SlideShare a Scribd company logo
1 of 62
Download to read offline
แนวทางการวินิจฉัย การปฐมพยาบาล และการดูแลรักษา


           ภาวะเปนพิษจากพาราควอท

               PARAQUAT POISONING

         a practical guide to diagnosis, first aid and
                                  hospital treatment




                0
คํานิยม
           หนังสือคูมือแนวทางการวินจฉัย การปฐมพยาบาล และการดูแลรักษา ภาวะเปนพิษจาก
                                     ิ
"พาราควอท" เลมนี้ ทางบริษัท ซินเจนทา ครอป โปรเทคชั่น จํากัด ไดจัดทําขึ้นเพื่อมอบใหแก
ทางโรงพยาบาล หนวยงาน นายแพทย หรือผูที่เกี่ยวของตลอดจนผูที่มีความสนใจทัวไป เพื่อใหเกิด
                                                                               ่
ประโยชนตอการรักษาพยาบาลผูปวย ขอความสวนใหญในหนังสือเลมนี้ไดแปลและเรียบเรียงจาก
หนังสือ PARAQUAT POISONING a practical guide to diagnosis, first aid and hospital treatment
ฉบับลาสุด ป ค.ศ 2003 ของบริษัท ซินเจนทา ครอป โปรเทคชั่น จํากัด
           บริษัทฯ ขอขอบพระคุณ นายแพทย วินย วนานุกูล และ ดร.อํานวย ถิฐาพันธ
                                              ั
ที่ไดกรุณาชวยแปล ตรวจทานและแกไข เพิ่มเติม เพื่อใหหนังสือเลมนีมความสมบูรณยิ่งขึ้น
                                                                  ้ ี
           บริษัทฯ ขอขอบพระคุณ นายแพทย สมิง เกาเจริญ นายแพทย วินัย วนานุกูล แพทยหญิง
สุดา วรรณประสาท นายแพทย สัมมนต โฉมฉาย แพทยหญิง จุฬธิดา โฉมฉาย นายแพทย
ธีระ กลลดาเรืองไกร และนายแพทย สุชัย สุเทพารักษ ทีไดใหเกียรติแกทางบริษัทฯ โดยอนุญาตให
                                                    ่
นําชื่อ และสถานที่ทํางานของทานมาลงไวในหนังสือเลมนี้ เพื่อการติดตอขอคําแนะนํา
และรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับการรักษาผูปวย
                                         
           ทายที่สุดบริษทฯ ขอขอบพระคุณ กรมวิชาการเกษตร ทีไดกรุณารวบรวมรายชื่อทางการคา
                         ั                                     ่
ของสารกําจัดวัชพืช พาราควอท ที่ไดรับการขึ้นทะเบียนวัตถุมพษ เพื่อนํามาใชประกอบใน
                                                           ี ิ
รายละเอียดของหนังสือเลมนี้




                                             1
สารบัญ
คํานิยม                                                              1
บทนํา                                                                3
การรักษาภาวะเปนพิษจากการกินพาราควอท                                 4
           การวินจฉัย
                  ิ                                                  4
           การปฐมพยาบาลเบื้องตน                                     4
           การดูแลรักษาผูปวยเบื้องตนในโรงพยาบาล
                                                                    5
           การใชการตรวจทางหองปฏิบัติการเพื่อการวินิจฉัย            6
           ลักษณะทางคลินก   ิ                                        6
           การดูแลรักษาแบบประคับประคอง                               7
ผังงานแนวทางการดูแลรักษาภาวะเปนพิษจากพาราควอทระยะแรก                9
การไดรับสัมผัสพาราควอททางอื่น
           ผิวหนัง                                                   10
           ตา                                                        11
           การสูดดม                                                  12
ขอมูลพื้นฐาน                                                        13
กลไกการเกิดพิษ                                                       14
ขบวนการทางชีวเคมีของภาวะเปนพิษจากพาราควอท                           15
การรักษาอื่นทีอาจไดประโยชน
                ่
           การเพิ่มการกําจัดพาราควอทออกจากรางกาย                    16
           การปองกันและรักษาภาวะพังผืดในปอด (Pulmonary fibrosis)    17
เทคนิคการวิเคราะห
           การวิเคราะหเชิงคุณภาพเพือยืนยันการวินจฉัย
                                     ่           ิ                   20
           การวิเคราะหสารพาราควอทเชิงปริมาณ                         21
ความสัมพันธระหวางระดับพาราควอทในพลาสมากับโอกาสรอดชีวิตของผูปวย   22
บรรณานุกรม                                                           24
รายละเอียดเพิมเติม
              ่                                                      25
รายชื่อทางการคาสารกําจัดวัชพืชพาราควอท                              27
รายชื่อโรงพยาบาลที่ไดรบการสนับสนุน Fuller's Earth
                         ั                                           29



                                         2
บทนํา

           พาราควอท เปนสารกําจัดวัชพืชที่มีประสิทธิภาพสูงและปลอดภัยเมื่อ ใชตามคําแนะนํา
ที่ติดอยูบนฉลาก แตการไดรบสารพาราควอทในขนาดทีเ่ ปนพิษมีโอกาสเสียชีวตไดสง แมจะได
                                  ั                                           ิ    ู
รับการรักษาอยางเต็มที่ ซึ่งสวนใหญมักจะเปนกรณีที่มจุดประสงคเพื่อทํารายตัวเอง การวินิจฉัย
                                                        ี
ภาวะสัมผัสถูกพาราควอทตังแตระยะแรก และการรักษาเพื่อลดการปนเปอนของพาราควอท
                                ้
เขาสูรางกายแตเนิ่นๆ จึงเปนสวนสําคัญของการรักษา
           ในชวงหลายปมานี้ มีความกาวหนาเพียงเล็กนอยในการดูแลรักษาผูปวยที่มภาวะเปนพิษ
                                                                                 ี
จากพาราควอท หนังสือคูมือเลมนี้เขียนในแนวทางที่ใหความสําคัญกับการวินิจฉัยแตเนิ่นๆ
และการดูแลรักษาผูปวยในระยะแรกเปนหลัก และไดรวบรวมกลไกการเกิดพิษของพาราควอท
รวมทั้งผังงานแนวทางการดูแลรักษา เพื่อชวยใหแพทยวางแผนการรักษาตั้งแตระยะแรก ตลอด
จนวิธีการตรวจทางหองปฏิบัติการใหมๆ ดวย หนังสือคูมือเลมนี้เปนผลงาน รวมระหวาง บุคลากร
                                                          
ของ Health Assessments and Environmental Safety Department บริษท ซินเจนทา ครอป
                                                                    ั
โปรเทคชั่น จํากัดและ Medical Toxicology Unit, Guy’s & St Thomas’ Hospital NHS Trust,
กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร
           หนังสือคูมือเลมนี้มีเปาหมายที่จะนําเสนอแนวทางการรักษาภาวะเปนพิษจากพาราควอทที่
เหมาะสมและดีที่สุดในปจจุบัน อยางไรก็ตามคงตองตระหนักถึงดานความพรอมของการรักษา
ซึ่งมีความแตกตางกันอยางมากในแตละประเทศ และสถานพยาบาลแตละแหง แพทยควรเขาใจและ
ทราบถึงขีดความสามารถของเวชปฏิบัติและความพรอมของการตรวจทางหองปฏิบัติการของทองที่
นั้นๆเพื่อนําไปประยุกตใชตอไป

คําเตือน
        แมวาคณะผูนพนธหนังสือเลมนี้ไดเขียนคําแนะนําบนพืนฐานของความซื่อสัตยแหง
                     ิ                                     ้
วิชาชีพ และความรูที่มีหลักฐานและทันสมัยที่สุดที่มีอยูในขณะเวลาที่จัดพิมพหนังสือเลมนี้
                                                      
แตไมสามารถรับรองหรือไมไดหมายความวาคําแนะนําทังหมดในหนังสือเลมนี้จะถูกตองทั้งหมด
                                                          ้
นอกจากนี้ความสําเร็จในการรักษาใดๆ ยังขึนกับปจจัยอื่นๆ ที่นอกเหนือความควบคุมของผูนิพนธ
                                         ้
เชน สภาพรางกายโดยทั่วไปของผูปวย ระยะเวลาตั้งแตกนสารพาราควอทจนถึงเริ่มการรักษา
                                                        ิ
และปริมาณของผลิตภัณฑทกินเขาไป เปนตน
                            ี่




                                              3
การรักษาภาวะเปนพิษจากการกินพาราควอท

การวินิจฉัย

    • การวินจฉัยจะตองทําทันที พรอมกับการใหการปฐมพยาบาลโดยไมรอชา
              ิ
    • การวินจฉัยภาวะเปนพิษจากพาราควอท ทําไดโดยอาศัยขอมูลตอไปนี้
                ิ
       1. ประวัตของการกินพาราควอท ทั้งจากผูปวยเองหรือผูพบเห็น
                  ิ
       2. หลักฐานรองรอยของการกินพาราควอท เชน จดหมายลาตาย ขวดผลิตภัณฑเปลา
สวนที่กินเหลือ สี หรือ กลิ่น
       3. อาการแสดงทางคลินิก โดยเฉพาะอาการอาเจียนทีหยุดยาก มีแผลหรือการอักเสบ
                                                              ่
ของเยื่อบุชองปาก (ซึ่งจะพบไดหลังกินไปหลายชั่วโมงแลว)
           ประวัติการกินสารกําจัดวัชพืชที่เปนสีน้ําเงิน-เขียว แลวมีอาเจียนอยางมากเปนสีน้ําเงิน-
เขียว (หรือการไดนําลางกระเพาะเปนสีนาเงิน-เขียว) รวมกับมีอาการเจ็บปากและคอถือเปนขอมูล
                        ้               ้ํ
ที่สาคัญในการวินิจฉัยภาวะการกินพาราควอท
    ํ
    • การกินพาราควอทในภาวะตอไปนี้มักไมทาใหเกิดเปนภาวะพิษที่รนแรง
                                                 ํ                         ุ
       1. กินพืชที่ถกพนดวยพาราควอทมากอน
                      ู
       2. กินดินที่ถกพนดวยพาราควอทมากอน
                    ู
       3. กินพาราควอทชนิดเจือจางซึ่งใชสําหรับฉีดพนเพื่อกําจัดวัชพืช

การปฐมพยาบาลเบื้องตน

• ถาผูปวยไมไดกําลังอาเจียนอยูขณะนั้น พิจารณาใหกินสารอยางใดอยางหนึ่งตอไปนี้ คือ
             1. ผงถานกัมมันต (activated charcoal) ในขนาด
                     100 กรัม                              สําหรับผูใหญ
                     2 กรัม/กิโลกรัม ของน้ําหนักตัว        สําหรับเด็ก
             2. สารละลายดินเหนียว 15% Fuller’s Earth ในขนาด
                     1 ลิตร                                สําหรับผูใหญ
                     15 มิลลิลิตร/กิโลกรัม ของน้ําหนักตัว สําหรับเด็ก
             สามารถเตรียมสารละลายนี้ไดโดย ผสมผงดินเหนียว Fuller’s Earth 2 1/2 กระปอง
(แตละกระปองมี 60 กรัม) ละลายในน้ํา 1 ลิตร


                                                  4
• ควรใหยาระบาย (หลังจากใหผงถานกัมมันต หรือ Fuller’s Earth) เชน mannitol หรือ
    magnesium sulphate
    • ถาคาดวาผูปวยกินสารในปริมาณมากพอทีอาจจะทําใหเกิดอันตรายได ควรพิจารณาสงผูปวย
                                             ่
ไปยังโรงพยาบาลหลังจากการปฐมพยาบาลโดยเร็ว
    (ผงดินเหนียว Fuller’s Earth สามารถติดตอขอรับไดจากบริษัทซินเจนทา ครอป โปรเทคชั่น
จํากัด หรือในกรณีฉุกเฉินสามารถยืมไดจากโรงพยาบาลใกลเคียงที่มรายชื่ออยูในทายหนังสือเลมนี้)
                                                               ี

การดูแลรักษาผูปวยเบื้องตนในโรงพยาบาล

    • ดูแลเรื่องทางเดินหายใจ การหายใจ และการไหลเวียนโลหิต
    • ควบคุมอาการอาเจียนดวย
       1. ยาตานเซอโรโตนิน3 (5HT3 antagonists) เชน ondansetron 8 มิลลิกรัมในผูใหญ หรือ
5 มิลลิกรัม/ตารางเมตรของพื้นที่ผิวกาย ในเด็ก โดยฉีดเขาหลอดเลือดชาๆ หรือผสมน้ําเกลือหยด
เขาหลอดเลือดในเวลามากกวา 15 นาที หรือ
       2. ยาแกอาเจียนกลุม Phenothiazine เชน prochlorperazine ควรหลีกเลี่ยงยากลุมตาน
โดพามีน (Dopamine antagonists) เชน metoclopramide เพราะยากลุมนี้อาจจะทําใหการใชยา
dopamine เพื่อสงวนการไหลเวียนเลือดของไตไมไดผลดีเทาที่ควร
    • ใหสารดูดซับพาราควอทอยางใดอยางหนึง คือ    ่
           1. ผงถานกัมมันต (activated charcoal) หรือ
           2. สารละลายดินเหนียว Fuller’s Earth
           ขอสังเกต: การใสสายลางกระเพาะโดยไมไดใหสารดูดซับดังกลาวขางตนนั้น
ไมไดประโยชนในทางคลินก   ิ
    • ใหยาระบาย เชน mannitol หรือ magnesium sulphate
    • ควรใหความสําคัญกับการใหสารน้ําแกผปวยอยางเพียงพอ เพื่อใหไตซึ่งเปนอวัยวะหลัก
                                               ู
ในการกําจัดพาราควอทออกจากรางกายสามารถทํางานไดเต็มประสิทธิภาพ แตก็ตองระวัง
ภาวะน้ําเกิน (volume overload) และความไมสมดุลของสารอิเล็กโตรไลท (electrolyte imbalance)
ซึ่งอาจจะเกิดขึ้นในขณะเดียวกันได
           ขอสังเกต: ไมควรใหออกซิเจน นอกเสียจากวาผูปวยมีภาวะออกซิเจนต่ําที่รุนแรง




                                              5
การใชการตรวจทางหองปฏิบัติการเพื่อการวินิจฉัย

    • การตรวจเชิงคุณภาพเพื่อยืนยันวาผูปวยกินพาราควอทในปริมาณที่มีความสําคัญ
       - Urine spot test ควรนําปสสาวะมาตรวจหาพาราควอททันทีโดยใชดางและโซเดียม
ไดไทโอไนท (sodium dithionite)
    สารเคมีทั้งสองชนิดไดมการจัดเตรียมเปนชุดตรวจสอบซึ่งติดตอขอไดจาก บริษัทซินเจนทา
                            ี
ครอป โปรเทคชั่น จํากัด
       - ถาผลเปนลบ ควรตรวจซ้ําอีกครั้งหนึ่งที่เวลา 6 ชั่วโมงหลังจากกิน และถายังใหผลลบอีก
แสดงวามีโอกาสนอยที่จะเกิดภาวะเปนพิษที่รุนแรง
    • การตรวจหาระดับพาราควอทในเลือด จะชวยทํานายความรุนแรงและพยากรณโรคได
(ควรเจาะเลือดตรวจหลังกิน 4 ชั่วโมง ตัวอยางเลือดควรจะเก็บในหลอดพลาสติก ไมควรเก็บ
ตัวอยางเลือดในหลอดแกว)
    • การตรวจหาระดับพาราควอทในเลือดควรใชพลาสมามากกวาใชซีรั่ม เพราะระดับ
ความเขมขนของพาราควอทในซีรั่ม จะต่ําเพียง 1/3 ของระดับความเขมขนในพลาสมา แตใน
กรณีที่มีผลการตรวจระดับความเขมขนพาราควอทในซีรมเทานั้น การแปลผลโดยเทียบกับ
                                                        ั่
เสนรอดชีวิตในแผนภูมิที่อยูทายเลม จะตองแปลดวยความระมัดระวัง
                              
    • ดูรายละเอียดในบท “เทคนิคการวิเคราะห”

ลักษณะทางคลินิก (อางถึงการรายงานของ Lock และ Wilks ป คศ.2001)

    • ความเปนพิษระดับออนหรือกึ่งเฉียบพลัน (Mild or subacute poisoning): เมื่อกินนอยกวา
20-30 มิลลิกรัมของ พาราควอทไอออน (paraquat ion) / น้ําหนักตัว (กิโลกรัม)
             - ไมมีอาการ หรือ มีเพียงอาการอาเจียนและทองเสีย
             - มีพิษตอไตและตับ นอยหรือไมมเี ลย
             - ความสามารถในการใหกาซซึมผานของปอด (pulmonary diffusion capacity)
อาจจะลดลงไดในระยะแรก แตจะหายกลับเปนปกติได
    • ความเปนพิษระดับปานกลาง ถึงรุนแรงและเฉียบพลัน (Moderate to severe acute
poisoning): เมื่อกินมากกวา 20-30 แตนอยกวา 40-50 มิลลิกรัมของ พาราควอทไอออน/ น้ําหนักตัว
(กิโลกรัม)




                                               6
ระยะเวลาที่เกิดอาการ               อาการ
           - ทันทีหลังกิน:              อาเจียน
           - เปนชัวโมงหลังกิน:
                    ่                    ถายเหลว ปวดทอง เจ็บในปากและมีแผลในปากและคอ
           - 1-4 วันหลังกิน:            ไตวาย ตับอักเสบ ความดันโลหิตต่ํา และชีพจรเร็ว
           -1-2 สัปดาหหลังกิน:          ไอ ไอเปนเลือด มีน้ําในเยื้อหุมปอด (pleural effusion)
                                          มีพังผืดในปอด (lung fibrosis) และการทํางานของปอดลดลง
       ผูปวยยังมีโอกาสรอดชีวิต แตผูปวยสวนใหญเสียชีวิตภายใน 2-3 สัปดาหเนื่องจากการหายใจ
ลมเหลว
   • ความเปนพิษระดับเร็วราย (Fulminant): เมื่อกินมากกวา 40-50 มิลลิกรัมของ
พาราควอทไอออน/ น้ําหนักตัว (กิโลกรัม)
               ระยะเวลาที่เกิดอาการ                อาการ
               - เกิดขึ้นทันที:                    อาเจียน
               - เปนชั่วโมง - หลายวัน:            ทองเสีย ปวดทอง ไตวายและตับวาย มีแผลใน
                                                   ระบบทางเดินอาหาร ตับออนอักเสบ กลามเนื้อ
                                                   หัวใจอักเสบ ความดันโลหิตต่ํา (refractory
                                                   hypotension) หมดสติ (coma) และชัก
                                                  (convulsion)
       ผูปวยเสียชีวตจากภาวะช็อคจากหัวใจ (cardiogenic shock) และ อวัยวะหลายระบบลมเหลว
                     ิ
(multi-organ failure) ภายใน 1-4 วัน

การดูแลรักษาแบบประคับประคอง (ดูผังงานแนวทางการรักษาประกอบ)

การดูแลรักษาในระยะแรก
        - สารน้ํา (IV fluids) เนื่องจากพาราควอทถูกขับออกทางไตเปนหลัก การรักษา
ประคับประคองใหไตทํางานไดอยางเต็มที่จึงมีความสําคัญ แตจะตองเฝาติดตามดูปริมาณปสสาวะ
และประเมินการทํางานของไตอยางใกลชิด
        - ยาแกปวด เนื่องจากพาราควอททําใหเยือบุทางเดินอาหารไหม (corrosive effects)
                                               ่
ผูปวยจะเจ็บปากจากการมีแผลในชองปาก ปวดทองจากการมีแผลที่หลอดอาหารหรือกระเพาะอาหาร
จึงอาจจะตองพิจารณาใหยาแกปวดที่มฤทธิ์สูง เชน ยากลุม opiate
                                        ี
        - ดูแลชองปากจากการที่มีแผลและการอักเสบ
        - ถาสงสัยวาผูปวยอาจจะมีอนตรายที่รุนแรงในชองปากหรือหลอดอาหาร
                                      ั
(เชนมีอาการกลืนลําบากหรือกลืนน้ํา ลายเจ็บ) ควรใหงดอาหารและน้ําทางปากไวกอน
                                              7
- หลีกเลี่ยงการใหออกซิเจน นอกเสียจากวามีภาวะขาดออกซิเจน (hypoxia) ที่รุนแรง
เพราะออกซิเจนสงเสริมใหเกิดภาวะเปนพิษจากพาราควอท

การดูแลรักษาในระยะตอไป
         - ยาแกปวด
         - ยาปฏิชีวนะ ถามีภาวะติดเชือแทรกซอน
                                     ้
         - ฟอกเลือด ดวยวิธี hemodialysis หรือ hemofiltration ถาการทํางานของไตลดลงมาก
จนมีขอบงชี้
       
         - การรักษาเพื่อบรรเทาความไมสบาย (palliative treatment) มีความสําคัญอยางยิ่ง
โดยเฉพาะผูปวยที่มีพยากรณโรคไมดี
         - การรักษาที่จําเพาะอื่นๆ ควรพิจารณาตามความเหมาะสมเปนรายๆ
(ดูไดจากบทการรักษาอื่นที่อาจจะมีประโยชน และขอคําแนะนําจากศูนยพิษวิทยา)




                                              8
ผังงานแนวทางการดูแลรักษาภาวะเปนพิษจากพาราควอทระยะแรก
(Flowchart for the early management of paraquat poisoning)




                              9
การไดรับสัมผัสพาราควอททางอื่น

ผิวหนัง

       • ถาใชผลิตภัณฑพาราควอทตามวิธีที่แนะนํา และมีการปฏิบัติตามวิธีการใชที่ถูกตอง
มีโอกาสเกิดอันตรายตอผิวหนังนอย เพราะผิวหนังปกติจะเปนตัวกีดขวางการดูดซึมของ
พาราควอทเขาสูรางกาย
                  
       • ภาวะเปนพิษเฉพาะที่
                - สารพาราควอทเขมขน ( เชน “กรัมม็อกโซน”) อาจจะมีผลใหเกิดการระคายเคือง
ผิวหนัง เกิดตุมพอง และแผลไหมลึกตลอดชั้นผิวหนัง (full thickness burn) ไดภายใน 1-3 วัน
              
หลังไดรับการสัมผัส
                - หากสัมผัสถูกสารพาราควอทที่เจือจางแลวในชวงเวลาสั้นๆ อาจจะทําใหเกิด
รอยแดง (erythema)
                - ถาเล็บสัมผัสถูกสารพาราควอทเขมขน อาจทําใหสีเล็บเปลี่ยน (เชนเปนจุดขาว)
หรือเล็บลอกหลุดออกได แตเล็บจะงอกกลับขึ้นเปนปกติ
       • ภาวะเปนพิษทั่วรางกาย (systemic toxicity) เกิดไดยาก แตสามารถเกิดขึ้นไดในภาวะ
ตอไปนี้
                - สัมผัสเปนเวลานาน เชน
                            ไมลางทําความสะอาดรางกายสวนที่ถูกสารพาราควอทเขมขนกระเด็นใส
                            แบกเครื่องพนสารพาราควอทที่รั่วซึม
                            สวมใสเสื้อผาที่ชุมขณะพนพาราควอท
                - สัมผัสทางถุงอัณฑะ (scrotum) หรือ ฝเย็บ(perineum) ในพื้นที่กวาง
                - ผิวหนังมีแผลหรือรอยแยก และสัมผัสสารปริมาณมาก
                - สัมผัสสารพาราควอทเขมขนในพืนที่ผิวทีมาก แมวาจะไดรับการลาง
                                                    ้      ่

   การปองกันและการรักษา
        - ลดการปนเปอนใหเร็วที่สุด โดยการถอดเครื่องนุงหมที่ปนเปอน และลางผิวหนังดวยสบู
และน้ําจํานวนมาก ระวังอยาใหมการถลอกของผิวหนัง
                              ี
        - ถาสัมผัสถูกสารพาราควอทเขมขน ควรดูแลรักษาผิวหนังตามอาการ และติดตามดูทกวัน    ุ
(ตุมพุพองหรือแผลไหมอาจจะเกิดหลังสัมผัส 1-3 วัน)

                                               10
- ถาสงสัยวาจะมีภาวะเปนพิษทั่วรางกาย ควรสงปสสาวะตรวจหาพาราควอท แตเนื่องจากวา
ไมมีขอมูลเพียงพอที่จะบอกวาระดับสูงสุดในเลือดจากการสัมผัสทางผิวหนังเกิดขึนเมื่อใดจึงอนุมาณวา
                                                                           ้
ถาการตรวจปสสาวะใหผลลบในชวง 24 ชั่วโมงแลว อาจไมตองกังวลวาจะเกิดภาวะ เปนพิษทัวรางกาย
                                                                                      ่
แตถาการตรวจปสสาวะใหผลบวก หรือมีขอใหสงสัยวาอาจจะเกิดภาวะเปนพิษ ทั่วรางกาย ใหตรวจ
ระดับพาราควอทในเลือด และใหการรักษาเสมือนวามีภาวะเปนพิษทัวรางกายแลว
                                                              ่

ตา
         • สารพาราควอทเจือจางพรอมฉีดพน
              อาจจะทําใหเกิดอาการเคืองตาชั่วคราว แตไมมีการทําลายเนื้อเยื่ออยางถาวร
         • สารพาราควอทเขมขน
              - อาจทําใหเกิดภาวะอักเสบทีรุนแรงของแกวตา (cornea) และเยื่อบุตา (conjunctiva)
                                             ่
ซึ่งจะเกิดในเวลามากกวา 4 ชั่วโมงหลังสัมผัส
              - อาจทําใหเกิดการหลุดลอกของเยื่อบุแกวตาและเยื่อบุตา และทําใหมานตาอักเสบ
                                                                                   
(iritis) มีผลใหเสี่ยงตอการมีการติดเชื้อแทรกซอนและเกิดแผลบนแกวตาตามมาได
              - การบวมของแกวตา (corneal oedema) อาจเปนอยูนานถึง 3-4 สัปดาห
ทําใหมีอาการตามัวชั่วคราวได

การรักษา
       - ควรลางตาทันทีดวยน้ําสะอาดหรือน้ําเกลือ เปนเวลาไมตากวา 15 นาที และควรตรวจ
                                                              ่ํ
แกวตาดวยการยอม fluorescein
       - ยาปฏิชีวนะเฉพาะที่อาจมีความจําเปน เพื่อปองกันการติดเชื้อซ้ําซอน
       - ถาเปนกรณีของสารพาราควอทเขมขนกระเด็นเขาตา ควรตรวจประเมินซ้ําหลังจากสัมผัส
24 ชั่วโมง
       - พิจารณาสงพบจักษุแพทย




                                              11
การสูดดม

   พาราควอทเปนสารที่ไมระเหย แตผลิตภัณฑพาราควอทของบริษัทซินเจนทา ที่เปนของ เหลว
ทุกสูตร จะมีการเติมสารแตงกลิ่นที่ฉน ซึ่งจะเปนสาเหตุใหเกิดความรูสกอยากอาเจียน หรือ
                                   ุ                               ึ
ปวดศีรษะได

      การพนพาราควอท
       - เมื่อใชตามคําแนะนําวิธีใช
ละอองของสารพาราควอทจากการฉีดพนจะมีขนาดใหญเกินกวาที่จะถูกสูดเขาไปในปอดได
       - การพนพาราควอทใหเปนละอองฝอย อาจจะทําใหเกิดการระคายเคืองของทางเดินหายใจ
สวนตน แตไมมีรายงานการเกิดภาวะเปนพิษจากพาราควอทที่รุนแรงจากการสูดหายใจสารนี้เขาไป
       - การระคายเคืองเฉพาะที่จมูกและคอ อาจเกิดขึ้นไดบาง และทําใหเกิดเลือดกําเดาไหล
นิ้วมือที่ปนเปอนดวยพาราควอทสูตรเขมขนหากสัมผัสถูกเยื่อบุจมูก อาจทําใหมเี ลือดออกตรงจมูกได
               

      การรักษา
     - ไมมีการรักษาจําเพาะทีจําเปนในกรณีสูดดม ไมมีความจําเปนตองตรวจหาพาราควอท
                             ่
ในปสสาวะ เพราะปอดไมใชตําแหนงสําคัญในการดูดซึมพาราควอทเขาสูรางกาย
     - รักษาเลือดกําเดาไหลเหมือนกรณีทั่วไป




                                             12
ขอมูลพื้นฐาน

          สารกําจัดวัชพืชพาราควอท ถูกคนพบในปพ.ศ. 2493 และมีการจําหนายผลิตภัณฑนครั้งแรก
                                                                                         ี้
ในปพ.ศ. 2505 ปจจุบันเปนสารกําจัดวัชพืชที่มียอดการขายสูงเปนอันดับ 2 ในโลก มีการจดทะเบียน
และใชอยางแพรหลายมากกวา 100 ประเทศทั่วโลก
          พาราควอทเปนสารกําจัดวัชพืชที่ออกฤทธิ์เร็ว เปนการออกฤทธิ์เฉพาะที่เมื่อสัมผัสถูกสวน
ที่เปนสีเขียวของพืช แตจะถูกน้ําชะออกในเวลาอันสั้น และหมดฤทธิ์ (deactivated) เมื่อสัมผัสกับดิน
โดยไมมีฤทธิ์หลงเหลือเมื่ออยูในดิน การใชในภาวะปกติไมกอใหเกิดผลเสียตอสัตวปาและ
สิ่งแวดลอม การใชอยางถูกตองจะไมมีผลอันตรายตอสุขภาพของผูพนสาร
                                                                 
          การใชสารนี้ในการเกษตรกรรมหลายๆชนิด ชวยทําใหผลิตผลทางการเกษตรเพิ่มขึน      ้
ทั้งในประเทศกําลังพัฒนาและพัฒนาแลว โดยลดความจําเปนในการไถพรวนดินลงซึ่งเปนการ
สิ้นเปลืองเวลาและพลังงานมาก ทําใหสามารถปองกันการพังทลายของหนาดิน และชวยใหดิน
สามารถเก็บความชื้นไดดี




                                              13
กลไกการเกิดพิษ

    • เนื่องจากพาราควอทมีโครงสรางคลายสารโปลีเอมีนที่มีอยูในธรรมชาติ ซึ่งเซลลของปอด
จะเก็บกักไวในตัว พาราควอทเมื่อเขาสูรางกายจะถูกเก็บสะสมใน alveolar cell ชนิด I และ II
                                          
โดยอาศัยขบวนการลําเลียงเขาเซลล ซึ่งตองใชพลังงาน
    • พาราควอทเมือสะสมอยูในเซลลของไตและปอดมากพอ จะทําใหเกิดวงจรรีดอกซ (redox
                    ่
cycling) และมีออกซิเจนที่เปนอันตราย (toxic reactive oxygen) เกิดขึน (ดูรูป) มีผลทําให
                                                                     ้
มีการทําลายเนือเยื่อปอดทั้งชนิดเฉียบพลันและกึ่งเรื้อรัง (acute and subchronic) ทั้งยังทําลาย
               ้
เซลลทอไต (renal tubular necrosis)
    • ภาวะไตวายเกิดจากพิษโดยตรงของพาราควอทที่มีตอทอไต หรือตามหลังจากภาวะช็อกได
ไตวายมักเกิดในระยะแรกของโรค เปนลักษณะที่สําคัญทางคลินกของภาวะเปนพิษจากพาราควอท
                                                                ิ
และมักจะหายกลับมาเปนปกติได การรักษาประคับประคองใหไตทํางานไดดีมความสําคัญตอการ
                                                                             ี
ลดลงของระดับพาราควอทในเลือด และลดการสะสมของพาราควอทในปอด
    • หลังจากไดรับพาราควอทในขนาดที่สูง จะเกิดภาวะลมเหลวของอวัยวะหลายๆระบบ(multi-
organ failure) และทําใหผูปวยเสียชีวิตอยางรวดเร็ว การไดรับพาราควอทในขนาดปานกลาง
จะเกิดการทําลายของปอดที่ดเู หมือนจะดีขนไดในชวงแรก แตจะเกิดภาวะพังผืดในปอด (lung
                                            ึ้
fibrosis) ในระยะตอมา ลักษณะทีจะเห็นในปอดคือพบมี fibroblast เพิมจํานวน และพัฒนาอยาง
                                   ่                                   ่
รวดเร็ว ทําใหเสียโครงสรางของเนื้อเยื่อปอดปกติไปและขัดขวางตอการแลกเปลี่ยนกาซของ
ปอดตามปกติ การขาดสาร surfactant และปฏิกิริยาอักเสบมีผลทําใหความรุนแรงมากขึ้น




                                              14
ขบวนการทางชีวเคมีของภาวะเปนพิษจากพาราควอท
(The Biochemical Pathway of Paraquat Toxicity)




                             15
การรักษาอื่นที่อาจไดประโยชน

การเพิ่มการกําจัดพาราควอทออกจากรางกาย
    • การฟอกเลือดดวย peritoneal dialysis หรือ hemodialysis อาจจะมีความจําเปนในผูปวย
เปนพิษจากพาราควอทที่มีภาวะไตวาย แตไมมประสิทธิภาพเพียงพอในการเพิ่มการกําจัด
                                              ี
พาราควอทออกจากรางกาย
    • การกําซาบเลือด (Hemoperfusion) เปนวิธีทเี่ ชื่อวาสามารถใชรักษาภาวะเปนพิษจาก
พาราควอทไดมาหลายป แตการศึกษาทีแสดงถึงประสิทธิภาพของการรักษาดวยวิธีนจนถึงในปจจุบัน
                                        ่                                         ี้
ก็ยังไมมีชดเจน ถึงแมวาตัวกรองที่เปนผงถานกัมมันต (charcoal column) มีประสิทธิภาพสูงในการ
           ั
ดูดซับเอาสารพาราควอทออกจากเลือด แตปริมาณพาราควอทในเลือดมักเปนสวนนอย เนื่องจาก
พาราควอทจะกระจายจากเลือดเขาสูเนื้อเยือตางๆไดอยางรวดเร็ว ในขณะที่พาราควอทในเนื้อเยื่อกลับ
                                          ่
สูกระแสเลือดในอัตราที่ชา

       การใชวิธีการกําซาบเลือดเพื่อรักษาภาวะเปนพิษจากพาราควอท มีขอพิจารณาดังนี้
       1. ผูปวยที่กนพาราควอทในปริมาณที่เกือบจะเปนขนาดที่ทําใหเสียชีวิตได (borderline lethal
                     ิ
dose) หรือมีระดับพาราควอทในเลือดอยูระหวางชวงที่มโอกาสรอดชีวตระหวาง รอยละ 20-70 และ
                                                     ี           ิ
มาถึงโรงพยาบาลภายใน 2-3 ชั่วโมงหลังกิน (อาจจะขยายไดถึงนอยกวา 6-10 ชั่วโมง) อาจจะได
ประโยชนจากการรักษาดวยวิธีนี้ เนื่องจากพาราควอทยังไมไดเขาไปสะสมอยูใน เนื้อเยื่ออื่น
โดยเฉพาะปอดมากจนเปนอันตราย และการเอาพาราควอทออกจากรางกายแม ในอัตราสวนที่
ไมมากก็อาจจะมีผลตออัตราการรอดชีวิตได
       2. ผูปวยที่กนพาราควอทในขนาดสูงเปนหลายเทาตัวของขนาดที่ทําใหเสียชีวิตหรือมีระดับ
                       ิ
สารอยูในชวงที่มพยากรณโรคไมดีคือมีอัตราการรอดชีวิตต่ํา อาจจะไมไดประโยชนจากการรักษา
                  ี
ดวยวิธการกําซาบเลือด (Hampson และ Pond, 1988.)
       ี
       3. การรักษาโดยทําการกําซาบเลือดตอเนื่องหลายๆรอบนั้น อาจไมสามารถทําใหผูปวย
รอดชีวตได แตจะยืดชีวตใหยาวขึ้นพอที่จะเปดโอกาสใหใชการรักษาวิธีอื่นเชนการ
         ิ               ิ
ปลูกถายปอดรวมดวย (Suzuki และคณะ.,1993)




                                               16
การปองกันและรักษาภาวะพังผืดในปอด (Pulmonary fibrosis)
         ผูปวยเปนพิษจากพาราควอทที่รุนแรงปานกลางมักไมเสียชีวิตจากภาวะลมเหลวของหลายๆ
อวัยวะ (multi-organ failure) ตั้งแตชวงแรก แตมักจะเกิดภาวะพังผืดในปอด (pulmonary fibrosis)
ซึ่งจะนําไปสูการหายใจลมเหลว และเสียชีวิตภายใน 2-3 สัปดาห มีการศึกษาโดยใชวธการรักษา
                                                                               ิี
แบบตางๆ เพือปองกันภาวะพังผืดในปอด โดยวิธีตางๆดังนี้
                 ่

    • การรักษาดวยยา cyclophosphamide รวมกับ corticosteroid
    ปจจุบันมีหลายการศึกษาที่ใหความสนใจกับการรักษาภาวะเปนพิษจากพาราควอทโดยใชยา
cyclophosphamide รวมกับ corticosteroid ไดแก
               - ในป พ.ศ. 2529 Addo และ Poon-King ไดรายงานการศึกษาผูปวยเปนพิษจาก
พาราควอทโดยใช cyclophosphamide (5 มิลลิกรัม/กิโลกรัม/วัน, สูงสุดไมเกิน 4 กรัม) รวมกับ
dexamethasone (8 มิลลิกรัม ทุก 8 ชั่วโมง เปนเวลามากกวา 2 สัปดาห) ในผูปวย 72 ราย พบวา มีอัตรา
การรอดชีวิตรอยละ 72 แตในการศึกษานีมีการตรวจหาระดับพาราควอทในเลือดของผูปวยเพียง 25 ราย
                                            ้
โดยที่ผูปวย 7 รายที่รอดชีวิตไมพบพาราควอทในเลือด สวนผูปวยอีก 18 รายที่ตรวจพบพาราควอท
                                                                 
ในเลือด ผูที่มระดับพาราควอทต่ําที่สุด 6 รายสุดทายเทานั้นที่รอดชีวิต
                ี
               - ในป พ.ศ. 2542 Lin และคณะรายงานการศึกษาที่เปน prospective randomized
โดยใชการ pulse therapy ดวย cyclophosphamide (1 กรัม/วัน มากกวา 2 วัน) รวมกับ
methylprednisolone (1 กรัม/วัน มากกวา 3 วัน) มีผูปวยรวม 142 ราย โดยที่รอยละ 50 (71 ราย)
                                                                               
จัดอยูในกลุมที่มีความเปนพิษระดับเร็วราย (fulminant poisoning) และเสียชีวิตภายใน 1 สัปดาห
        
การรักษาดวย cyclophosphamide รวมกับ methylprednisolone ไมทําใหอัตราการรอดชีวิตแตกตาง
อยางมีนัยสําคัญเมื่อเทียบกับกลุมควบคุม แตกลุมที่เหลือซึ่งจัดเปนกลุมที่มีความเปนพิษระดับ
ปานกลางถึงรุนแรงนั้น (moderate to severe poisoning) ผูปวยที่ไดรับการรักษาดวยวิธีนี้มีอัตรา
การรอดชีวิตรอยละ72 (18/22 ราย) ซึ่งสูงกวากลุมควบคุมที่มีอัตราการรอดชีวิตเพียงรอยละ43
(8/28 ราย) แตการศึกษานี้ไมไดวดระดับพาราควอทในเลือด ใชการตรวจปสสาวะดวย dithionite
                                   ั
ซึ่งผูศึกษาอางวาความรุนแรงของโรคในผูปวยทั้ง 2 กลุมไมแตกตางกัน
               - แตกมการศึกษาที่ไมสนับสนุนประสิทธิภาพของการรักษาดวย cyclophosphamide
                     ็ ี
รวมกับ dexamethasone เชนกัน ป พ.ศ. 2535 Perriens และคณะไดรายงานวาไมพบความแตกตาง
ของอัตราการเสียชีวิตระหวางผูปวยกลุมควบคุมจํานวน 14 รายที่ไดรับการรักษาแบบมาตรฐาน
กับผูปวยกลุมที่ไดรับการรักษาดวยยาคูนี้ในขนาดสูงจํานวน 33 ราย ประโยชนจากการรักษา ดวยยา
cyclophosphamide รวมกับ corticosteroid จึงยังไมมีขอสรุปที่ชัดเจนในขณะนี้




                                               17
• วิธีรังสีรักษา (Radiotherapy)
     เซลลสรางเสนใย (fibroblast) ในปอดเปนเซลลที่ไวตอแสงกัมมันตภาพรังสีมาก การฉายแสง
เชื่อวาจะลดจํานวนของ fibroblast ลง และทําให fibrosis ในปอดลดลง แตยังไมมหลักฐานที่ชัดเจน
                                                                              ี
วาการรักษาดวยวิธีนี้ชวยเพิมอัตราการรอดชีวิต
                         ่
     • การปลูกถายปอด(Lung transplantation)
แมวาจะมีการปลูกถายปอดใหแกผูปวยเปนพิษจากพาราควอทแลวหลายราย แตที่รายงานถึงความสําเร็จ
                                     
มีเพียงรายเดียว (Walder และคณะ, 1997) การปลูกถายปอดแกผูปวยไดทําหลังจากไดรับการรักษา
                                                                
ประคับประคองดวยเครื่องชวยหายใจประมาณ 5 สัปดาห กอนที่จะไดรับปอดมาปลูกถาย ระหวางนั้น
มีการฟอกเลือด จนกระทั่งตรวจหาพาราควอทไมพบทั้งในเลือดและน้าฟอกเลือด (dialysate)
                                                                     ํ
     • ยาอื่นๆ
มีการศึกษาทดลองใชยาหลายชนิดในการรักษาภาวะพิษจากพาราควอท มีเพียงบางรายงานเทานั้น
ที่ไดทําการศึกษาในคน แตสวนใหญเปนเพียงรายงานผูปวยรายเดียวหรือจํานวนนอย
                                                      
(รายละเอียดอานไดในรายงานของ Lock และ Wilks, 2001)
     ยาที่มีการใชทางคลินิกมีดงตอไปนี้
                                ั
     - Antioxidants (ไวตามิน C และ E) และ superoxide dismutase
        เพื่อลดความเปนพิษจากอนุมูลอิสระ (free radicals)
     - N-acetylcysteine เพื่อเพิ่มสาร glutathione ในเซลล
     - Desferrioxamine เพื่อจับเหล็กซึงเปนตัวเรงปฏิกิริยาที่ทําใหเกิดอนุมลไฮดรอกซิล (hydroxyl
                                        ่                                   ู
        radicals)
     - Propanolol เพื่อขัดขวางการเก็บพาราควอทเขาไวในในปอด
     - การดมกาซ nitric oxide เพื่อชวยทําใหการแลกเปลี่ยนกาซในปอดดีขึ้น




                                             18
เทคนิคการวิเคราะห

1. การวิเคราะหเชิงคุณภาพเพื่อยืนยันการวินิจฉัย
1.1 การทดสอบในหลอดทดลอง
      • สามารถทดสอบหาสารพาราควอทจากปสสาวะหรือน้ําจากกระเพาะอาหาร
        โดยใชวิธีทดสอบซึ่งอาศัยการเกิดอนุมูลสีฟาจากปฏิกิริยารีดักชัน (reduction)
                                                     
        ของอิออนบวกของสารพาราควอท ในสภาวะที่มดางและโซเดียม ไดไทโอไนท (sodium
                                                           ี
        dithionite)
      • เติมดาง เชน โซเดียม ไฮดรอกไซด (sodium hydroxide)
        ลงในปสสาวะหรือน้ําจากกระเพาะอาหาร 10 มิลลิลิตร จนกระทั่งคาพีเอช (pH) สูงกวา 9
        (สามารถใชโซเดียม ไบคารบอเนต (sodium bicarbonate) ประมาณครึ่งถึงหนึ่งชอนชา
        แทนได)
      • เติมโซเดียม ไดไทโอไนท หนึ่งชอนพาย (spatula)
        ลงในปสสาวะหรือน้ําจากกระเพาะอาหารที่ทําใหเปนดางแลว
                หมายเหตุ โซเดียม ไดไทโอไนท
                เมื่อเปดใชแลวจะเสื่อมสภาพไดเมื่อสัมผัสกับอากาศและความชื้น
                ผูใชจึงควรทําใหแนใจวาสารดังกลาวยังมีประสิทธิภาพอยูโดยการทดสอบกับ
                ตัวอยางที่มีสารพาราควอทอยู โซเดียม ไดไทโอไนททอยูในถุงฟอยล
                                                                     ี่
                ที่มากับชุดทดสอบ หากยังมิไดเปดใชจะมีอายุการใชงานอยางนอย 10 ป
      • สังเกตหลอดทดลองจากดานบนโดยใชฉากหลังสีขาว หากสารละลายมี สีฟาหรือเขียว
        แสดงถึงการมีสารพาราควอทและเปนการยืนยันการวินจฉัย หากมีสารพาราควอท
                                                               ิ
        ในความเขมขนที่สูง สารละลายอาจมีสีดํา จึงควรทําการทดสอบซ้ําโดยใชตวอยางั
        ที่เจือจางลง
      • วิธการนี้สามารถใชตรวจหาสารพาราควอทในปสสาวะได เมื่อมีความเขมขนต่ําจนถึง
            ี
        2 ไมโครกรัมตอมิลลิลิตร และยังสามารถใชเปนการวิเคราะหแบบกึ่งปริมาณได
        หากเตรียมสารมาตรฐานในปสสาวะเพื่อเปรียบเทียบ (Widdop 1976; Berry and Grove,
        1971)




                                           19
1.2 การสกัดดวยเทคนิค solid phase extraction
        สามารถทดสอบหาสารพาราควอทจากปสสาวะ ซีรั่ม (serum) หรือ พลาสมา (plasma) ได
โดยอาศัยการเกิดปฏิกิริยารีดกชันบน solid phase extraction cartridge (Woollen and Mahler 1987)
                                ั
การทดสอบที่มีความไวมากขึ้นนี้ สามารถทําไดโดยใชสารที่มากับชุดทดสอบ ตามรายละเอียด
ดานลางนี้
        เนื่องจากพลาสมาอาจทําให cartridge อุดตันได ดังนั้นหากสามารถกรองพลาสมากอน
ไดจะเปนการดี ตัวอยางเชน การกรองผานตัวกรอง (PVDF หรือ nitrocellulose) ขนาด 0.45
ไมโครเมตร กอนที่จะนํามาทําการทดสอบ สวนซีรั่มไมจาเปนตองผานการกรองกอนยกเวนในกรณี
                                                              ํ
ที่ขุนมาก
        • ผสมโซเดียม ไบคารบอเนต และ โซเดียม ไดไทโอไนท อยางละประมาณ 1 กรัม
             ลงในน้ํา 10 มิลลิลิตร แลวตั้งทิ้งไว
        • หากใชปสสาวะ ใหทําใหเปนดางโดยการเติมโซเดียม ไบคารบอเนตประมาณ 0.5 กรัม
             ลงในปสสาวะ 5 มิลลิลิตร
        • ใสพลาสมา ซีรั่ม หรือ ปสสาวะที่ทําใหเปนดางแลว 2 มิลลิลิตร ลงใน 1 มิลลิลิตร/100
             มิลลิกรัม silica SPE cartridge ตั้งทิ้งไวใหของเหลวไหลผานเขาไปดานใน (cartridge
             ที่แนะนําใหใช คือ Bakerbond Cat No 7086-01 หรืออาจใช Varian Bond-Elut 14102010
             แทนได)
        • ใชหลอดฉีดยาใสเขาไปทางดานบนของ cartridge โดยอาศัย adapter แลวกดหลอดฉีดยา
             เบาๆ เพื่อใหแรงดันทําใหสารตัวอยางที่เหลือทั้งหมดไหลผาน cartridge
        • ลาง cartridge ดวยน้ําในปริมาตรที่เทากัน โดยควบคุมใหอัตราการไหลของน้ําเปนไป
             อยางชาๆ
        • เติมสารละลายไดไทโอไนท ประมาณ 0.2 มิลลิลิตร ลงใน cartridge และใหแรงดันเบาๆ
             เพื่อใหแนใจวาของเหลวเพิ่งผานมาอยูใต frit อันบนสุด อยาปลอยให cartridge แหง
        • การเกิดวงสีฟาใต frit อันบนสุด แสดงถึงการมีสารพาราควอทและเปนการยืนยัน
                            
             การวินจฉัย
                     ิ
        • วิธีการนี้สามารถใชตรวจหาสารพาราควอทได เมื่อมีความเขมขนต่ําจนถึงประมาณ 0.1
             ไมโครกรัมตอมิลลิลิตร ในตัวอยาง 2 มิลลิลิตร โดยหลักการแลวควรจะมีตัวเปรียบเทียบ
             ซึ่งใหผลบวก (positive control) ที่มีความเขมขนประมาณ 0.5 ไมโครกรัมตอมิลลิลิตร




                                               20
2. การวิเคราะหสารพาราควอทเชิงปริมาณ
       การตรวจหาปริมาณสารในพลาสมาจะสามารถบอกความรุนแรง และการพยากรณโรคได
(ตัวอยางจะตองถูกนํามาจากผูปวยอยางนอยที่สุด 4 ชั่วโมงหลังจากไดรับสารเขาไป และควรปนแยก
(centrifuge) แลวเก็บในหลอดพลาสติก ไมควรเก็บในหลอดแกว)

2.1 การวัดดวยเทคนิค spectrophotometry ภายหลังจากการสกัดดวยเทคนิค solid phase
extraction และการเกิดปฏิกริยารีดักชันโดยโซเดียม ไดไทโอไนท
                           ิ
      • กรองพลาสมา หรือ ซีรั่ม ตามที่อธิบายไวในหัวขอ 1.2 ปรับสภาพของ Bond-Elut
         cyanopropyl cartridge (100 มิลลิกรัม 1 มิลลิลิตร ของ Varian) ดวยเมทานอล (methanol)
         0.1 โมลารของกรดไฮโดรคลอริก (HCl) และ 0.1 โมลารของสารละลายแอมโมเนีย
         (ammonia) โดยใชปริมาตรเปนสองเทาของปริมาตรของคอลัมน แลวจึงตอ cartridge
         เขากับภาชนะเก็บของเหลวขนาด 15 มิลลิลิตร ใสพลาสมา ซีรั่ม ของผูปวย หรือ
         พลาสมาที่ใชเปนตัวเปรียบเทียบ (5 มิลลิลิตร) และ ดูดของเหลวดังกลาวโดยการตอ
         cartridge กับอุปกรณที่ทําใหเกิดสุญญากาศจนกระทั่ง cartridge แหง แลวจึงลาง cartridge
         ดวย 0.1 โมลารของแอมโมเนีย 1 มิลลิลิตร ปลอยทิ้งไวจนแหง
         จากนั้นจึงลางสารพาราควอทลงในหลอดทดลองโดยใช 0.1 โมลารของกรดไฮโดรคลอริก
         0.8 มิลลิลิตร เติมแอมโมเนียชนิดเขมขน (0.025 มิลลิลิตร) และโซเดียม ไดไทโอไนท (0.1
         มิลลิลิตรของ 0.23 โมลาร ใน 4 โมลารของโซเดียม ไฮดรอกไซด) ลงในหลอดทดลอง
         ผสมใหเขากัน แลวจึงเทสารละลายลงใน semi-microcuvette ขนาด 1 มิลลิลิตร
         ชนิดใชครั้งเดียวแลวทิ้ง นําไปวัดคาการดูดกลืนแสง (absorbance) โดยใชเครื่อง
         spectrophotometer จากความยาวคลื่น 490 ถึง 385 นาโนเมตร ผลตางของคาการ
         ดูดกลืนแสงระหวาง 395 ถึง 460 นาโนเมตร ก็จะนํามาใชในการคํานวณหาความเขมขน
         ของพาราควอท
      • เตรียมกราฟมาตรฐาน (standard curve) จากอิออนของสารพาราควอทที่ความเขมขน
         0.05 – 1 ไมโครกรัมตอมิลลิลิตร ในตัวอยางที่มีความเขมขนของสารพาราควอทสูง
         สามารถนํามาวิเคราะหไดโดยใชพลาสมาตัวอยางในปริมาณที่นอยลง ขีดจํากัดต่ําสุด
         ของการวิเคราะหปริมาณดวยวิธีการนี้อยูที่ 0.045 ไมโครกรัมตอมิลลิลิตร เมื่อใชตัวอยาง
         5 มิลลิลิตร
      • วิธีการนี้สามารถใชไดกับปสสาวะ ซึ่งตองทําใหเปนดางกอน
         (ดวยการเติมแอมโมเนียชนิดเขมขน 0.025 มิลลิลิตร ลงใน 5 มิลลิลิตร ของปสสาวะ)
         แลวปนแยกกอนใสลงใน cartridge


                                               21
2.2 การวัดดวยเทคนิค HPLC fluorescence
      • สามารถตรวจหาสารพาราควอทจากพลาสมาหรือปสสาวะ เมื่อมีความเขมขนต่ําจนถึง
         0.001 ไมโครกรัมตอมิลลิลิตรได โดยอาศัยเทคนิค HPLC fluorecence
         ภายหลังจากการเปลี่ยนสารพาราควอทเปนอนุพันธไดไพโรน (dipyrone) (Blake, et al
         2002)

3. การใหคําปรึกษาเกี่ยวกับการวิเคราะหสารพาราควอท
      Syngenta CTL สามารถใหคําปรึกษาเกียวกับการวิเคราะหสารพาราควอทจากตัวอยางชีวภาพ
                                           ่
ผานทาง e-mail address ctltestkitsupply@syngenta.com




                                           22
ความสัมพันธระหวางระดับพาราควอท ในพลาสมากับโอกาส
รอดชีวิตของผูปวย
(Relationship Between Paraquat Plasma Concentration and Patient Survival)




                                   23
บรรณานุกรม




             24
รายละเอียดเพิ่มเติม
         ถาทานมีปญหาเกี่ยวกับผูปวยภาวะเปนพิษจากพาราควอท ตองการคําแนะนําและ
                                    
รายละเอียดเพิมเติมเกียวกับการรักษา โปรดติดตอกับผูมรายนามตอไปนี้
             ่       ่                              ี
         1. นายแพทย สมิง เกาเจริญ
         2. นายแพทย วินัย วนานุกูล
            ศูนยพษวิทยา ชั้น 2 อาคารศูนยการแพทยสิริกิต
                   ิ
            คณะแพทยศาสตร โรงพยาบาลรามาธิบดี
            มหาวิทยาลัยมหิดล
            ถนนพระราม 6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
            โทร 02-246-8282, 02-201-1083

        2. แพทยหญิง สุดา วรรณประสาท
           ภาควิชา เภสัชวิทยา
           คณะแพทยศาสตร
           มหาวิทยาลัยขอนแกน
           อ.เมือง ขอนแกน 40002
           โทร 043-348-397

        3. นายแพทย สัมมนต โฉมฉาย
        4. นายแพทย ธีระ กลลดาเรืองไกร
           ภาควิชาเวชศาสตรปองกันและสังคม
           คณะแพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล
           มหาวิทยาลัยมหิดล
           2-ถนนพรานนก บางกอกนอย
           กรุงเทพฯ 10700
           โทร 02-419-7284

        5. แพทยหญิง จุฬธิดา โฉมฉาย
           ภาควิชากุมารเวชศาสตร
           คณะแพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล
           มหาวิทยาลัยมหิดล

                                           25
2-ถนนพรานนก บางกอกนอย
  กรุงเทพฯ 10700
  โทร 02-419-7000 ตอ 5930

6. นายแพทย สุชย สุเทพารักษ
                  ั
   ภาควิชาอายุรศาสตร
   คณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
   ปทุมวัน
   กรุงเทพฯ 10330
   โทร 02-256-4246
7. ผูจัดการฝายวิชาการ
   บริษัท ซินเจนทา ครอป โปรเทคชั่น จํากัด
   ชั้น 18 อาคารลิเบอรตี้สแควร
   287 ถนนสีลม เขตบางรัก
   กรุงเทพฯ 10500
   โทร 02-631-2140




                                  26
รายชื่อทางการคาสารกําจัดวัชพืชพาราควอท

  รายชื่อทางการคาของสารกําจัดวัชพืชพาราควอทที่มีจําหนายในประเทศไทย

กรัมม็อกโซน                 ซิมโซน                      บราวโซน
กรีนลีฟสโซน                ซี.พี.โซน                   บอยโซน
กรีนโซน                     ซีโซน                       บากาโซน
กลาสโซน                     เซนิโซน                     บาดีโซน
กัปตันโซน                   เซพวิ่งโซน                  เบสท-พาโซน
เกมสโซน                    แซนเวท                      แบนโซน
เกรพโซน                     โซนควิก                     แบ็ทเทอรโซน
โกลมาโซน                    โซนา                       โบวโซน
คราวนโซน                   ไซมาโซน                     ไบรทโซน
ควิกเบิรน                  ไซแอมโซน                    ไบออส
ควอทโซน                    ดรอปโซน                     ไบโอโซน
คองเคอร                    เดดโซน                      โปรฟลดโซน
คอรริโซน                   ทรีลาโซน                    โปรม็อกโซน
คามาโซน                     ทรีเท็คโซน                  พาน็อคโซน
คายาโซน                     ทานาโซน                     พาราควอต
คิวโซน                      ทูโซน                       พาราควอต 276
เคลียราโซน                  ท็อบโซน                     พาราควอต ไดคลอไรด
แคพโซน                      เทพโซน                      พาราควอท
แคร็ปโซน                    เทรดโซน                     พาราควอท
แคสโซน                      ไทเกอรโซน                  พาราริช
โครโมโซล                    ไทโลโซน                     พีราโซน
จังเกิลโซน                  นนททรีโซน                  เพอริควอต
เจอารโซน                   นิวมอกโซน                  เพ็นตาโซน
ช็อกโซน                     นีโอโซน                     แพ็งโก
แชมเปยน                   นอกโซน                     โพลีโซน
ซาโซน                       เนเชอรโซน                  ฟลอราโซน

                                         27
ซิบโซน         โนเฟยร             ฟายลโซน
ฟารม็อกโซน    เอราโซน
ฟารเมอรโซน   เอสพีโซน
ฟวโก         เอิรทโซน
ฟูโซน          เอเวอรโซน
เฟมควอต        เอเอโซน
เฟรมโซน        เอกซตราโซน
เฟอรโซน       เอ็นโซน
มารคโซน       เอ็ม.อาร.โซน
มีโอโซน        เอ็มพาโซน
ม็อกกาโซน      แองโกลโซน
เมเจอรโซน     แอลโซน
แม็กโซน        แอโรโซน
ยิบอินโซน      แอ็ก-เวลควอต
ยูนิโซน        แอกกริโซน
ยูโนโซน        ไอ บี โซน
ยูโรโซน        ไอยราโซน
รันเจโซน       เฮ็กตาโซน
รูมแนน
    ิ
เรนโซน
โรกีตา
ลองเชอร
ลักเซนโซน
เวสโซน
เวอรโซน
เวิลดโซน
ไวโซน
อกริโซน
ออกาโซน
อัพทาโซน
อารซีโซน



                               28
เอ.ซีโซน                       เอกาโซน ที่มา :
กรมวิชาการเกษตร(รายชื่อดังกลาวระบุไวเพื่อใหกระทําการตรวจสอบไดอยางรวดเร็ว)

 รายชื่อโรงพยาบาลที่ไดรับการสนับสนุน Fuller's Earth
 จาก บริษัท ซินเจนทา ครอป โปรเทคชั่นจํากัด (ขอมูลจนถึงป พ.ศ. 2546)


กรุงเทพมหานคร
โรงพยาบาลเกษมราษฏร
โรงพยาบาลเกษมราษฏร สุขาภิบาล 3
โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ
โรงพยาบาลเจาพระยา
โรงพยาบาลเซนทรัลเยนเนอรัล
โรงพยาบาลเด็ก
โรงพยาบาลเปาโลเมโมเรียล
โรงพยาบาลเมโย
โรงพยาบาลเลิดสิน
โรงพยาบาลกรุงเทพ
โรงพยาบาลกรุงเทพคริสเตียน
โรงพยาบาลกรุณาพิทกษ
                   ั
โรงพยาบาลกลาง
โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ แผนกยาทุนหมุนเวียน
โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ ตึกไอซียู คณะแพทยศาสตร
โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ ภาควิชาเภสัชวิทยา คณะแพทยศาสตร
โรงพยาบาลชุมนุมลาดกระบัง
โรงพยาบาลตากสิน
โรงพยาบาลตํารวจ
โรงพยาบาลธนบุรี
โรงพยาบาลธนบุรี 2 (พุทธมณฑลสาย 2)
โรงพยาบาลนครธน

                                            29
โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี
โรงพยาบาลบางนา
โรงพยาบาลบางมด
โรงพยาบาลพญาไท 1
โรงพยาบาลพระมงกุฎเกลาฯ แผนกอายุรกรรม
โรงพยาบาลพระราม 2
โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช อาคารคุมเกลา ชั้น 8/1
โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช ตึกไอซียู อายุรกรรมชั้น 3
โรงพยาบาลภูมพลอดุลยเดช หองอุบัติเหตุ
             ิ
โรงพยาบาลมิชชั่น
โรงพยาบาลราชวิถี แผนกเภสัชกรรม
โรงพยาบาลราชวิถี หนวยไต แผนกอายุรกรรม
โรงพยาบาลรามคําแหง
โรงพยาบาลรามาธิบดี ฝายเภสัชกรรม
โรงพยาบาลรามาธิบดี ภาควิชากุมารเวชศาสตร
โรงพยาบาลรามาธิบดี ภาควิชาอายุรศาสตร
โรงพยาบาลวชิรพยาบาล
โรงพยาบาลวิชัยยุทธ
โรงพยาบาลวิภาวดี 2
โรงพยาบาลศรีวิชัย 1
โรงพยาบาลศรีวิชัย 2
โรงพยาบาลศรีสยาม
โรงพยาบาลศิครินทร
โรงพยาบาลศิริราช ภาควิชาเวชศาสตรปองกันและสังคม
โรงพยาบาลศิริราช ภาควิชากุมารเวชศาสตร
โรงพยาบาลศิริราช ภาควิชาอายุรศาสตร
โรงพยาบาลสมเด็จพระปนเกลา
โรงพยาบาลสมิติเวช
โรงพยาบาลสินแพทย

                                          30
โรงพยาบาลหนองจอก
โรงพยาบาลหัวเฉียว
ภาคเหนือ
กําแพงเพชร      โรงพยาบาลเอกชนเมืองกําแพง
               โรงพยาบาลไทรงาม
               โรงพยาบาลกําแพงเพชร
               โรงพยาบาลขาณุวรลักษณบรี
                                      ุ
               โรงพยาบาลคลองขลุง
               โรงพยาบาลคลองลาน
               โรงพยาบาลทรายทองวัฒนา
               โรงพยาบาลทุงโพธิ์ทะเล
               โรงพยาบาลบึงสามัคคี
               โรงพยาบาลปางศิลาทอง
               โรงพยาบาลพรานกระตาย
               โรงพยาบาลลานกระบือ

เชียงราย       โรงพยาบาลเกษมราษฎร ศรีสุรินทร
               โรงพยาบาลเชียงแสน
               โรงพยาบาลเชียงของ
               โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห
               โรงพยาบาลเทิง
               โรงพยาบาลเวียงแกน
               โรงพยาบาลเวียงชัย
               โรงพยาบาลเวียงปาเปา
               โรงพยาบาลแมใจ
               โรงพยาบาลแมจัน
               โรงพยาบาลแมฟาหลวง
               โรงพยาบาลแมลาว
               โรงพยาบาลแมสรวย

                                          31
โรงพยาบาลแมสาย
            โรงพยาบาลโอเวอรบรูค
            โรงพยาบาลขุนตาล
            โรงพยาบาลปาแดด
            โรงพยาบาลพญาเม็งราย
            โรงพยาบาลพาน

เชียงใหม   โรงพยาบาลเชียงดาว
            โรงพยาบาลเวียงแหง
            โรงพยาบาลแมแจม
            โรงพยาบาลแมแตง
            โรงพยาบาลแมคคอรมิค
            โรงพยาบาลแมดอน
            โรงพยาบาลแมวาง
            โรงพยาบาลแมอาย
            โรงพยาบาลไชยปราการ
            โรงพยาบาลจอมทอง
            โรงพยาบาลดอยเตา
            โรงพยาบาลดอยสะเก็ด
            โรงพยาบาลนครพิงค
            โรงพยาบาลฝาง
            โรงพยาบาลพราว
            โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม
            โรงพยาบาลลานนา
            โรงพยาบาลสะเมิง
            โรงพยาบาลสันทราย
            โรงพยาบาลสันปาตอง
            โรงพยาบาลสารภี
            โรงพยาบาลหางดง

                                   32
โรงพยาบาลอมกอย
        โรงพยาบาลฮอด
        สถานบริการสุขภาพพิเศษ มหาวิทยาลัยเชียงใหม

ตาก     โรงพยาบาลแมระมาด
        โรงพยาบาลแมสอด
        โรงพยาบาลทาสองยาง
        โรงพยาบาลบานตาก
        โรงพยาบาลพบพระ
        โรงพยาบาลพะวอ
        โรงพยาบาลสามเงา
        โรงพยาบาลอุมผาง

นาน    โรงพยาบาลเชียงกลาง
        โรงพยาบาลเวียงสา
        โรงพยาบาลแมจริม
        โรงพยาบาลทาวังผา
        โรงพยาบาลทุงชาง
        โรงพยาบาลนาน
        โรงพยาบาลนานอย
        โรงพยาบาลบานหลวง
        โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชปว
        โรงพยาบาลสันติสุข

พะเยา   โรงพยาบาลเชียงคํา
        โรงพยาบาลเชียงมวน
        โรงพยาบาลแมใจ
        โรงพยาบาลจุน
        โรงพยาบาลดอกคําใต

                                 33
Paraqaut
Paraqaut
Paraqaut
Paraqaut
Paraqaut
Paraqaut
Paraqaut
Paraqaut
Paraqaut
Paraqaut
Paraqaut
Paraqaut
Paraqaut
Paraqaut
Paraqaut
Paraqaut
Paraqaut
Paraqaut
Paraqaut
Paraqaut
Paraqaut
Paraqaut
Paraqaut
Paraqaut
Paraqaut
Paraqaut
Paraqaut
Paraqaut

More Related Content

What's hot

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอนชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอนssuser66968f
 
โครงงาน พืชผักสวนครัว
โครงงาน พืชผักสวนครัวโครงงาน พืชผักสวนครัว
โครงงาน พืชผักสวนครัวgreatzaza007
 
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่างBest practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่างsomdetpittayakom school
 
การใช้คำสำหรับพระสงฆ์
การใช้คำสำหรับพระสงฆ์การใช้คำสำหรับพระสงฆ์
การใช้คำสำหรับพระสงฆ์พัน พัน
 
เรื่องที่1การวัด
เรื่องที่1การวัดเรื่องที่1การวัด
เรื่องที่1การวัดApinya Phuadsing
 
2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยาPa'rig Prig
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาPa'rig Prig
 
ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศ
ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศปรากฏการทางลมฟ้าอากาศ
ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศdnavaroj
 
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injuryClinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injuryUtai Sukviwatsirikul
 
ยาแก้อักเสบ ยาแก้ปวด
ยาแก้อักเสบ ยาแก้ปวดยาแก้อักเสบ ยาแก้ปวด
ยาแก้อักเสบ ยาแก้ปวดtopsaby99
 
8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น
8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น
8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่นMint NutniCha
 
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนวิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนAj Ob Panlop
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนพัน พัน
 
การสำรวจการใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้องบนโลกออนไลน์ ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียน...
การสำรวจการใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้องบนโลกออนไลน์  ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียน...การสำรวจการใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้องบนโลกออนไลน์  ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียน...
การสำรวจการใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้องบนโลกออนไลน์ ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียน...Orawan Meekhun
 
Physicเรื่องของไหล
Physicเรื่องของไหล Physicเรื่องของไหล
Physicเรื่องของไหล Icxise RevenClaw
 
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...Chutchavarn Wongsaree
 

What's hot (20)

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอนชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน
 
โครงงาน พืชผักสวนครัว
โครงงาน พืชผักสวนครัวโครงงาน พืชผักสวนครัว
โครงงาน พืชผักสวนครัว
 
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่างBest practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
 
การใช้คำสำหรับพระสงฆ์
การใช้คำสำหรับพระสงฆ์การใช้คำสำหรับพระสงฆ์
การใช้คำสำหรับพระสงฆ์
 
เรื่องที่1การวัด
เรื่องที่1การวัดเรื่องที่1การวัด
เรื่องที่1การวัด
 
PALS 2010
PALS 2010PALS 2010
PALS 2010
 
2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
 
ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศ
ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศปรากฏการทางลมฟ้าอากาศ
ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศ
 
4 ตอน4 sar57
4 ตอน4 sar574 ตอน4 sar57
4 ตอน4 sar57
 
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injuryClinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
 
บทคัดย่อ บทเรียนสำเร็จรูปคณิตศาสตร์
บทคัดย่อ บทเรียนสำเร็จรูปคณิตศาสตร์บทคัดย่อ บทเรียนสำเร็จรูปคณิตศาสตร์
บทคัดย่อ บทเรียนสำเร็จรูปคณิตศาสตร์
 
ยาแก้อักเสบ ยาแก้ปวด
ยาแก้อักเสบ ยาแก้ปวดยาแก้อักเสบ ยาแก้ปวด
ยาแก้อักเสบ ยาแก้ปวด
 
8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น
8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น
8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น
 
T
TT
T
 
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนวิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
การสำรวจการใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้องบนโลกออนไลน์ ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียน...
การสำรวจการใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้องบนโลกออนไลน์  ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียน...การสำรวจการใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้องบนโลกออนไลน์  ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียน...
การสำรวจการใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้องบนโลกออนไลน์ ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียน...
 
Physicเรื่องของไหล
Physicเรื่องของไหล Physicเรื่องของไหล
Physicเรื่องของไหล
 
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
 

Similar to Paraqaut

สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรีย
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรียสอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรีย
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรียนายสามารถ เฮียงสุข
 
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้เลือดออก
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้เลือดออกสอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้เลือดออก
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้เลือดออกนายสามารถ เฮียงสุข
 
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาadriamycin
 
บทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidaseบทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidasedentyomaraj
 
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009Adisorn Tanprasert
 
การใส่สวนปัสสาวะ หญิง 16 sep17
การใส่สวนปัสสาวะ หญิง 16 sep17การใส่สวนปัสสาวะ หญิง 16 sep17
การใส่สวนปัสสาวะ หญิง 16 sep17DoraPari Pari
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553Postharvest Technology Innovation Center
 
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60Paradee Plodpai
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009Adisorn Tanprasert
 
Anti Mouse Ink By Pantapong
Anti Mouse Ink By PantapongAnti Mouse Ink By Pantapong
Anti Mouse Ink By Pantapongpantapong
 
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...Loveis1able Khumpuangdee
 
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูดอาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูดUsableLabs
 
แนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้าแนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้าsucheera Leethochawalit
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 11 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2555
Postharvest Newsletter ปีที่ 11 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2555Postharvest Newsletter ปีที่ 11 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2555
Postharvest Newsletter ปีที่ 11 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2555Postharvest Technology Innovation Center
 

Similar to Paraqaut (20)

สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรีย
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรียสอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรีย
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรีย
 
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้เลือดออก
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้เลือดออกสอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้เลือดออก
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้เลือดออก
 
7
77
7
 
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
 
บทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidaseบทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidase
 
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
 
การใส่สวนปัสสาวะ หญิง 16 sep17
การใส่สวนปัสสาวะ หญิง 16 sep17การใส่สวนปัสสาวะ หญิง 16 sep17
การใส่สวนปัสสาวะ หญิง 16 sep17
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553
 
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
 
ระบบยา
ระบบยาระบบยา
ระบบยา
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
Anti Mouse Ink By Pantapong
Anti Mouse Ink By PantapongAnti Mouse Ink By Pantapong
Anti Mouse Ink By Pantapong
 
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
 
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูดอาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
 
แนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้าแนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
 
Cpg std aug 2011
Cpg std aug 2011Cpg std aug 2011
Cpg std aug 2011
 
8
88
8
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 11 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2555
Postharvest Newsletter ปีที่ 11 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2555Postharvest Newsletter ปีที่ 11 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2555
Postharvest Newsletter ปีที่ 11 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2555
 
Epilepsy
EpilepsyEpilepsy
Epilepsy
 

More from Loveis1able Khumpuangdee (20)

Rollup01
Rollup01Rollup01
Rollup01
 
Protec
ProtecProtec
Protec
 
Factsheet hfm
Factsheet hfmFactsheet hfm
Factsheet hfm
 
Factsheet
FactsheetFactsheet
Factsheet
 
Eidnotebook54
Eidnotebook54Eidnotebook54
Eidnotebook54
 
Data l3 148
Data l3 148Data l3 148
Data l3 148
 
Data l3 147
Data l3 147Data l3 147
Data l3 147
 
Data l3 127
Data l3 127Data l3 127
Data l3 127
 
Data l3 126
Data l3 126Data l3 126
Data l3 126
 
Data l3 113
Data l3 113Data l3 113
Data l3 113
 
Data l3 112
Data l3 112Data l3 112
Data l3 112
 
Data l3 92
Data l3 92Data l3 92
Data l3 92
 
Data l3 89
Data l3 89Data l3 89
Data l3 89
 
Data l2 80
Data l2 80Data l2 80
Data l2 80
 
Hfm reccomment10072555
Hfm reccomment10072555Hfm reccomment10072555
Hfm reccomment10072555
 
Hfm work2550
Hfm work2550Hfm work2550
Hfm work2550
 
Factsheet hfm
Factsheet hfmFactsheet hfm
Factsheet hfm
 
Publichealth
PublichealthPublichealth
Publichealth
 
hand foot mouth
hand foot mouthhand foot mouth
hand foot mouth
 
Knowledge
KnowledgeKnowledge
Knowledge
 

Paraqaut

  • 1. แนวทางการวินิจฉัย การปฐมพยาบาล และการดูแลรักษา ภาวะเปนพิษจากพาราควอท PARAQUAT POISONING a practical guide to diagnosis, first aid and hospital treatment 0
  • 2. คํานิยม หนังสือคูมือแนวทางการวินจฉัย การปฐมพยาบาล และการดูแลรักษา ภาวะเปนพิษจาก ิ "พาราควอท" เลมนี้ ทางบริษัท ซินเจนทา ครอป โปรเทคชั่น จํากัด ไดจัดทําขึ้นเพื่อมอบใหแก ทางโรงพยาบาล หนวยงาน นายแพทย หรือผูที่เกี่ยวของตลอดจนผูที่มีความสนใจทัวไป เพื่อใหเกิด ่ ประโยชนตอการรักษาพยาบาลผูปวย ขอความสวนใหญในหนังสือเลมนี้ไดแปลและเรียบเรียงจาก หนังสือ PARAQUAT POISONING a practical guide to diagnosis, first aid and hospital treatment ฉบับลาสุด ป ค.ศ 2003 ของบริษัท ซินเจนทา ครอป โปรเทคชั่น จํากัด บริษัทฯ ขอขอบพระคุณ นายแพทย วินย วนานุกูล และ ดร.อํานวย ถิฐาพันธ ั ที่ไดกรุณาชวยแปล ตรวจทานและแกไข เพิ่มเติม เพื่อใหหนังสือเลมนีมความสมบูรณยิ่งขึ้น ้ ี บริษัทฯ ขอขอบพระคุณ นายแพทย สมิง เกาเจริญ นายแพทย วินัย วนานุกูล แพทยหญิง สุดา วรรณประสาท นายแพทย สัมมนต โฉมฉาย แพทยหญิง จุฬธิดา โฉมฉาย นายแพทย ธีระ กลลดาเรืองไกร และนายแพทย สุชัย สุเทพารักษ ทีไดใหเกียรติแกทางบริษัทฯ โดยอนุญาตให ่ นําชื่อ และสถานที่ทํางานของทานมาลงไวในหนังสือเลมนี้ เพื่อการติดตอขอคําแนะนํา และรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับการรักษาผูปวย  ทายที่สุดบริษทฯ ขอขอบพระคุณ กรมวิชาการเกษตร ทีไดกรุณารวบรวมรายชื่อทางการคา ั ่ ของสารกําจัดวัชพืช พาราควอท ที่ไดรับการขึ้นทะเบียนวัตถุมพษ เพื่อนํามาใชประกอบใน ี ิ รายละเอียดของหนังสือเลมนี้ 1
  • 3. สารบัญ คํานิยม 1 บทนํา 3 การรักษาภาวะเปนพิษจากการกินพาราควอท 4 การวินจฉัย ิ 4 การปฐมพยาบาลเบื้องตน 4 การดูแลรักษาผูปวยเบื้องตนในโรงพยาบาล  5 การใชการตรวจทางหองปฏิบัติการเพื่อการวินิจฉัย 6 ลักษณะทางคลินก ิ 6 การดูแลรักษาแบบประคับประคอง 7 ผังงานแนวทางการดูแลรักษาภาวะเปนพิษจากพาราควอทระยะแรก 9 การไดรับสัมผัสพาราควอททางอื่น ผิวหนัง 10 ตา 11 การสูดดม 12 ขอมูลพื้นฐาน 13 กลไกการเกิดพิษ 14 ขบวนการทางชีวเคมีของภาวะเปนพิษจากพาราควอท 15 การรักษาอื่นทีอาจไดประโยชน ่ การเพิ่มการกําจัดพาราควอทออกจากรางกาย 16 การปองกันและรักษาภาวะพังผืดในปอด (Pulmonary fibrosis) 17 เทคนิคการวิเคราะห การวิเคราะหเชิงคุณภาพเพือยืนยันการวินจฉัย ่ ิ 20 การวิเคราะหสารพาราควอทเชิงปริมาณ 21 ความสัมพันธระหวางระดับพาราควอทในพลาสมากับโอกาสรอดชีวิตของผูปวย 22 บรรณานุกรม 24 รายละเอียดเพิมเติม ่ 25 รายชื่อทางการคาสารกําจัดวัชพืชพาราควอท 27 รายชื่อโรงพยาบาลที่ไดรบการสนับสนุน Fuller's Earth ั 29 2
  • 4. บทนํา พาราควอท เปนสารกําจัดวัชพืชที่มีประสิทธิภาพสูงและปลอดภัยเมื่อ ใชตามคําแนะนํา ที่ติดอยูบนฉลาก แตการไดรบสารพาราควอทในขนาดทีเ่ ปนพิษมีโอกาสเสียชีวตไดสง แมจะได ั ิ ู รับการรักษาอยางเต็มที่ ซึ่งสวนใหญมักจะเปนกรณีที่มจุดประสงคเพื่อทํารายตัวเอง การวินิจฉัย ี ภาวะสัมผัสถูกพาราควอทตังแตระยะแรก และการรักษาเพื่อลดการปนเปอนของพาราควอท ้ เขาสูรางกายแตเนิ่นๆ จึงเปนสวนสําคัญของการรักษา ในชวงหลายปมานี้ มีความกาวหนาเพียงเล็กนอยในการดูแลรักษาผูปวยที่มภาวะเปนพิษ ี จากพาราควอท หนังสือคูมือเลมนี้เขียนในแนวทางที่ใหความสําคัญกับการวินิจฉัยแตเนิ่นๆ และการดูแลรักษาผูปวยในระยะแรกเปนหลัก และไดรวบรวมกลไกการเกิดพิษของพาราควอท รวมทั้งผังงานแนวทางการดูแลรักษา เพื่อชวยใหแพทยวางแผนการรักษาตั้งแตระยะแรก ตลอด จนวิธีการตรวจทางหองปฏิบัติการใหมๆ ดวย หนังสือคูมือเลมนี้เปนผลงาน รวมระหวาง บุคลากร  ของ Health Assessments and Environmental Safety Department บริษท ซินเจนทา ครอป ั โปรเทคชั่น จํากัดและ Medical Toxicology Unit, Guy’s & St Thomas’ Hospital NHS Trust, กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร หนังสือคูมือเลมนี้มีเปาหมายที่จะนําเสนอแนวทางการรักษาภาวะเปนพิษจากพาราควอทที่ เหมาะสมและดีที่สุดในปจจุบัน อยางไรก็ตามคงตองตระหนักถึงดานความพรอมของการรักษา ซึ่งมีความแตกตางกันอยางมากในแตละประเทศ และสถานพยาบาลแตละแหง แพทยควรเขาใจและ ทราบถึงขีดความสามารถของเวชปฏิบัติและความพรอมของการตรวจทางหองปฏิบัติการของทองที่ นั้นๆเพื่อนําไปประยุกตใชตอไป คําเตือน แมวาคณะผูนพนธหนังสือเลมนี้ไดเขียนคําแนะนําบนพืนฐานของความซื่อสัตยแหง  ิ ้ วิชาชีพ และความรูที่มีหลักฐานและทันสมัยที่สุดที่มีอยูในขณะเวลาที่จัดพิมพหนังสือเลมนี้  แตไมสามารถรับรองหรือไมไดหมายความวาคําแนะนําทังหมดในหนังสือเลมนี้จะถูกตองทั้งหมด ้ นอกจากนี้ความสําเร็จในการรักษาใดๆ ยังขึนกับปจจัยอื่นๆ ที่นอกเหนือความควบคุมของผูนิพนธ ้ เชน สภาพรางกายโดยทั่วไปของผูปวย ระยะเวลาตั้งแตกนสารพาราควอทจนถึงเริ่มการรักษา ิ และปริมาณของผลิตภัณฑทกินเขาไป เปนตน ี่ 3
  • 5. การรักษาภาวะเปนพิษจากการกินพาราควอท การวินิจฉัย • การวินจฉัยจะตองทําทันที พรอมกับการใหการปฐมพยาบาลโดยไมรอชา ิ • การวินจฉัยภาวะเปนพิษจากพาราควอท ทําไดโดยอาศัยขอมูลตอไปนี้ ิ 1. ประวัตของการกินพาราควอท ทั้งจากผูปวยเองหรือผูพบเห็น ิ 2. หลักฐานรองรอยของการกินพาราควอท เชน จดหมายลาตาย ขวดผลิตภัณฑเปลา สวนที่กินเหลือ สี หรือ กลิ่น 3. อาการแสดงทางคลินิก โดยเฉพาะอาการอาเจียนทีหยุดยาก มีแผลหรือการอักเสบ ่ ของเยื่อบุชองปาก (ซึ่งจะพบไดหลังกินไปหลายชั่วโมงแลว) ประวัติการกินสารกําจัดวัชพืชที่เปนสีน้ําเงิน-เขียว แลวมีอาเจียนอยางมากเปนสีน้ําเงิน- เขียว (หรือการไดนําลางกระเพาะเปนสีนาเงิน-เขียว) รวมกับมีอาการเจ็บปากและคอถือเปนขอมูล ้ ้ํ ที่สาคัญในการวินิจฉัยภาวะการกินพาราควอท ํ • การกินพาราควอทในภาวะตอไปนี้มักไมทาใหเกิดเปนภาวะพิษที่รนแรง ํ ุ 1. กินพืชที่ถกพนดวยพาราควอทมากอน ู 2. กินดินที่ถกพนดวยพาราควอทมากอน ู 3. กินพาราควอทชนิดเจือจางซึ่งใชสําหรับฉีดพนเพื่อกําจัดวัชพืช การปฐมพยาบาลเบื้องตน • ถาผูปวยไมไดกําลังอาเจียนอยูขณะนั้น พิจารณาใหกินสารอยางใดอยางหนึ่งตอไปนี้ คือ 1. ผงถานกัมมันต (activated charcoal) ในขนาด 100 กรัม สําหรับผูใหญ 2 กรัม/กิโลกรัม ของน้ําหนักตัว สําหรับเด็ก 2. สารละลายดินเหนียว 15% Fuller’s Earth ในขนาด 1 ลิตร สําหรับผูใหญ 15 มิลลิลิตร/กิโลกรัม ของน้ําหนักตัว สําหรับเด็ก สามารถเตรียมสารละลายนี้ไดโดย ผสมผงดินเหนียว Fuller’s Earth 2 1/2 กระปอง (แตละกระปองมี 60 กรัม) ละลายในน้ํา 1 ลิตร 4
  • 6. • ควรใหยาระบาย (หลังจากใหผงถานกัมมันต หรือ Fuller’s Earth) เชน mannitol หรือ magnesium sulphate • ถาคาดวาผูปวยกินสารในปริมาณมากพอทีอาจจะทําใหเกิดอันตรายได ควรพิจารณาสงผูปวย ่ ไปยังโรงพยาบาลหลังจากการปฐมพยาบาลโดยเร็ว (ผงดินเหนียว Fuller’s Earth สามารถติดตอขอรับไดจากบริษัทซินเจนทา ครอป โปรเทคชั่น จํากัด หรือในกรณีฉุกเฉินสามารถยืมไดจากโรงพยาบาลใกลเคียงที่มรายชื่ออยูในทายหนังสือเลมนี้) ี การดูแลรักษาผูปวยเบื้องตนในโรงพยาบาล • ดูแลเรื่องทางเดินหายใจ การหายใจ และการไหลเวียนโลหิต • ควบคุมอาการอาเจียนดวย 1. ยาตานเซอโรโตนิน3 (5HT3 antagonists) เชน ondansetron 8 มิลลิกรัมในผูใหญ หรือ 5 มิลลิกรัม/ตารางเมตรของพื้นที่ผิวกาย ในเด็ก โดยฉีดเขาหลอดเลือดชาๆ หรือผสมน้ําเกลือหยด เขาหลอดเลือดในเวลามากกวา 15 นาที หรือ 2. ยาแกอาเจียนกลุม Phenothiazine เชน prochlorperazine ควรหลีกเลี่ยงยากลุมตาน โดพามีน (Dopamine antagonists) เชน metoclopramide เพราะยากลุมนี้อาจจะทําใหการใชยา dopamine เพื่อสงวนการไหลเวียนเลือดของไตไมไดผลดีเทาที่ควร • ใหสารดูดซับพาราควอทอยางใดอยางหนึง คือ ่ 1. ผงถานกัมมันต (activated charcoal) หรือ 2. สารละลายดินเหนียว Fuller’s Earth ขอสังเกต: การใสสายลางกระเพาะโดยไมไดใหสารดูดซับดังกลาวขางตนนั้น ไมไดประโยชนในทางคลินก ิ • ใหยาระบาย เชน mannitol หรือ magnesium sulphate • ควรใหความสําคัญกับการใหสารน้ําแกผปวยอยางเพียงพอ เพื่อใหไตซึ่งเปนอวัยวะหลัก ู ในการกําจัดพาราควอทออกจากรางกายสามารถทํางานไดเต็มประสิทธิภาพ แตก็ตองระวัง ภาวะน้ําเกิน (volume overload) และความไมสมดุลของสารอิเล็กโตรไลท (electrolyte imbalance) ซึ่งอาจจะเกิดขึ้นในขณะเดียวกันได ขอสังเกต: ไมควรใหออกซิเจน นอกเสียจากวาผูปวยมีภาวะออกซิเจนต่ําที่รุนแรง 5
  • 7. การใชการตรวจทางหองปฏิบัติการเพื่อการวินิจฉัย • การตรวจเชิงคุณภาพเพื่อยืนยันวาผูปวยกินพาราควอทในปริมาณที่มีความสําคัญ - Urine spot test ควรนําปสสาวะมาตรวจหาพาราควอททันทีโดยใชดางและโซเดียม ไดไทโอไนท (sodium dithionite) สารเคมีทั้งสองชนิดไดมการจัดเตรียมเปนชุดตรวจสอบซึ่งติดตอขอไดจาก บริษัทซินเจนทา ี ครอป โปรเทคชั่น จํากัด - ถาผลเปนลบ ควรตรวจซ้ําอีกครั้งหนึ่งที่เวลา 6 ชั่วโมงหลังจากกิน และถายังใหผลลบอีก แสดงวามีโอกาสนอยที่จะเกิดภาวะเปนพิษที่รุนแรง • การตรวจหาระดับพาราควอทในเลือด จะชวยทํานายความรุนแรงและพยากรณโรคได (ควรเจาะเลือดตรวจหลังกิน 4 ชั่วโมง ตัวอยางเลือดควรจะเก็บในหลอดพลาสติก ไมควรเก็บ ตัวอยางเลือดในหลอดแกว) • การตรวจหาระดับพาราควอทในเลือดควรใชพลาสมามากกวาใชซีรั่ม เพราะระดับ ความเขมขนของพาราควอทในซีรั่ม จะต่ําเพียง 1/3 ของระดับความเขมขนในพลาสมา แตใน กรณีที่มีผลการตรวจระดับความเขมขนพาราควอทในซีรมเทานั้น การแปลผลโดยเทียบกับ ั่ เสนรอดชีวิตในแผนภูมิที่อยูทายเลม จะตองแปลดวยความระมัดระวัง  • ดูรายละเอียดในบท “เทคนิคการวิเคราะห” ลักษณะทางคลินิก (อางถึงการรายงานของ Lock และ Wilks ป คศ.2001) • ความเปนพิษระดับออนหรือกึ่งเฉียบพลัน (Mild or subacute poisoning): เมื่อกินนอยกวา 20-30 มิลลิกรัมของ พาราควอทไอออน (paraquat ion) / น้ําหนักตัว (กิโลกรัม) - ไมมีอาการ หรือ มีเพียงอาการอาเจียนและทองเสีย - มีพิษตอไตและตับ นอยหรือไมมเี ลย - ความสามารถในการใหกาซซึมผานของปอด (pulmonary diffusion capacity) อาจจะลดลงไดในระยะแรก แตจะหายกลับเปนปกติได • ความเปนพิษระดับปานกลาง ถึงรุนแรงและเฉียบพลัน (Moderate to severe acute poisoning): เมื่อกินมากกวา 20-30 แตนอยกวา 40-50 มิลลิกรัมของ พาราควอทไอออน/ น้ําหนักตัว (กิโลกรัม) 6
  • 8. ระยะเวลาที่เกิดอาการ อาการ - ทันทีหลังกิน: อาเจียน - เปนชัวโมงหลังกิน: ่ ถายเหลว ปวดทอง เจ็บในปากและมีแผลในปากและคอ - 1-4 วันหลังกิน: ไตวาย ตับอักเสบ ความดันโลหิตต่ํา และชีพจรเร็ว -1-2 สัปดาหหลังกิน: ไอ ไอเปนเลือด มีน้ําในเยื้อหุมปอด (pleural effusion) มีพังผืดในปอด (lung fibrosis) และการทํางานของปอดลดลง ผูปวยยังมีโอกาสรอดชีวิต แตผูปวยสวนใหญเสียชีวิตภายใน 2-3 สัปดาหเนื่องจากการหายใจ ลมเหลว • ความเปนพิษระดับเร็วราย (Fulminant): เมื่อกินมากกวา 40-50 มิลลิกรัมของ พาราควอทไอออน/ น้ําหนักตัว (กิโลกรัม) ระยะเวลาที่เกิดอาการ อาการ - เกิดขึ้นทันที: อาเจียน - เปนชั่วโมง - หลายวัน: ทองเสีย ปวดทอง ไตวายและตับวาย มีแผลใน ระบบทางเดินอาหาร ตับออนอักเสบ กลามเนื้อ หัวใจอักเสบ ความดันโลหิตต่ํา (refractory hypotension) หมดสติ (coma) และชัก (convulsion) ผูปวยเสียชีวตจากภาวะช็อคจากหัวใจ (cardiogenic shock) และ อวัยวะหลายระบบลมเหลว ิ (multi-organ failure) ภายใน 1-4 วัน การดูแลรักษาแบบประคับประคอง (ดูผังงานแนวทางการรักษาประกอบ) การดูแลรักษาในระยะแรก - สารน้ํา (IV fluids) เนื่องจากพาราควอทถูกขับออกทางไตเปนหลัก การรักษา ประคับประคองใหไตทํางานไดอยางเต็มที่จึงมีความสําคัญ แตจะตองเฝาติดตามดูปริมาณปสสาวะ และประเมินการทํางานของไตอยางใกลชิด - ยาแกปวด เนื่องจากพาราควอททําใหเยือบุทางเดินอาหารไหม (corrosive effects) ่ ผูปวยจะเจ็บปากจากการมีแผลในชองปาก ปวดทองจากการมีแผลที่หลอดอาหารหรือกระเพาะอาหาร จึงอาจจะตองพิจารณาใหยาแกปวดที่มฤทธิ์สูง เชน ยากลุม opiate ี - ดูแลชองปากจากการที่มีแผลและการอักเสบ - ถาสงสัยวาผูปวยอาจจะมีอนตรายที่รุนแรงในชองปากหรือหลอดอาหาร ั (เชนมีอาการกลืนลําบากหรือกลืนน้ํา ลายเจ็บ) ควรใหงดอาหารและน้ําทางปากไวกอน 7
  • 9. - หลีกเลี่ยงการใหออกซิเจน นอกเสียจากวามีภาวะขาดออกซิเจน (hypoxia) ที่รุนแรง เพราะออกซิเจนสงเสริมใหเกิดภาวะเปนพิษจากพาราควอท การดูแลรักษาในระยะตอไป - ยาแกปวด - ยาปฏิชีวนะ ถามีภาวะติดเชือแทรกซอน ้ - ฟอกเลือด ดวยวิธี hemodialysis หรือ hemofiltration ถาการทํางานของไตลดลงมาก จนมีขอบงชี้  - การรักษาเพื่อบรรเทาความไมสบาย (palliative treatment) มีความสําคัญอยางยิ่ง โดยเฉพาะผูปวยที่มีพยากรณโรคไมดี - การรักษาที่จําเพาะอื่นๆ ควรพิจารณาตามความเหมาะสมเปนรายๆ (ดูไดจากบทการรักษาอื่นที่อาจจะมีประโยชน และขอคําแนะนําจากศูนยพิษวิทยา) 8
  • 11. การไดรับสัมผัสพาราควอททางอื่น ผิวหนัง • ถาใชผลิตภัณฑพาราควอทตามวิธีที่แนะนํา และมีการปฏิบัติตามวิธีการใชที่ถูกตอง มีโอกาสเกิดอันตรายตอผิวหนังนอย เพราะผิวหนังปกติจะเปนตัวกีดขวางการดูดซึมของ พาราควอทเขาสูรางกาย  • ภาวะเปนพิษเฉพาะที่ - สารพาราควอทเขมขน ( เชน “กรัมม็อกโซน”) อาจจะมีผลใหเกิดการระคายเคือง ผิวหนัง เกิดตุมพอง และแผลไหมลึกตลอดชั้นผิวหนัง (full thickness burn) ไดภายใน 1-3 วัน  หลังไดรับการสัมผัส - หากสัมผัสถูกสารพาราควอทที่เจือจางแลวในชวงเวลาสั้นๆ อาจจะทําใหเกิด รอยแดง (erythema) - ถาเล็บสัมผัสถูกสารพาราควอทเขมขน อาจทําใหสีเล็บเปลี่ยน (เชนเปนจุดขาว) หรือเล็บลอกหลุดออกได แตเล็บจะงอกกลับขึ้นเปนปกติ • ภาวะเปนพิษทั่วรางกาย (systemic toxicity) เกิดไดยาก แตสามารถเกิดขึ้นไดในภาวะ ตอไปนี้ - สัมผัสเปนเวลานาน เชน ไมลางทําความสะอาดรางกายสวนที่ถูกสารพาราควอทเขมขนกระเด็นใส แบกเครื่องพนสารพาราควอทที่รั่วซึม สวมใสเสื้อผาที่ชุมขณะพนพาราควอท - สัมผัสทางถุงอัณฑะ (scrotum) หรือ ฝเย็บ(perineum) ในพื้นที่กวาง - ผิวหนังมีแผลหรือรอยแยก และสัมผัสสารปริมาณมาก - สัมผัสสารพาราควอทเขมขนในพืนที่ผิวทีมาก แมวาจะไดรับการลาง ้ ่ การปองกันและการรักษา - ลดการปนเปอนใหเร็วที่สุด โดยการถอดเครื่องนุงหมที่ปนเปอน และลางผิวหนังดวยสบู และน้ําจํานวนมาก ระวังอยาใหมการถลอกของผิวหนัง ี - ถาสัมผัสถูกสารพาราควอทเขมขน ควรดูแลรักษาผิวหนังตามอาการ และติดตามดูทกวัน ุ (ตุมพุพองหรือแผลไหมอาจจะเกิดหลังสัมผัส 1-3 วัน) 10
  • 12. - ถาสงสัยวาจะมีภาวะเปนพิษทั่วรางกาย ควรสงปสสาวะตรวจหาพาราควอท แตเนื่องจากวา ไมมีขอมูลเพียงพอที่จะบอกวาระดับสูงสุดในเลือดจากการสัมผัสทางผิวหนังเกิดขึนเมื่อใดจึงอนุมาณวา ้ ถาการตรวจปสสาวะใหผลลบในชวง 24 ชั่วโมงแลว อาจไมตองกังวลวาจะเกิดภาวะ เปนพิษทัวรางกาย  ่ แตถาการตรวจปสสาวะใหผลบวก หรือมีขอใหสงสัยวาอาจจะเกิดภาวะเปนพิษ ทั่วรางกาย ใหตรวจ ระดับพาราควอทในเลือด และใหการรักษาเสมือนวามีภาวะเปนพิษทัวรางกายแลว ่ ตา • สารพาราควอทเจือจางพรอมฉีดพน อาจจะทําใหเกิดอาการเคืองตาชั่วคราว แตไมมีการทําลายเนื้อเยื่ออยางถาวร • สารพาราควอทเขมขน - อาจทําใหเกิดภาวะอักเสบทีรุนแรงของแกวตา (cornea) และเยื่อบุตา (conjunctiva) ่ ซึ่งจะเกิดในเวลามากกวา 4 ชั่วโมงหลังสัมผัส - อาจทําใหเกิดการหลุดลอกของเยื่อบุแกวตาและเยื่อบุตา และทําใหมานตาอักเสบ  (iritis) มีผลใหเสี่ยงตอการมีการติดเชื้อแทรกซอนและเกิดแผลบนแกวตาตามมาได - การบวมของแกวตา (corneal oedema) อาจเปนอยูนานถึง 3-4 สัปดาห ทําใหมีอาการตามัวชั่วคราวได การรักษา - ควรลางตาทันทีดวยน้ําสะอาดหรือน้ําเกลือ เปนเวลาไมตากวา 15 นาที และควรตรวจ ่ํ แกวตาดวยการยอม fluorescein - ยาปฏิชีวนะเฉพาะที่อาจมีความจําเปน เพื่อปองกันการติดเชื้อซ้ําซอน - ถาเปนกรณีของสารพาราควอทเขมขนกระเด็นเขาตา ควรตรวจประเมินซ้ําหลังจากสัมผัส 24 ชั่วโมง - พิจารณาสงพบจักษุแพทย 11
  • 13. การสูดดม พาราควอทเปนสารที่ไมระเหย แตผลิตภัณฑพาราควอทของบริษัทซินเจนทา ที่เปนของ เหลว ทุกสูตร จะมีการเติมสารแตงกลิ่นที่ฉน ซึ่งจะเปนสาเหตุใหเกิดความรูสกอยากอาเจียน หรือ ุ  ึ ปวดศีรษะได การพนพาราควอท - เมื่อใชตามคําแนะนําวิธีใช ละอองของสารพาราควอทจากการฉีดพนจะมีขนาดใหญเกินกวาที่จะถูกสูดเขาไปในปอดได - การพนพาราควอทใหเปนละอองฝอย อาจจะทําใหเกิดการระคายเคืองของทางเดินหายใจ สวนตน แตไมมีรายงานการเกิดภาวะเปนพิษจากพาราควอทที่รุนแรงจากการสูดหายใจสารนี้เขาไป - การระคายเคืองเฉพาะที่จมูกและคอ อาจเกิดขึ้นไดบาง และทําใหเกิดเลือดกําเดาไหล นิ้วมือที่ปนเปอนดวยพาราควอทสูตรเขมขนหากสัมผัสถูกเยื่อบุจมูก อาจทําใหมเี ลือดออกตรงจมูกได  การรักษา - ไมมีการรักษาจําเพาะทีจําเปนในกรณีสูดดม ไมมีความจําเปนตองตรวจหาพาราควอท ่ ในปสสาวะ เพราะปอดไมใชตําแหนงสําคัญในการดูดซึมพาราควอทเขาสูรางกาย - รักษาเลือดกําเดาไหลเหมือนกรณีทั่วไป 12
  • 14. ขอมูลพื้นฐาน สารกําจัดวัชพืชพาราควอท ถูกคนพบในปพ.ศ. 2493 และมีการจําหนายผลิตภัณฑนครั้งแรก ี้ ในปพ.ศ. 2505 ปจจุบันเปนสารกําจัดวัชพืชที่มียอดการขายสูงเปนอันดับ 2 ในโลก มีการจดทะเบียน และใชอยางแพรหลายมากกวา 100 ประเทศทั่วโลก พาราควอทเปนสารกําจัดวัชพืชที่ออกฤทธิ์เร็ว เปนการออกฤทธิ์เฉพาะที่เมื่อสัมผัสถูกสวน ที่เปนสีเขียวของพืช แตจะถูกน้ําชะออกในเวลาอันสั้น และหมดฤทธิ์ (deactivated) เมื่อสัมผัสกับดิน โดยไมมีฤทธิ์หลงเหลือเมื่ออยูในดิน การใชในภาวะปกติไมกอใหเกิดผลเสียตอสัตวปาและ สิ่งแวดลอม การใชอยางถูกตองจะไมมีผลอันตรายตอสุขภาพของผูพนสาร  การใชสารนี้ในการเกษตรกรรมหลายๆชนิด ชวยทําใหผลิตผลทางการเกษตรเพิ่มขึน ้ ทั้งในประเทศกําลังพัฒนาและพัฒนาแลว โดยลดความจําเปนในการไถพรวนดินลงซึ่งเปนการ สิ้นเปลืองเวลาและพลังงานมาก ทําใหสามารถปองกันการพังทลายของหนาดิน และชวยใหดิน สามารถเก็บความชื้นไดดี 13
  • 15. กลไกการเกิดพิษ • เนื่องจากพาราควอทมีโครงสรางคลายสารโปลีเอมีนที่มีอยูในธรรมชาติ ซึ่งเซลลของปอด จะเก็บกักไวในตัว พาราควอทเมื่อเขาสูรางกายจะถูกเก็บสะสมใน alveolar cell ชนิด I และ II  โดยอาศัยขบวนการลําเลียงเขาเซลล ซึ่งตองใชพลังงาน • พาราควอทเมือสะสมอยูในเซลลของไตและปอดมากพอ จะทําใหเกิดวงจรรีดอกซ (redox ่ cycling) และมีออกซิเจนที่เปนอันตราย (toxic reactive oxygen) เกิดขึน (ดูรูป) มีผลทําให ้ มีการทําลายเนือเยื่อปอดทั้งชนิดเฉียบพลันและกึ่งเรื้อรัง (acute and subchronic) ทั้งยังทําลาย ้ เซลลทอไต (renal tubular necrosis) • ภาวะไตวายเกิดจากพิษโดยตรงของพาราควอทที่มีตอทอไต หรือตามหลังจากภาวะช็อกได ไตวายมักเกิดในระยะแรกของโรค เปนลักษณะที่สําคัญทางคลินกของภาวะเปนพิษจากพาราควอท ิ และมักจะหายกลับมาเปนปกติได การรักษาประคับประคองใหไตทํางานไดดีมความสําคัญตอการ ี ลดลงของระดับพาราควอทในเลือด และลดการสะสมของพาราควอทในปอด • หลังจากไดรับพาราควอทในขนาดที่สูง จะเกิดภาวะลมเหลวของอวัยวะหลายๆระบบ(multi- organ failure) และทําใหผูปวยเสียชีวิตอยางรวดเร็ว การไดรับพาราควอทในขนาดปานกลาง จะเกิดการทําลายของปอดที่ดเู หมือนจะดีขนไดในชวงแรก แตจะเกิดภาวะพังผืดในปอด (lung ึ้ fibrosis) ในระยะตอมา ลักษณะทีจะเห็นในปอดคือพบมี fibroblast เพิมจํานวน และพัฒนาอยาง ่ ่ รวดเร็ว ทําใหเสียโครงสรางของเนื้อเยื่อปอดปกติไปและขัดขวางตอการแลกเปลี่ยนกาซของ ปอดตามปกติ การขาดสาร surfactant และปฏิกิริยาอักเสบมีผลทําใหความรุนแรงมากขึ้น 14
  • 17. การรักษาอื่นที่อาจไดประโยชน การเพิ่มการกําจัดพาราควอทออกจากรางกาย • การฟอกเลือดดวย peritoneal dialysis หรือ hemodialysis อาจจะมีความจําเปนในผูปวย เปนพิษจากพาราควอทที่มีภาวะไตวาย แตไมมประสิทธิภาพเพียงพอในการเพิ่มการกําจัด ี พาราควอทออกจากรางกาย • การกําซาบเลือด (Hemoperfusion) เปนวิธีทเี่ ชื่อวาสามารถใชรักษาภาวะเปนพิษจาก พาราควอทไดมาหลายป แตการศึกษาทีแสดงถึงประสิทธิภาพของการรักษาดวยวิธีนจนถึงในปจจุบัน ่ ี้ ก็ยังไมมีชดเจน ถึงแมวาตัวกรองที่เปนผงถานกัมมันต (charcoal column) มีประสิทธิภาพสูงในการ ั ดูดซับเอาสารพาราควอทออกจากเลือด แตปริมาณพาราควอทในเลือดมักเปนสวนนอย เนื่องจาก พาราควอทจะกระจายจากเลือดเขาสูเนื้อเยือตางๆไดอยางรวดเร็ว ในขณะที่พาราควอทในเนื้อเยื่อกลับ ่ สูกระแสเลือดในอัตราที่ชา การใชวิธีการกําซาบเลือดเพื่อรักษาภาวะเปนพิษจากพาราควอท มีขอพิจารณาดังนี้ 1. ผูปวยที่กนพาราควอทในปริมาณที่เกือบจะเปนขนาดที่ทําใหเสียชีวิตได (borderline lethal ิ dose) หรือมีระดับพาราควอทในเลือดอยูระหวางชวงที่มโอกาสรอดชีวตระหวาง รอยละ 20-70 และ ี ิ มาถึงโรงพยาบาลภายใน 2-3 ชั่วโมงหลังกิน (อาจจะขยายไดถึงนอยกวา 6-10 ชั่วโมง) อาจจะได ประโยชนจากการรักษาดวยวิธีนี้ เนื่องจากพาราควอทยังไมไดเขาไปสะสมอยูใน เนื้อเยื่ออื่น โดยเฉพาะปอดมากจนเปนอันตราย และการเอาพาราควอทออกจากรางกายแม ในอัตราสวนที่ ไมมากก็อาจจะมีผลตออัตราการรอดชีวิตได 2. ผูปวยที่กนพาราควอทในขนาดสูงเปนหลายเทาตัวของขนาดที่ทําใหเสียชีวิตหรือมีระดับ ิ สารอยูในชวงที่มพยากรณโรคไมดีคือมีอัตราการรอดชีวิตต่ํา อาจจะไมไดประโยชนจากการรักษา ี ดวยวิธการกําซาบเลือด (Hampson และ Pond, 1988.) ี 3. การรักษาโดยทําการกําซาบเลือดตอเนื่องหลายๆรอบนั้น อาจไมสามารถทําใหผูปวย รอดชีวตได แตจะยืดชีวตใหยาวขึ้นพอที่จะเปดโอกาสใหใชการรักษาวิธีอื่นเชนการ ิ ิ ปลูกถายปอดรวมดวย (Suzuki และคณะ.,1993) 16
  • 18. การปองกันและรักษาภาวะพังผืดในปอด (Pulmonary fibrosis) ผูปวยเปนพิษจากพาราควอทที่รุนแรงปานกลางมักไมเสียชีวิตจากภาวะลมเหลวของหลายๆ อวัยวะ (multi-organ failure) ตั้งแตชวงแรก แตมักจะเกิดภาวะพังผืดในปอด (pulmonary fibrosis) ซึ่งจะนําไปสูการหายใจลมเหลว และเสียชีวิตภายใน 2-3 สัปดาห มีการศึกษาโดยใชวธการรักษา  ิี แบบตางๆ เพือปองกันภาวะพังผืดในปอด โดยวิธีตางๆดังนี้ ่ • การรักษาดวยยา cyclophosphamide รวมกับ corticosteroid ปจจุบันมีหลายการศึกษาที่ใหความสนใจกับการรักษาภาวะเปนพิษจากพาราควอทโดยใชยา cyclophosphamide รวมกับ corticosteroid ไดแก - ในป พ.ศ. 2529 Addo และ Poon-King ไดรายงานการศึกษาผูปวยเปนพิษจาก พาราควอทโดยใช cyclophosphamide (5 มิลลิกรัม/กิโลกรัม/วัน, สูงสุดไมเกิน 4 กรัม) รวมกับ dexamethasone (8 มิลลิกรัม ทุก 8 ชั่วโมง เปนเวลามากกวา 2 สัปดาห) ในผูปวย 72 ราย พบวา มีอัตรา การรอดชีวิตรอยละ 72 แตในการศึกษานีมีการตรวจหาระดับพาราควอทในเลือดของผูปวยเพียง 25 ราย ้ โดยที่ผูปวย 7 รายที่รอดชีวิตไมพบพาราควอทในเลือด สวนผูปวยอีก 18 รายที่ตรวจพบพาราควอท  ในเลือด ผูที่มระดับพาราควอทต่ําที่สุด 6 รายสุดทายเทานั้นที่รอดชีวิต ี - ในป พ.ศ. 2542 Lin และคณะรายงานการศึกษาที่เปน prospective randomized โดยใชการ pulse therapy ดวย cyclophosphamide (1 กรัม/วัน มากกวา 2 วัน) รวมกับ methylprednisolone (1 กรัม/วัน มากกวา 3 วัน) มีผูปวยรวม 142 ราย โดยที่รอยละ 50 (71 ราย)  จัดอยูในกลุมที่มีความเปนพิษระดับเร็วราย (fulminant poisoning) และเสียชีวิตภายใน 1 สัปดาห  การรักษาดวย cyclophosphamide รวมกับ methylprednisolone ไมทําใหอัตราการรอดชีวิตแตกตาง อยางมีนัยสําคัญเมื่อเทียบกับกลุมควบคุม แตกลุมที่เหลือซึ่งจัดเปนกลุมที่มีความเปนพิษระดับ ปานกลางถึงรุนแรงนั้น (moderate to severe poisoning) ผูปวยที่ไดรับการรักษาดวยวิธีนี้มีอัตรา การรอดชีวิตรอยละ72 (18/22 ราย) ซึ่งสูงกวากลุมควบคุมที่มีอัตราการรอดชีวิตเพียงรอยละ43 (8/28 ราย) แตการศึกษานี้ไมไดวดระดับพาราควอทในเลือด ใชการตรวจปสสาวะดวย dithionite ั ซึ่งผูศึกษาอางวาความรุนแรงของโรคในผูปวยทั้ง 2 กลุมไมแตกตางกัน - แตกมการศึกษาที่ไมสนับสนุนประสิทธิภาพของการรักษาดวย cyclophosphamide ็ ี รวมกับ dexamethasone เชนกัน ป พ.ศ. 2535 Perriens และคณะไดรายงานวาไมพบความแตกตาง ของอัตราการเสียชีวิตระหวางผูปวยกลุมควบคุมจํานวน 14 รายที่ไดรับการรักษาแบบมาตรฐาน กับผูปวยกลุมที่ไดรับการรักษาดวยยาคูนี้ในขนาดสูงจํานวน 33 ราย ประโยชนจากการรักษา ดวยยา cyclophosphamide รวมกับ corticosteroid จึงยังไมมีขอสรุปที่ชัดเจนในขณะนี้ 17
  • 19. • วิธีรังสีรักษา (Radiotherapy) เซลลสรางเสนใย (fibroblast) ในปอดเปนเซลลที่ไวตอแสงกัมมันตภาพรังสีมาก การฉายแสง เชื่อวาจะลดจํานวนของ fibroblast ลง และทําให fibrosis ในปอดลดลง แตยังไมมหลักฐานที่ชัดเจน ี วาการรักษาดวยวิธีนี้ชวยเพิมอัตราการรอดชีวิต  ่ • การปลูกถายปอด(Lung transplantation) แมวาจะมีการปลูกถายปอดใหแกผูปวยเปนพิษจากพาราควอทแลวหลายราย แตที่รายงานถึงความสําเร็จ  มีเพียงรายเดียว (Walder และคณะ, 1997) การปลูกถายปอดแกผูปวยไดทําหลังจากไดรับการรักษา  ประคับประคองดวยเครื่องชวยหายใจประมาณ 5 สัปดาห กอนที่จะไดรับปอดมาปลูกถาย ระหวางนั้น มีการฟอกเลือด จนกระทั่งตรวจหาพาราควอทไมพบทั้งในเลือดและน้าฟอกเลือด (dialysate) ํ • ยาอื่นๆ มีการศึกษาทดลองใชยาหลายชนิดในการรักษาภาวะพิษจากพาราควอท มีเพียงบางรายงานเทานั้น ที่ไดทําการศึกษาในคน แตสวนใหญเปนเพียงรายงานผูปวยรายเดียวหรือจํานวนนอย   (รายละเอียดอานไดในรายงานของ Lock และ Wilks, 2001) ยาที่มีการใชทางคลินิกมีดงตอไปนี้ ั - Antioxidants (ไวตามิน C และ E) และ superoxide dismutase เพื่อลดความเปนพิษจากอนุมูลอิสระ (free radicals) - N-acetylcysteine เพื่อเพิ่มสาร glutathione ในเซลล - Desferrioxamine เพื่อจับเหล็กซึงเปนตัวเรงปฏิกิริยาที่ทําใหเกิดอนุมลไฮดรอกซิล (hydroxyl ่ ู radicals) - Propanolol เพื่อขัดขวางการเก็บพาราควอทเขาไวในในปอด - การดมกาซ nitric oxide เพื่อชวยทําใหการแลกเปลี่ยนกาซในปอดดีขึ้น 18
  • 20. เทคนิคการวิเคราะห 1. การวิเคราะหเชิงคุณภาพเพื่อยืนยันการวินิจฉัย 1.1 การทดสอบในหลอดทดลอง • สามารถทดสอบหาสารพาราควอทจากปสสาวะหรือน้ําจากกระเพาะอาหาร โดยใชวิธีทดสอบซึ่งอาศัยการเกิดอนุมูลสีฟาจากปฏิกิริยารีดักชัน (reduction)  ของอิออนบวกของสารพาราควอท ในสภาวะที่มดางและโซเดียม ไดไทโอไนท (sodium ี dithionite) • เติมดาง เชน โซเดียม ไฮดรอกไซด (sodium hydroxide) ลงในปสสาวะหรือน้ําจากกระเพาะอาหาร 10 มิลลิลิตร จนกระทั่งคาพีเอช (pH) สูงกวา 9 (สามารถใชโซเดียม ไบคารบอเนต (sodium bicarbonate) ประมาณครึ่งถึงหนึ่งชอนชา แทนได) • เติมโซเดียม ไดไทโอไนท หนึ่งชอนพาย (spatula) ลงในปสสาวะหรือน้ําจากกระเพาะอาหารที่ทําใหเปนดางแลว หมายเหตุ โซเดียม ไดไทโอไนท เมื่อเปดใชแลวจะเสื่อมสภาพไดเมื่อสัมผัสกับอากาศและความชื้น ผูใชจึงควรทําใหแนใจวาสารดังกลาวยังมีประสิทธิภาพอยูโดยการทดสอบกับ ตัวอยางที่มีสารพาราควอทอยู โซเดียม ไดไทโอไนททอยูในถุงฟอยล ี่ ที่มากับชุดทดสอบ หากยังมิไดเปดใชจะมีอายุการใชงานอยางนอย 10 ป • สังเกตหลอดทดลองจากดานบนโดยใชฉากหลังสีขาว หากสารละลายมี สีฟาหรือเขียว แสดงถึงการมีสารพาราควอทและเปนการยืนยันการวินจฉัย หากมีสารพาราควอท ิ ในความเขมขนที่สูง สารละลายอาจมีสีดํา จึงควรทําการทดสอบซ้ําโดยใชตวอยางั ที่เจือจางลง • วิธการนี้สามารถใชตรวจหาสารพาราควอทในปสสาวะได เมื่อมีความเขมขนต่ําจนถึง ี 2 ไมโครกรัมตอมิลลิลิตร และยังสามารถใชเปนการวิเคราะหแบบกึ่งปริมาณได หากเตรียมสารมาตรฐานในปสสาวะเพื่อเปรียบเทียบ (Widdop 1976; Berry and Grove, 1971) 19
  • 21. 1.2 การสกัดดวยเทคนิค solid phase extraction สามารถทดสอบหาสารพาราควอทจากปสสาวะ ซีรั่ม (serum) หรือ พลาสมา (plasma) ได โดยอาศัยการเกิดปฏิกิริยารีดกชันบน solid phase extraction cartridge (Woollen and Mahler 1987) ั การทดสอบที่มีความไวมากขึ้นนี้ สามารถทําไดโดยใชสารที่มากับชุดทดสอบ ตามรายละเอียด ดานลางนี้ เนื่องจากพลาสมาอาจทําให cartridge อุดตันได ดังนั้นหากสามารถกรองพลาสมากอน ไดจะเปนการดี ตัวอยางเชน การกรองผานตัวกรอง (PVDF หรือ nitrocellulose) ขนาด 0.45 ไมโครเมตร กอนที่จะนํามาทําการทดสอบ สวนซีรั่มไมจาเปนตองผานการกรองกอนยกเวนในกรณี ํ ที่ขุนมาก • ผสมโซเดียม ไบคารบอเนต และ โซเดียม ไดไทโอไนท อยางละประมาณ 1 กรัม ลงในน้ํา 10 มิลลิลิตร แลวตั้งทิ้งไว • หากใชปสสาวะ ใหทําใหเปนดางโดยการเติมโซเดียม ไบคารบอเนตประมาณ 0.5 กรัม ลงในปสสาวะ 5 มิลลิลิตร • ใสพลาสมา ซีรั่ม หรือ ปสสาวะที่ทําใหเปนดางแลว 2 มิลลิลิตร ลงใน 1 มิลลิลิตร/100 มิลลิกรัม silica SPE cartridge ตั้งทิ้งไวใหของเหลวไหลผานเขาไปดานใน (cartridge ที่แนะนําใหใช คือ Bakerbond Cat No 7086-01 หรืออาจใช Varian Bond-Elut 14102010 แทนได) • ใชหลอดฉีดยาใสเขาไปทางดานบนของ cartridge โดยอาศัย adapter แลวกดหลอดฉีดยา เบาๆ เพื่อใหแรงดันทําใหสารตัวอยางที่เหลือทั้งหมดไหลผาน cartridge • ลาง cartridge ดวยน้ําในปริมาตรที่เทากัน โดยควบคุมใหอัตราการไหลของน้ําเปนไป อยางชาๆ • เติมสารละลายไดไทโอไนท ประมาณ 0.2 มิลลิลิตร ลงใน cartridge และใหแรงดันเบาๆ เพื่อใหแนใจวาของเหลวเพิ่งผานมาอยูใต frit อันบนสุด อยาปลอยให cartridge แหง • การเกิดวงสีฟาใต frit อันบนสุด แสดงถึงการมีสารพาราควอทและเปนการยืนยัน  การวินจฉัย ิ • วิธีการนี้สามารถใชตรวจหาสารพาราควอทได เมื่อมีความเขมขนต่ําจนถึงประมาณ 0.1 ไมโครกรัมตอมิลลิลิตร ในตัวอยาง 2 มิลลิลิตร โดยหลักการแลวควรจะมีตัวเปรียบเทียบ ซึ่งใหผลบวก (positive control) ที่มีความเขมขนประมาณ 0.5 ไมโครกรัมตอมิลลิลิตร 20
  • 22. 2. การวิเคราะหสารพาราควอทเชิงปริมาณ การตรวจหาปริมาณสารในพลาสมาจะสามารถบอกความรุนแรง และการพยากรณโรคได (ตัวอยางจะตองถูกนํามาจากผูปวยอยางนอยที่สุด 4 ชั่วโมงหลังจากไดรับสารเขาไป และควรปนแยก (centrifuge) แลวเก็บในหลอดพลาสติก ไมควรเก็บในหลอดแกว) 2.1 การวัดดวยเทคนิค spectrophotometry ภายหลังจากการสกัดดวยเทคนิค solid phase extraction และการเกิดปฏิกริยารีดักชันโดยโซเดียม ไดไทโอไนท ิ • กรองพลาสมา หรือ ซีรั่ม ตามที่อธิบายไวในหัวขอ 1.2 ปรับสภาพของ Bond-Elut cyanopropyl cartridge (100 มิลลิกรัม 1 มิลลิลิตร ของ Varian) ดวยเมทานอล (methanol) 0.1 โมลารของกรดไฮโดรคลอริก (HCl) และ 0.1 โมลารของสารละลายแอมโมเนีย (ammonia) โดยใชปริมาตรเปนสองเทาของปริมาตรของคอลัมน แลวจึงตอ cartridge เขากับภาชนะเก็บของเหลวขนาด 15 มิลลิลิตร ใสพลาสมา ซีรั่ม ของผูปวย หรือ พลาสมาที่ใชเปนตัวเปรียบเทียบ (5 มิลลิลิตร) และ ดูดของเหลวดังกลาวโดยการตอ cartridge กับอุปกรณที่ทําใหเกิดสุญญากาศจนกระทั่ง cartridge แหง แลวจึงลาง cartridge ดวย 0.1 โมลารของแอมโมเนีย 1 มิลลิลิตร ปลอยทิ้งไวจนแหง จากนั้นจึงลางสารพาราควอทลงในหลอดทดลองโดยใช 0.1 โมลารของกรดไฮโดรคลอริก 0.8 มิลลิลิตร เติมแอมโมเนียชนิดเขมขน (0.025 มิลลิลิตร) และโซเดียม ไดไทโอไนท (0.1 มิลลิลิตรของ 0.23 โมลาร ใน 4 โมลารของโซเดียม ไฮดรอกไซด) ลงในหลอดทดลอง ผสมใหเขากัน แลวจึงเทสารละลายลงใน semi-microcuvette ขนาด 1 มิลลิลิตร ชนิดใชครั้งเดียวแลวทิ้ง นําไปวัดคาการดูดกลืนแสง (absorbance) โดยใชเครื่อง spectrophotometer จากความยาวคลื่น 490 ถึง 385 นาโนเมตร ผลตางของคาการ ดูดกลืนแสงระหวาง 395 ถึง 460 นาโนเมตร ก็จะนํามาใชในการคํานวณหาความเขมขน ของพาราควอท • เตรียมกราฟมาตรฐาน (standard curve) จากอิออนของสารพาราควอทที่ความเขมขน 0.05 – 1 ไมโครกรัมตอมิลลิลิตร ในตัวอยางที่มีความเขมขนของสารพาราควอทสูง สามารถนํามาวิเคราะหไดโดยใชพลาสมาตัวอยางในปริมาณที่นอยลง ขีดจํากัดต่ําสุด ของการวิเคราะหปริมาณดวยวิธีการนี้อยูที่ 0.045 ไมโครกรัมตอมิลลิลิตร เมื่อใชตัวอยาง 5 มิลลิลิตร • วิธีการนี้สามารถใชไดกับปสสาวะ ซึ่งตองทําใหเปนดางกอน (ดวยการเติมแอมโมเนียชนิดเขมขน 0.025 มิลลิลิตร ลงใน 5 มิลลิลิตร ของปสสาวะ) แลวปนแยกกอนใสลงใน cartridge 21
  • 23. 2.2 การวัดดวยเทคนิค HPLC fluorescence • สามารถตรวจหาสารพาราควอทจากพลาสมาหรือปสสาวะ เมื่อมีความเขมขนต่ําจนถึง 0.001 ไมโครกรัมตอมิลลิลิตรได โดยอาศัยเทคนิค HPLC fluorecence ภายหลังจากการเปลี่ยนสารพาราควอทเปนอนุพันธไดไพโรน (dipyrone) (Blake, et al 2002) 3. การใหคําปรึกษาเกี่ยวกับการวิเคราะหสารพาราควอท Syngenta CTL สามารถใหคําปรึกษาเกียวกับการวิเคราะหสารพาราควอทจากตัวอยางชีวภาพ ่ ผานทาง e-mail address ctltestkitsupply@syngenta.com 22
  • 26. รายละเอียดเพิ่มเติม ถาทานมีปญหาเกี่ยวกับผูปวยภาวะเปนพิษจากพาราควอท ตองการคําแนะนําและ  รายละเอียดเพิมเติมเกียวกับการรักษา โปรดติดตอกับผูมรายนามตอไปนี้ ่ ่ ี 1. นายแพทย สมิง เกาเจริญ 2. นายแพทย วินัย วนานุกูล ศูนยพษวิทยา ชั้น 2 อาคารศูนยการแพทยสิริกิต ิ คณะแพทยศาสตร โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ถนนพระราม 6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทร 02-246-8282, 02-201-1083 2. แพทยหญิง สุดา วรรณประสาท ภาควิชา เภสัชวิทยา คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน อ.เมือง ขอนแกน 40002 โทร 043-348-397 3. นายแพทย สัมมนต โฉมฉาย 4. นายแพทย ธีระ กลลดาเรืองไกร ภาควิชาเวชศาสตรปองกันและสังคม คณะแพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล 2-ถนนพรานนก บางกอกนอย กรุงเทพฯ 10700 โทร 02-419-7284 5. แพทยหญิง จุฬธิดา โฉมฉาย ภาควิชากุมารเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล 25
  • 27. 2-ถนนพรานนก บางกอกนอย กรุงเทพฯ 10700 โทร 02-419-7000 ตอ 5930 6. นายแพทย สุชย สุเทพารักษ ั ภาควิชาอายุรศาสตร คณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทร 02-256-4246 7. ผูจัดการฝายวิชาการ บริษัท ซินเจนทา ครอป โปรเทคชั่น จํากัด ชั้น 18 อาคารลิเบอรตี้สแควร 287 ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทร 02-631-2140 26
  • 28. รายชื่อทางการคาสารกําจัดวัชพืชพาราควอท รายชื่อทางการคาของสารกําจัดวัชพืชพาราควอทที่มีจําหนายในประเทศไทย กรัมม็อกโซน ซิมโซน บราวโซน กรีนลีฟสโซน ซี.พี.โซน บอยโซน กรีนโซน ซีโซน บากาโซน กลาสโซน เซนิโซน บาดีโซน กัปตันโซน เซพวิ่งโซน เบสท-พาโซน เกมสโซน แซนเวท แบนโซน เกรพโซน โซนควิก แบ็ทเทอรโซน โกลมาโซน โซนา โบวโซน คราวนโซน ไซมาโซน ไบรทโซน ควิกเบิรน ไซแอมโซน ไบออส ควอทโซน ดรอปโซน ไบโอโซน คองเคอร เดดโซน โปรฟลดโซน คอรริโซน ทรีลาโซน โปรม็อกโซน คามาโซน ทรีเท็คโซน พาน็อคโซน คายาโซน ทานาโซน พาราควอต คิวโซน ทูโซน พาราควอต 276 เคลียราโซน ท็อบโซน พาราควอต ไดคลอไรด แคพโซน เทพโซน พาราควอท แคร็ปโซน เทรดโซน พาราควอท แคสโซน ไทเกอรโซน พาราริช โครโมโซล ไทโลโซน พีราโซน จังเกิลโซน นนททรีโซน เพอริควอต เจอารโซน นิวมอกโซน เพ็นตาโซน ช็อกโซน นีโอโซน แพ็งโก แชมเปยน นอกโซน โพลีโซน ซาโซน เนเชอรโซน ฟลอราโซน 27
  • 29. ซิบโซน โนเฟยร ฟายลโซน ฟารม็อกโซน เอราโซน ฟารเมอรโซน เอสพีโซน ฟวโก เอิรทโซน ฟูโซน เอเวอรโซน เฟมควอต เอเอโซน เฟรมโซน เอกซตราโซน เฟอรโซน เอ็นโซน มารคโซน เอ็ม.อาร.โซน มีโอโซน เอ็มพาโซน ม็อกกาโซน แองโกลโซน เมเจอรโซน แอลโซน แม็กโซน แอโรโซน ยิบอินโซน แอ็ก-เวลควอต ยูนิโซน แอกกริโซน ยูโนโซน ไอ บี โซน ยูโรโซน ไอยราโซน รันเจโซน เฮ็กตาโซน รูมแนน ิ เรนโซน โรกีตา ลองเชอร ลักเซนโซน เวสโซน เวอรโซน เวิลดโซน ไวโซน อกริโซน ออกาโซน อัพทาโซน อารซีโซน 28
  • 30. เอ.ซีโซน เอกาโซน ที่มา : กรมวิชาการเกษตร(รายชื่อดังกลาวระบุไวเพื่อใหกระทําการตรวจสอบไดอยางรวดเร็ว) รายชื่อโรงพยาบาลที่ไดรับการสนับสนุน Fuller's Earth จาก บริษัท ซินเจนทา ครอป โปรเทคชั่นจํากัด (ขอมูลจนถึงป พ.ศ. 2546) กรุงเทพมหานคร โรงพยาบาลเกษมราษฏร โรงพยาบาลเกษมราษฏร สุขาภิบาล 3 โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ โรงพยาบาลเจาพระยา โรงพยาบาลเซนทรัลเยนเนอรัล โรงพยาบาลเด็ก โรงพยาบาลเปาโลเมโมเรียล โรงพยาบาลเมโย โรงพยาบาลเลิดสิน โรงพยาบาลกรุงเทพ โรงพยาบาลกรุงเทพคริสเตียน โรงพยาบาลกรุณาพิทกษ ั โรงพยาบาลกลาง โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ แผนกยาทุนหมุนเวียน โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ ตึกไอซียู คณะแพทยศาสตร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ ภาควิชาเภสัชวิทยา คณะแพทยศาสตร โรงพยาบาลชุมนุมลาดกระบัง โรงพยาบาลตากสิน โรงพยาบาลตํารวจ โรงพยาบาลธนบุรี โรงพยาบาลธนบุรี 2 (พุทธมณฑลสาย 2) โรงพยาบาลนครธน 29
  • 31. โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี โรงพยาบาลบางนา โรงพยาบาลบางมด โรงพยาบาลพญาไท 1 โรงพยาบาลพระมงกุฎเกลาฯ แผนกอายุรกรรม โรงพยาบาลพระราม 2 โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช อาคารคุมเกลา ชั้น 8/1 โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช ตึกไอซียู อายุรกรรมชั้น 3 โรงพยาบาลภูมพลอดุลยเดช หองอุบัติเหตุ ิ โรงพยาบาลมิชชั่น โรงพยาบาลราชวิถี แผนกเภสัชกรรม โรงพยาบาลราชวิถี หนวยไต แผนกอายุรกรรม โรงพยาบาลรามคําแหง โรงพยาบาลรามาธิบดี ฝายเภสัชกรรม โรงพยาบาลรามาธิบดี ภาควิชากุมารเวชศาสตร โรงพยาบาลรามาธิบดี ภาควิชาอายุรศาสตร โรงพยาบาลวชิรพยาบาล โรงพยาบาลวิชัยยุทธ โรงพยาบาลวิภาวดี 2 โรงพยาบาลศรีวิชัย 1 โรงพยาบาลศรีวิชัย 2 โรงพยาบาลศรีสยาม โรงพยาบาลศิครินทร โรงพยาบาลศิริราช ภาควิชาเวชศาสตรปองกันและสังคม โรงพยาบาลศิริราช ภาควิชากุมารเวชศาสตร โรงพยาบาลศิริราช ภาควิชาอายุรศาสตร โรงพยาบาลสมเด็จพระปนเกลา โรงพยาบาลสมิติเวช โรงพยาบาลสินแพทย 30
  • 32. โรงพยาบาลหนองจอก โรงพยาบาลหัวเฉียว ภาคเหนือ กําแพงเพชร โรงพยาบาลเอกชนเมืองกําแพง โรงพยาบาลไทรงาม โรงพยาบาลกําแพงเพชร โรงพยาบาลขาณุวรลักษณบรี ุ โรงพยาบาลคลองขลุง โรงพยาบาลคลองลาน โรงพยาบาลทรายทองวัฒนา โรงพยาบาลทุงโพธิ์ทะเล โรงพยาบาลบึงสามัคคี โรงพยาบาลปางศิลาทอง โรงพยาบาลพรานกระตาย โรงพยาบาลลานกระบือ เชียงราย โรงพยาบาลเกษมราษฎร ศรีสุรินทร โรงพยาบาลเชียงแสน โรงพยาบาลเชียงของ โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห โรงพยาบาลเทิง โรงพยาบาลเวียงแกน โรงพยาบาลเวียงชัย โรงพยาบาลเวียงปาเปา โรงพยาบาลแมใจ โรงพยาบาลแมจัน โรงพยาบาลแมฟาหลวง โรงพยาบาลแมลาว โรงพยาบาลแมสรวย 31
  • 33. โรงพยาบาลแมสาย โรงพยาบาลโอเวอรบรูค โรงพยาบาลขุนตาล โรงพยาบาลปาแดด โรงพยาบาลพญาเม็งราย โรงพยาบาลพาน เชียงใหม โรงพยาบาลเชียงดาว โรงพยาบาลเวียงแหง โรงพยาบาลแมแจม โรงพยาบาลแมแตง โรงพยาบาลแมคคอรมิค โรงพยาบาลแมดอน โรงพยาบาลแมวาง โรงพยาบาลแมอาย โรงพยาบาลไชยปราการ โรงพยาบาลจอมทอง โรงพยาบาลดอยเตา โรงพยาบาลดอยสะเก็ด โรงพยาบาลนครพิงค โรงพยาบาลฝาง โรงพยาบาลพราว โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม โรงพยาบาลลานนา โรงพยาบาลสะเมิง โรงพยาบาลสันทราย โรงพยาบาลสันปาตอง โรงพยาบาลสารภี โรงพยาบาลหางดง 32
  • 34. โรงพยาบาลอมกอย โรงพยาบาลฮอด สถานบริการสุขภาพพิเศษ มหาวิทยาลัยเชียงใหม ตาก โรงพยาบาลแมระมาด โรงพยาบาลแมสอด โรงพยาบาลทาสองยาง โรงพยาบาลบานตาก โรงพยาบาลพบพระ โรงพยาบาลพะวอ โรงพยาบาลสามเงา โรงพยาบาลอุมผาง นาน โรงพยาบาลเชียงกลาง โรงพยาบาลเวียงสา โรงพยาบาลแมจริม โรงพยาบาลทาวังผา โรงพยาบาลทุงชาง โรงพยาบาลนาน โรงพยาบาลนานอย โรงพยาบาลบานหลวง โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชปว โรงพยาบาลสันติสุข พะเยา โรงพยาบาลเชียงคํา โรงพยาบาลเชียงมวน โรงพยาบาลแมใจ โรงพยาบาลจุน โรงพยาบาลดอกคําใต 33