วิวรพรรณ สรรประเสริฐ 5386 ภปร. 4 Stain for fat อ.ดร.วิวรพรรณ สรรประเสริฐ 5386 ภปร. 4 Microfilaria after DEC treatment (6mg/kg) single dose ศ.ดร.พญ. สุรางค์นุชประยูร 4387 ภปร. 4 Thin and Thick blood film for microfilaria อ.ดร.วิวรพรรณ สรรประเสริฐ 5386 ภปร. 4 Thin and Thick blood films for malaria ศ.ดร.นพ. สมชาย จงวุฒิเวศย์ 4387 ภปร. 4 Scotch tape technic รศ.พญ.กัญญรัตน์ กรัยวิเชียร 4387 อปร. 18 Agar plate culture for Strongyloides and hookworm ศ.ดร.นพ. สมชาย จงวุฒิเวศย์ 4387 อปร. 18 Culture for E. histolytica/E. dispar ศ.ดร.นพ. สมชาย จงวุฒิเวศย์ 4387 อปร. 18 Stain for Cryptosporidium, Cyclospora and Isospora ศ.ดร.นพ. สมชาย จงวุฒิเวศย์ 4387 อปร. 18 Stain for microsporidium ศ.ดร.นพ. สมชาย จงวุฒิเวศย์ 4387 อปร. 18 E. histolytic antigen from pus or stool รศ. วิไล ศักดิ์ศิริสัมพันธ์ 4387 อปร. 18 Filaria specific antigen (Wuchereria bancrofti) ศ.ดร.พญ. สุรางค์นุชประยูร 4387 อปร. 18 IHA for E. histolytica รศ. วิไล ศักดิ์ศิริสัมพันธ์ 4387 อปร. 18 Toxoplasma IgG antibody รศ. วิไล ศักดิ์ศิริสัมพันธ์ 4387 อปร. 18 Toxoplasma IgM antibody รศ. วิไล ศักดิ์ศิริสัมพันธ์ 4387 อปร. 18 Taenia solium IgG antibody (Cysticercosis) รศ. วิไล ศักดิ์ศิริสัมพันธ์ 4387 อปร. 18 Western blot for Gnathostoma spinigerum รศ.พญ. กัญญรัตน์ กรัยวิเชียร 4387 อปร. 18 ICT for malaria ศ.ดร.นพ. สมชาย จงวุฒิเวศย์ 4387 อปร. 18 PCR for malaria (4 species) ศ.ดร.นพ. สมชาย จงวุฒิเวศย์ 4387 อปร. 18 Identification of parasite รศ. วิไล ศักดิ์ศิริสัมพันธ์ รศ.นพ. เผด็จ สิริยะเสถียร 4387 อปร. 18 Culture for T. vaginalis รศ. วิไล ศักดิ์ศิริสัมพันธ์ 4387 อปร. 18 Stain for Pneumocystis jiroveci รศ.ดร. จตุรงค์พุทธพรทิพย์ 4387 อปร. 18 Culture for free-living amoebae (Acanthamoeba, Naegleria) ศ.ดร.นพ. สมชาย จงวุฒิเวศย์ 4387 อปร. 18 PCR for Pneumocystis jiroveci รศ.ดร. จตุรงค์พุทธพรทิพย์ 4387 อปร. 18 IFA for Pneumocystis jiroveci รศ.ดร. จตุรงค์พุทธพรทิพย์ 4387 ตารางที่ 1: แสดงสถานที่ทาการตรวจ รายการตรวจ และ อาจารย์ผู้รับผิดชอบดูแลรายการตรวจ
  • 29. 29 รหัส รายการตรวจ ชนิดสิ่งส่งตรวจ และ ปริมาณ เทคนิคการตรวจ ระยะเวลา รอคอยผล ราคา PS001 Agar plate culture for Strongyloides and hookworm อุจจาระ และ/หรือ เสมหะ ½ กล่อง Culture 7วันทาการ 160 PS002 Culture for E. histolytica/ E.dispar อุจจาระ และ/หรือ หนอง ½ กล่อง Culture 7วันทาการ 200 PS009 ICT for Occult blood อุจจาระ ½ กล่อง Immunochromatography test 30 นาที 80 PS010 Routine stool examination อุจจาระ ½ กล่อง Simple smear & Formalin Ethyl Acetate Concentration Technique 45 นาที 100 ตารางที่ 2: แสดงรหัส รายการตรวจ ชนิดสิ่งส่งตรวจ และ ปริมาณ เทคนิคการตรวจ ระยะเวลารอคอยผล และราคา
  • 30. 30 รหัส รายการตรวจ ชนิดสิ่งส่งตรวจ และ ปริมาณ เทคนิคการตรวจ ระยะเวลา รอคอยผล ราคา PS013 Stain for Cryptosporidium, Cyclospora and Isospora อุจจาระ ½ กล่อง Modified cold Kinyoun acid fast stain 2 วันทาการ 150 PS014 Stain for fat อุจจาระ ½ กล่อง Sudan's stain 30 นาที 30 PS015 Stain for Microsporidium อุจจาระ ½ กล่อง Modified Trichrome 's stain 3 วันทาการ 100 PS023 E. histolytica antigen from pus or stool อุจจาระ และ/หรือ หนอง ½ กล่อง ELISA 3 วันทาการ 1,400 PS005 Microfilaria after DEC treatment (6mg/kg) single dose EDTABlood 3 ml Knot Technique & Giemsa's stain 2 ชั่วโมง 50
  • 31. 31 รหัส รายการตรวจ ชนิดสิ่งส่งตรวจ และ ปริมาณ เทคนิคการตรวจ ระยะเวลา รอคอยผล ราคา PS006 Filaria specific antigen (W. bancrofti) ClottedBlood 2-3 ml ELISA 3 วันทาการ 2,500 PS008 IHA for E. histolytica Clotted Blood 2-3 ml Indirect Haemagglutination 3 วันทาการ 650 PS019 Thin and Thick blood film for microfilaria EDTABlood 3 ml Knot Technique & Giemsa's stain 1 ชั่วโมง 80 PS020 Toxoplasma IgG antibody ClottedBlood 2-3 ml ELISA 5 วันทาการ 1,250 PS021 Toxoplasma IgM antibody ClottedBlood 2-3 ml ELISA 5 วันทาการ 1,250
  • 32. 32 รหัส รายการตรวจ ชนิดสิ่งส่งตรวจ และ ปริมาณ เทคนิคการตรวจ ระยะเวลา รอคอยผล ราคา PS024 Taenia solium IgG antibody (Cysticercosis) ClottedBlood 2-3 ml ELISA 3 วันทาการ 1,600 PS025 Western blot for Gnathostoma spinigerum Clotted Blood 2-3 ml Western blot 4 วันทาการ 1,100 PS027 Thin and Thick blood films for malaria EDTABlood 3 ml Giemsa's stain 1 ชั่วโมง 80 PS028 ICT for malaria EDTABlood 3 ml Immunochromatography test 2 วันทาการ 280 PS029 PCR for malaria (4 species) EDTABlood 3 ml Polymerase chain reaction 5 วันทาการ 700
  • 33. 33 รหัส รายการตรวจ ชนิดสิ่งส่งตรวจ และ ปริมาณ เทคนิคการตรวจ ระยะเวลา รอคอยผล ราคา PS003 Culture for T. vaginalis Vaginal Swab in NSS 0.5-1 ml Culture 3 วันทาการ 300 PS007 Identification of parasite ตัวพยาธิ หรือ แมลง Parasite technique 3 วันทาการ 65 PS011 Scotch tape technic Slide Scotch tape 2 แผ่น Scotch tape technic 30 นาที 50 PS016 Stain for Pneumocystis jiroveci BALและ/หรือ Sputum 2 ml Giemsa's stain 3 วันทาการ 150 PS022 Culture for free-living amoebae (Acanthamoeba, Naegleria) น้าจากตา และ/หรือ ชิ้นส่วนจากตา 1-2 ml Culture 7 วันทาการ 200
  • 34. 34 หมายเหตุ: จานวนวันที่ระบุในช่อง “ระยะเวลารอคอยผล” จะหมายถึง “จานวนวันทาการ” ไม่รวมวันหยุดเสาร์-อาทิตย์หรือ วันหยุดราชการ รหัส รายการตรวจ ชนิดสิ่งส่งตรวจ และ ปริมาณ เทคนิคการตรวจ ระยะเวลา รอคอยผล ราคา PS026 PCR for Pneumocystis jiroveci BALและ/หรือ Sputum 3 ml Polymerase chain reaction 5 วันทาการ 750 PS030 IFA for Pneumocystis jiroveci BALและ/หรือ Sputum 3 ml Immunofluorescence assay 3 วันทาการ 1,000
  • 35. 35 ชนิดปรสิต รายการตรวจ รหัส Parasites in stool Routine stool examination PS010 Parasites and arthropods Identification of parasite PS007 Blood in stool ICT for occult blood PS009 Fat in stool Stain for fat PS014 Acanthamoeba spp. Cultureforfree-livingamoebae(Acanthamoeba,Naegleria) PS022 Identification of parasite PS007 Cryptosporidium spp. Stain for Cryptosporidium, Cyclospora & Isospora PS013 Cyclospora cayetanensis Stain for Cryptosporidium, Cyclospora & Isospora PS013 Entamoeba histolytica Culture for E. histolytica/ E. dispar PS002 IHA for E. histolytica PS008 E. histolytica antigen from pus or stool PS023 Routine stool examination PS010 Enterobius vermicularis Scotch tape technic PS011 Routine stool examination PS010 Filaria Thin and Thick blood films for microfilaria PS019 Microfilaria after DEC treatment (6 mg/kg) single dose PS005 Filaria specific antigen (W. bancrofti) PS006 Gnathostoma spinigerum Western blot for Gnathostoma spinigerum PS025 Isospora belli Stain for Cryptosporidium, Cyclospora & Isospora PS013 Routine stool examination PS010 Malaria Thin and Thick blood films for malaria PS027 ICT for malaria PS028 PCR for malaria (4 species) PS029 Microsporidium spp. Stain for microsporidium PS015 Naegleria spp. Cultureforfree-livingamoebae(Acanthamoeba,Naegleria) PS022 Pneumocystis jiroveci Stain for Pneumocystis jiroveci PS016 IFA for Pneumocystis jiroveci PS030 PCR for Pneumocystis jiroveci PS026 Strongyloides stercoralis Agar plate culture for Strongyloides & hookworm PS001 Routine stool examination PS010 Taenia solium (cysticercosis) Taenia solium IgG antibody (cysticercosis) PS024 Toxoplasma gondii Toxoplasma IgG antibody PS020 Toxoplasma IgM antibody PS021 Trichomonas vaginalis Culture for T. vaginalis PS003 ตารางที่ 3: แสดงรายการตรวจ จาแนกตามชนิดปรสิต
  • 36. 36