SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
ฝ่ ายสวัสดิการสังคม
สานักงาน : ตึกวชิรุณหิศ โทรศัพท์ : 4220, 4410, 4411, 4797-8
ลักษณะงาน
ฝ่ายสวัสดิการสังคม ให้บริการด้านการสังคมสงเคราะห์ทางการแพทย์แก่ผู้ป่วย ครอบครัว
กลุ่ม ชุมชน โดยนักสังคมสงเคราะห์วิชาชีพในการใช้ศาสตร์และศิลป์ ทางวิชาชีพ เพื่อป้ องกัน แก้ไข ฟื้นฟู
และพัฒนา ให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ทางสังคม ช่วยเหลือตนเอง ครอบครัว และชุมชนได้ ตลอดจน
สามารถปรับและพัฒนาตนเองให้เข้ากับสภาพแวดล้อม เพื่อสุขภาวะที่ดีในสังคมต่อไป
พันธกิจ
1. การบริการช่วยเหลือด้านเศรษฐกิจ สังคม อารมณ์และจิตใจของผู้ป่วยและครอบครัว
2. การส่งเสริมให้ผู้ป่วยสามารถเข้าถึงสิทธิด้านการรักษาพยาบาลและสวัสดิการสังคม
3. สนับสนุนการบริการทางการแพทย์
4. สนับสนุนและส่งเสริมงานวิชาการสังคมสงเคราะห์และสวัสดิการสังคม
หน้าที่ความรับผิดชอบ
1. งานบริการ
1.1. ให้บริการผู้ป่วยนอก และผู้ป่วยใน ที่ประสบปัญหาเศรษฐกิจ สังคม อารมณ์และจิตใจ ที่
เกี่ยวเนื่องกับสุขภาพ และส่งผลกระทบต่อการรักษาพยาบาลและคุณภาพชีวิต นักสังคมสงเคราะห์จะ
ดาเนินการโดย
1.1.1 ให้การช่วยเหลือผู้ป่วยที่มีปัญหาค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล และค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่จาเป็น
ระหว่างการรักษาพยาบาล
1.1.2 ด้านงานสวัสดิการสาธารณสุข นักสังคมสงเคราะห์จะทาหน้าที่ในการดูแล และดาเนินการ
ในการพิทักษ์สิทธิประโยชน์ด้านการรักษาพยาบาลตามหลักประกันสุขภาพของผู้ป่วย ให้สามารถ
เข้าถึงสิทธิตามที่พึงได้รับ เช่น
- สิทธิบัตรประกันสุขภาพถ้วนหน้า
- สิทธิประกันสังคม
- สิทธิราชการ
- สิทธิตาม พรบ.คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ
- สิทธิกองทุนเงินทดแทนแรงงาน
1.1.3 ด้านการวินิจฉัยและบาบัดทางสังคม โดยใช้กระบวนการทางสังคมสงเคราะห์ในการ
ประเมินวินิจฉัยข้อมูลทางสังคม เพื่อให้ทราบถึงสาเหตุของปัญหา เน้นหลักการมีส่วนร่วมของ
ผู้ใช้บริการและครอบครัว ให้สามารถช่วยเหลือตนเองได้อย่างเหมาะสม
1.1.4 ด้านการเฝ้ าระวังปัญหา เป็นกระบวนการติดตาม สังเกตอย่างสม่าเสมอและต่อเนื่อง ใน
รายที่ประสบปัญหาทางสังคมที่เชื่อมโยงกับสุขภาพ เช่น ผู้ป่วยเด็กและสตรีที่ถูกกระทาทารุณ ผู้
พิการและทุพพลภาพ สตรีตั้งครรภ์ที่ไม่ต้องการบุตร ผู้ป่วยถูกทอดทิ้ง ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้ป่วย
ต่างชาติเข้าเมืองผิดกฏหมาย ฯลฯ โดยมีการร่วมกันดูแลผู้ป่วยเป็นทีมสหสาขา
1.1.5 ด้านการส่งเสริมและฟื้นฟู เป็นกระบวนการให้การช่วยเหลืออย่างต่อเนื่อง โดยมุ่งเน้นให้
ผู้ป่วยและครอบครัว ได้รับการส่งเสริมและฟื้นฟู ทั้งในด้านสุขภาพอนามัย การดูแลตนเอง อาชีพ
และการศึกษา เพื่อให้สามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างเหมาะสม ไม่ก่อให้เกิดปัญหาซ้าในครอบครัว
และสังคม
1.1.6 ด้านการจัดหาและพัฒนาทรัพยากรทางสังคม เป็นการจัดการและพัฒนาทรัพยากรทาง
สังคม ด้านต่างๆ อันได้แก่ บุคคล เครือข่ายทางสังคม ทั้งภาครัฐและเอกชน เงิน วัสดุและสิ่งของ
อุปโภค บริโภค ฯลฯ ในการให้การช่วยเหลือให้ตรงตามสภาพปัญหา ก่อให้เกิดความคุ้มค่าในการ
ใช้ทรัพยากรดังกล่าว
1.2 ด้านการให้บริการชุมชน นักสังคมสงเคราะห์ มีหน้าที่ความรับผิดชอบ ในการพยายามให้ชุมชน
เกิดความตระหนักในปัญหาสังคมด้านต่างๆ ที่ชุมชนเผชิญอยู่ สามารถร่วมมือในการแก้ไขและป้ องกัน
ปัญหา โดยเฉพาะปัญหาทางด้านสุขภาพอนามัยที่มีผลกระทบต่อชุมชน เช่น ปัญหาการแพร่ระบาดของการ
ติดเชื้อ เอช.ไอ.วี เป็นต้น ในปัจจุบันนักสังคมสงเคราะห์ยังมีการประสานงานกับหน่วยงานต่างๆภายนอก
ในการให้บริการ การเป็นวิทยากรเผยแพร่ความรู้ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และการให้การปรึกษา
แนะนา ตลอดจนการรณรงค์ด้านการสร้างเสริมสุขภาพเพื่อการป้ องกันโรค
2. งานวิชาการ
2.1 งานสอนและฝึกภาคปฏิบัติด้านการสังคมสงเคราะห์ทางการแพทย์และงานสวัสดิการสังคมแก่
นักศึกษาสังคมสงเคราะห์ จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
2.2 ร่วมสอนนิสิตแพทย์ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ นิสิตแพทย์เวชปฏิบัติ
2.3 เป็นแหล่งศึกษาดูงานสาหรับผู้ปฏิบัติงานสังคมสงเคราะห์ และผู้สนใจ
2.4 เป็นวิทยากรให้ความรู้ และการปรึกษาแนะนาแก่หน่วยงานต่างๆและชุมชน
2.5 จัดทาโครงการพัฒนาบุคลากรทางสังคมสงเคราะห์ เพื่อให้บุคลากรได้รับความรู้ ทักษะและเทคนิค
ทางสังคมสงเคราะห์เพิ่มเติมอย่างสม่าเสมอ รวมทั้งความรู้ทางวิชาการอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
3. งานบริหาร
3.1 มีการจัดโครงสร้างภายในหน่วยงานที่เอื้อต่อการให้บริการ โดย แบ่งเป็น
- งานบริการ
- งานวิชาการ
- งานบริหาร
- งานพัฒนาคุณภาพ
3.2 มีการจัดเก็บรวบรวมข้อมูลสถิติ เพื่อประโยชน์ในการบริหารจัดการ และการวางแผนงาน
3.3 มีการพัฒนาคุณภาพการให้บริการอย่างต่อเนื่อง ตามมาตรฐานวิชาชีพ
3.4 จัดทานโยบายและแผนยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน กาหนดแนวทางปฏิบัติ ถ่ายทอดสู่ผู้ปฏิบัติงาน
อย่างชัดเจน เป็นระบบ
3.5 มีการทางานที่เกี่ยวข้องกับนโยบายของรัฐและหน่วยงาน
การส่งปรึกษา
1. ผู้ป่ วยนอก ที่มีปัญหาค่ารักษาพยาบาลในวันที่มาตรวจ สามารถแจ้งเจ้าหน้าที่ ณ จุดชาระเงิน เพื่อ
ส่งปรึกษานักสังคมสงเคราะห์ได้โดยผ่านระบบคอมพิวเตอร์ และต้องมีแฟ้ มประวัติการตรวจโรคมาด้วยทุก
ครั้ง หรือกรณีต้องการปรึกษาปัญหาอื่นๆ สามารถติดต่อได้โดยตรง ณ จุดบริการ
2. ผู้ป่ วยใน สามารถส่งปรึกษาได้โดยผ่านระบบคอมพิวเตอร์ได้จากหอผู้ป่วย
เรื่องที่ส่งปรึกษานักสังคมสงเคราะห์
กลุ่มปัญหา ประเด็นปัญหา/บริการที่ให้
1. ปัญหาด้านเศรษฐกิจ - ค่ารักษาพยาบาล ค่าเดินทาง ค่าใช้จ่ายระหว่างการรักษา
- ค่าครองชีพ
- ประสานทุนประกอบอาชีพ ทุนการศึกษา
- พิจารณาเข้าโครงการโรคค่าใช้จ่ายสูงต่างๆ
- จัดหาอุปกรณ์หรือเวชภัณฑ์ เช่น ไม้เท้า เก้าอี้เข็น ฯลฯ
2. ปัญหาการขาดการรักษา เช่น การติดตามผู้ป่วย การค้นหาสาเหตุการรักษา
3. ปัญหาด้านอารมณ์ จิตใจ ให้บริการการปรึกษา ให้กาลังใจ ให้คาแนะนา
4. ปัญหาด้านสิทธิการ
รักษาพยาบาล เช่น สิทธิบัตร
ทอง สิทธิผู้พิการ สิทธิ พรบ.
- สิทธิไม่ถูกต้อง / ไม่มีสิทธิ
- ไม่เข้าใจการใช้สิทธิ
- ไม่มีหลักฐาน / สถานภาพทางกฎหมาย
5. การเฝ้าระวังปัญหา เช่น การเฝ้าระวังการถูกทอดทิ้ง การป้ องกันการถูกกระทาซ้า ฯลฯ
6. การฟื้นฟู เช่น กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังต่างๆ
จุดบริการ
ฝ่ายสวัสดิการสังคม ให้บริการตามวันและเวลาราชการ โดยมีจุดบริการดังนี้คือ
จุดบริการ บริการ โทรติดต่อ
ตึกวชิรุณหิศ - หัวหน้าฝ่ายสวัสดิการสังคม
- งานธุรการ
- ผู้ป่วยใน ( ยกเว้นผู้ป่วยฝ่ายกุมารเวชศาสตร์และ
ฝ่ายสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา )
- ผู้ป่วยหน่วยอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน
- ผู้ป่วยนอก ( คลินิกต่างๆนอกตึกภปร. )
4410
4220/4411
4220/4411/4797-8
ตึกภปร.ชั้น 1 ผู้ป่วยนอกฝ่ายอายุรศาสตร์ 5445
ตึกภปร.ชั้น 3 ผู้ป่วยนอกฝ่ายอายุรศาสตร์ 5398
ตึกภปร.ชั้น 5 ผู้ป่วยนอกฝ่ายออร์โธปิดิกส์และฝ่ายเวชศาสตร์ฟื้นฟู
ผู้ป่วยนอกฝ่ายศัลยศาสตร์
5339
ตึกภปร.ชั้น 7 ผู้ป่วยนอกฝ่ายสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา 5303
ตึกภปร.ชั้น 9 ผู้ป่วยนอกฝ่ายกุมารเวชศาสตร์ 5257
ตึกภปร.ชั้น 11 ผู้ป่วยนอกฝ่ายโสต ศอ นาสิกวิทยาและฝ่ายจักษุวิทยา 5207
ตึกภปร.ชั้น 12 ผู้ป่วยนอกฝ่ายจิตเวชศาสตร์ และฝ่ายทันตกรรม 5178
ตึกสก.ชั้น 10 ผู้ป่วยในฝ่ายกุมารเวชศาสตร์ 3310/4910
ตึกนวมินทราชินี ชั้น 4 ผู้ป่วยในฝ่ายสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา 4806

More Related Content

Viewers also liked

1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยงานพัฒนาบุคลากร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
 
เบิกจ่ายเงินอุดหนุนให้แก่หน่วยงานอื่น
เบิกจ่ายเงินอุดหนุนให้แก่หน่วยงานอื่นเบิกจ่ายเงินอุดหนุนให้แก่หน่วยงานอื่น
เบิกจ่ายเงินอุดหนุนให้แก่หน่วยงานอื่นWiroj Suknongbueng
 
การช่วยเหลือประชาชน
การช่วยเหลือประชาชนการช่วยเหลือประชาชน
การช่วยเหลือประชาชนWiroj Suknongbueng
 
ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ
ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ
ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการWiroj Suknongbueng
 
การจัดงานประเพณีวันสงกรานต์และวันผู้สูงอายุ
การจัดงานประเพณีวันสงกรานต์และวันผู้สูงอายุการจัดงานประเพณีวันสงกรานต์และวันผู้สูงอายุ
การจัดงานประเพณีวันสงกรานต์และวันผู้สูงอายุWiroj Suknongbueng
 
การฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงาน
การฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงานการฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงาน
การฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงานWiroj Suknongbueng
 
คู่มือการจ้างเหมาบริการ
คู่มือการจ้างเหมาบริการคู่มือการจ้างเหมาบริการ
คู่มือการจ้างเหมาบริการChatree Akkharasukbut
 

Viewers also liked (11)

1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
 
เบิกจ่ายเงินอุดหนุนให้แก่หน่วยงานอื่น
เบิกจ่ายเงินอุดหนุนให้แก่หน่วยงานอื่นเบิกจ่ายเงินอุดหนุนให้แก่หน่วยงานอื่น
เบิกจ่ายเงินอุดหนุนให้แก่หน่วยงานอื่น
 
การช่วยเหลือประชาชน
การช่วยเหลือประชาชนการช่วยเหลือประชาชน
การช่วยเหลือประชาชน
 
4.ภาระงาน
4.ภาระงาน4.ภาระงาน
4.ภาระงาน
 
3.หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ายผู้ป่วยนอก
3.หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ายผู้ป่วยนอก3.หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ายผู้ป่วยนอก
3.หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ายผู้ป่วยนอก
 
17.แผนรับสาธารณภัยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
17.แผนรับสาธารณภัยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์17.แผนรับสาธารณภัยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
17.แผนรับสาธารณภัยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
 
1 2-51-452
1 2-51-4521 2-51-452
1 2-51-452
 
ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ
ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ
ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ
 
การจัดงานประเพณีวันสงกรานต์และวันผู้สูงอายุ
การจัดงานประเพณีวันสงกรานต์และวันผู้สูงอายุการจัดงานประเพณีวันสงกรานต์และวันผู้สูงอายุ
การจัดงานประเพณีวันสงกรานต์และวันผู้สูงอายุ
 
การฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงาน
การฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงานการฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงาน
การฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงาน
 
คู่มือการจ้างเหมาบริการ
คู่มือการจ้างเหมาบริการคู่มือการจ้างเหมาบริการ
คู่มือการจ้างเหมาบริการ
 

Similar to 11.ฝ่ายสวัสดิการสังคม

การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชน
การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชนการพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชน
การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชนsoftganz
 
4 คลินิกมาตามนัด
4 คลินิกมาตามนัด4 คลินิกมาตามนัด
4 คลินิกมาตามนัดwptraining
 
Dental public meeting Holiday Inn
Dental public meeting Holiday Inn Dental public meeting Holiday Inn
Dental public meeting Holiday Inn Jitty Chanprasit
 
สวัสดิการผู้สูงอายุ
สวัสดิการผู้สูงอายุสวัสดิการผู้สูงอายุ
สวัสดิการผู้สูงอายุprimpatcha
 
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยsoftganz
 
กลุ่มสังคมศาสตร์
กลุ่มสังคมศาสตร์กลุ่มสังคมศาสตร์
กลุ่มสังคมศาสตร์healthscience
 
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยChuchai Sornchumni
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8nattawad147
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8benty2443
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8wanneemayss
 
ผลงานเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
ผลงานเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ ผลงานเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
ผลงานเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ Nithimar Or
 

Similar to 11.ฝ่ายสวัสดิการสังคม (20)

การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชน
การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชนการพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชน
การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชน
 
District health system
District health systemDistrict health system
District health system
 
Primary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao TPrimary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao T
 
4 คลินิกมาตามนัด
4 คลินิกมาตามนัด4 คลินิกมาตามนัด
4 คลินิกมาตามนัด
 
Dental public meeting Holiday Inn
Dental public meeting Holiday Inn Dental public meeting Holiday Inn
Dental public meeting Holiday Inn
 
Ll101
Ll101Ll101
Ll101
 
Communty diagnosis
Communty diagnosisCommunty diagnosis
Communty diagnosis
 
สวัสดิการผู้สูงอายุ
สวัสดิการผู้สูงอายุสวัสดิการผู้สูงอายุ
สวัสดิการผู้สูงอายุ
 
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
 
กลุ่มสังคมศาสตร์
กลุ่มสังคมศาสตร์กลุ่มสังคมศาสตร์
กลุ่มสังคมศาสตร์
 
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
 
การทำแผนของ Cup ปี 2559
การทำแผนของ Cup ปี 2559การทำแผนของ Cup ปี 2559
การทำแผนของ Cup ปี 2559
 
006 7 cupชนบท
006 7 cupชนบท006 7 cupชนบท
006 7 cupชนบท
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
ผลงานเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
ผลงานเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ ผลงานเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
ผลงานเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
 

More from งานพัฒนาบุคลากร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์

4.10 ระเบียบปฏิบัติงานพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
4.10 ระเบียบปฏิบัติงานพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์4.10 ระเบียบปฏิบัติงานพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
4.10 ระเบียบปฏิบัติงานพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์งานพัฒนาบุคลากร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
 
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยงานพัฒนาบุคลากร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
 

More from งานพัฒนาบุคลากร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ (20)

7.แผนรับสาธารณภัยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
7.แผนรับสาธารณภัยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์7.แผนรับสาธารณภัยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
7.แผนรับสาธารณภัยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
 
6.การปฏิบัติงานระบบเภสัชกรรม
6.การปฏิบัติงานระบบเภสัชกรรม6.การปฏิบัติงานระบบเภสัชกรรม
6.การปฏิบัติงานระบบเภสัชกรรม
 
4.12 ระเบียบหอพักคณะแพทยศาสตร์
4.12 ระเบียบหอพักคณะแพทยศาสตร์4.12 ระเบียบหอพักคณะแพทยศาสตร์
4.12 ระเบียบหอพักคณะแพทยศาสตร์
 
4.11 ระเบียบหอสมุดคณะแพทย์
4.11 ระเบียบหอสมุดคณะแพทย์4.11 ระเบียบหอสมุดคณะแพทย์
4.11 ระเบียบหอสมุดคณะแพทย์
 
4.10 ระเบียบปฏิบัติงานพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
4.10 ระเบียบปฏิบัติงานพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์4.10 ระเบียบปฏิบัติงานพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
4.10 ระเบียบปฏิบัติงานพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
 
4.9 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ฝ่ายสวัสดิการสังคม
4.9 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ฝ่ายสวัสดิการสังคม4.9 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ฝ่ายสวัสดิการสังคม
4.9 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ฝ่ายสวัสดิการสังคม
 
4.8 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ฝ่ายธนาคารเลือด
4.8 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ฝ่ายธนาคารเลือด4.8 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ฝ่ายธนาคารเลือด
4.8 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ฝ่ายธนาคารเลือด
 
4.7 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชารังสิวิทยา
4.7 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชารังสิวิทยา4.7 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชารังสิวิทยา
4.7 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชารังสิวิทยา
 
4.6 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาเวชศาสตร์ชันสุตร
4.6 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาเวชศาสตร์ชันสุตร4.6 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาเวชศาสตร์ชันสุตร
4.6 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาเวชศาสตร์ชันสุตร
 
4.5 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาปรสิตวิทยา
4.5 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาปรสิตวิทยา4.5 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาปรสิตวิทยา
4.5 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาปรสิตวิทยา
 
4.4 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาพยาธิวิทยา
4.4 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาพยาธิวิทยา4.4 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาพยาธิวิทยา
4.4 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาพยาธิวิทยา
 
4.3 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชานิติเวชศาสตร์
4.3 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชานิติเวชศาสตร์4.3 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชานิติเวชศาสตร์
4.3 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชานิติเวชศาสตร์
 
4.2 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาจุลชีววิทยา
4.2 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาจุลชีววิทยา4.2 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาจุลชีววิทยา
4.2 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาจุลชีววิทยา
 
4.1 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ายผู้ป่วยนอก
4.1 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ายผู้ป่วยนอก4.1 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ายผู้ป่วยนอก
4.1 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ายผู้ป่วยนอก
 
3.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
3.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน3.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
3.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
 
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
 
16.การปฏิบัติงานระบบเภสัชกรรม
16.การปฏิบัติงานระบบเภสัชกรรม16.การปฏิบัติงานระบบเภสัชกรรม
16.การปฏิบัติงานระบบเภสัชกรรม
 
14.ระเบียบหอพักคณะแพทยศาสตร์
14.ระเบียบหอพักคณะแพทยศาสตร์14.ระเบียบหอพักคณะแพทยศาสตร์
14.ระเบียบหอพักคณะแพทยศาสตร์
 
13.ระเบียบหอสมุดคณะแพทย์
13.ระเบียบหอสมุดคณะแพทย์13.ระเบียบหอสมุดคณะแพทย์
13.ระเบียบหอสมุดคณะแพทย์
 
12.คำประกาศของผู้ป่วยและคู่มือพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย
12.คำประกาศของผู้ป่วยและคู่มือพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย12.คำประกาศของผู้ป่วยและคู่มือพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย
12.คำประกาศของผู้ป่วยและคู่มือพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย
 

11.ฝ่ายสวัสดิการสังคม

  • 1. ฝ่ ายสวัสดิการสังคม สานักงาน : ตึกวชิรุณหิศ โทรศัพท์ : 4220, 4410, 4411, 4797-8 ลักษณะงาน ฝ่ายสวัสดิการสังคม ให้บริการด้านการสังคมสงเคราะห์ทางการแพทย์แก่ผู้ป่วย ครอบครัว กลุ่ม ชุมชน โดยนักสังคมสงเคราะห์วิชาชีพในการใช้ศาสตร์และศิลป์ ทางวิชาชีพ เพื่อป้ องกัน แก้ไข ฟื้นฟู และพัฒนา ให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ทางสังคม ช่วยเหลือตนเอง ครอบครัว และชุมชนได้ ตลอดจน สามารถปรับและพัฒนาตนเองให้เข้ากับสภาพแวดล้อม เพื่อสุขภาวะที่ดีในสังคมต่อไป พันธกิจ 1. การบริการช่วยเหลือด้านเศรษฐกิจ สังคม อารมณ์และจิตใจของผู้ป่วยและครอบครัว 2. การส่งเสริมให้ผู้ป่วยสามารถเข้าถึงสิทธิด้านการรักษาพยาบาลและสวัสดิการสังคม 3. สนับสนุนการบริการทางการแพทย์ 4. สนับสนุนและส่งเสริมงานวิชาการสังคมสงเคราะห์และสวัสดิการสังคม หน้าที่ความรับผิดชอบ 1. งานบริการ 1.1. ให้บริการผู้ป่วยนอก และผู้ป่วยใน ที่ประสบปัญหาเศรษฐกิจ สังคม อารมณ์และจิตใจ ที่ เกี่ยวเนื่องกับสุขภาพ และส่งผลกระทบต่อการรักษาพยาบาลและคุณภาพชีวิต นักสังคมสงเคราะห์จะ ดาเนินการโดย 1.1.1 ให้การช่วยเหลือผู้ป่วยที่มีปัญหาค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล และค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่จาเป็น ระหว่างการรักษาพยาบาล 1.1.2 ด้านงานสวัสดิการสาธารณสุข นักสังคมสงเคราะห์จะทาหน้าที่ในการดูแล และดาเนินการ ในการพิทักษ์สิทธิประโยชน์ด้านการรักษาพยาบาลตามหลักประกันสุขภาพของผู้ป่วย ให้สามารถ เข้าถึงสิทธิตามที่พึงได้รับ เช่น - สิทธิบัตรประกันสุขภาพถ้วนหน้า - สิทธิประกันสังคม - สิทธิราชการ - สิทธิตาม พรบ.คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ - สิทธิกองทุนเงินทดแทนแรงงาน
  • 2. 1.1.3 ด้านการวินิจฉัยและบาบัดทางสังคม โดยใช้กระบวนการทางสังคมสงเคราะห์ในการ ประเมินวินิจฉัยข้อมูลทางสังคม เพื่อให้ทราบถึงสาเหตุของปัญหา เน้นหลักการมีส่วนร่วมของ ผู้ใช้บริการและครอบครัว ให้สามารถช่วยเหลือตนเองได้อย่างเหมาะสม 1.1.4 ด้านการเฝ้ าระวังปัญหา เป็นกระบวนการติดตาม สังเกตอย่างสม่าเสมอและต่อเนื่อง ใน รายที่ประสบปัญหาทางสังคมที่เชื่อมโยงกับสุขภาพ เช่น ผู้ป่วยเด็กและสตรีที่ถูกกระทาทารุณ ผู้ พิการและทุพพลภาพ สตรีตั้งครรภ์ที่ไม่ต้องการบุตร ผู้ป่วยถูกทอดทิ้ง ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้ป่วย ต่างชาติเข้าเมืองผิดกฏหมาย ฯลฯ โดยมีการร่วมกันดูแลผู้ป่วยเป็นทีมสหสาขา 1.1.5 ด้านการส่งเสริมและฟื้นฟู เป็นกระบวนการให้การช่วยเหลืออย่างต่อเนื่อง โดยมุ่งเน้นให้ ผู้ป่วยและครอบครัว ได้รับการส่งเสริมและฟื้นฟู ทั้งในด้านสุขภาพอนามัย การดูแลตนเอง อาชีพ และการศึกษา เพื่อให้สามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างเหมาะสม ไม่ก่อให้เกิดปัญหาซ้าในครอบครัว และสังคม 1.1.6 ด้านการจัดหาและพัฒนาทรัพยากรทางสังคม เป็นการจัดการและพัฒนาทรัพยากรทาง สังคม ด้านต่างๆ อันได้แก่ บุคคล เครือข่ายทางสังคม ทั้งภาครัฐและเอกชน เงิน วัสดุและสิ่งของ อุปโภค บริโภค ฯลฯ ในการให้การช่วยเหลือให้ตรงตามสภาพปัญหา ก่อให้เกิดความคุ้มค่าในการ ใช้ทรัพยากรดังกล่าว 1.2 ด้านการให้บริการชุมชน นักสังคมสงเคราะห์ มีหน้าที่ความรับผิดชอบ ในการพยายามให้ชุมชน เกิดความตระหนักในปัญหาสังคมด้านต่างๆ ที่ชุมชนเผชิญอยู่ สามารถร่วมมือในการแก้ไขและป้ องกัน ปัญหา โดยเฉพาะปัญหาทางด้านสุขภาพอนามัยที่มีผลกระทบต่อชุมชน เช่น ปัญหาการแพร่ระบาดของการ ติดเชื้อ เอช.ไอ.วี เป็นต้น ในปัจจุบันนักสังคมสงเคราะห์ยังมีการประสานงานกับหน่วยงานต่างๆภายนอก ในการให้บริการ การเป็นวิทยากรเผยแพร่ความรู้ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และการให้การปรึกษา แนะนา ตลอดจนการรณรงค์ด้านการสร้างเสริมสุขภาพเพื่อการป้ องกันโรค 2. งานวิชาการ 2.1 งานสอนและฝึกภาคปฏิบัติด้านการสังคมสงเคราะห์ทางการแพทย์และงานสวัสดิการสังคมแก่ นักศึกษาสังคมสงเคราะห์ จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 2.2 ร่วมสอนนิสิตแพทย์ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ นิสิตแพทย์เวชปฏิบัติ 2.3 เป็นแหล่งศึกษาดูงานสาหรับผู้ปฏิบัติงานสังคมสงเคราะห์ และผู้สนใจ 2.4 เป็นวิทยากรให้ความรู้ และการปรึกษาแนะนาแก่หน่วยงานต่างๆและชุมชน 2.5 จัดทาโครงการพัฒนาบุคลากรทางสังคมสงเคราะห์ เพื่อให้บุคลากรได้รับความรู้ ทักษะและเทคนิค ทางสังคมสงเคราะห์เพิ่มเติมอย่างสม่าเสมอ รวมทั้งความรู้ทางวิชาการอื่นๆที่เกี่ยวข้อง 3. งานบริหาร 3.1 มีการจัดโครงสร้างภายในหน่วยงานที่เอื้อต่อการให้บริการ โดย แบ่งเป็น
  • 3. - งานบริการ - งานวิชาการ - งานบริหาร - งานพัฒนาคุณภาพ 3.2 มีการจัดเก็บรวบรวมข้อมูลสถิติ เพื่อประโยชน์ในการบริหารจัดการ และการวางแผนงาน 3.3 มีการพัฒนาคุณภาพการให้บริการอย่างต่อเนื่อง ตามมาตรฐานวิชาชีพ 3.4 จัดทานโยบายและแผนยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน กาหนดแนวทางปฏิบัติ ถ่ายทอดสู่ผู้ปฏิบัติงาน อย่างชัดเจน เป็นระบบ 3.5 มีการทางานที่เกี่ยวข้องกับนโยบายของรัฐและหน่วยงาน การส่งปรึกษา 1. ผู้ป่ วยนอก ที่มีปัญหาค่ารักษาพยาบาลในวันที่มาตรวจ สามารถแจ้งเจ้าหน้าที่ ณ จุดชาระเงิน เพื่อ ส่งปรึกษานักสังคมสงเคราะห์ได้โดยผ่านระบบคอมพิวเตอร์ และต้องมีแฟ้ มประวัติการตรวจโรคมาด้วยทุก ครั้ง หรือกรณีต้องการปรึกษาปัญหาอื่นๆ สามารถติดต่อได้โดยตรง ณ จุดบริการ 2. ผู้ป่ วยใน สามารถส่งปรึกษาได้โดยผ่านระบบคอมพิวเตอร์ได้จากหอผู้ป่วย เรื่องที่ส่งปรึกษานักสังคมสงเคราะห์ กลุ่มปัญหา ประเด็นปัญหา/บริการที่ให้ 1. ปัญหาด้านเศรษฐกิจ - ค่ารักษาพยาบาล ค่าเดินทาง ค่าใช้จ่ายระหว่างการรักษา - ค่าครองชีพ - ประสานทุนประกอบอาชีพ ทุนการศึกษา - พิจารณาเข้าโครงการโรคค่าใช้จ่ายสูงต่างๆ - จัดหาอุปกรณ์หรือเวชภัณฑ์ เช่น ไม้เท้า เก้าอี้เข็น ฯลฯ 2. ปัญหาการขาดการรักษา เช่น การติดตามผู้ป่วย การค้นหาสาเหตุการรักษา 3. ปัญหาด้านอารมณ์ จิตใจ ให้บริการการปรึกษา ให้กาลังใจ ให้คาแนะนา 4. ปัญหาด้านสิทธิการ รักษาพยาบาล เช่น สิทธิบัตร ทอง สิทธิผู้พิการ สิทธิ พรบ. - สิทธิไม่ถูกต้อง / ไม่มีสิทธิ - ไม่เข้าใจการใช้สิทธิ - ไม่มีหลักฐาน / สถานภาพทางกฎหมาย 5. การเฝ้าระวังปัญหา เช่น การเฝ้าระวังการถูกทอดทิ้ง การป้ องกันการถูกกระทาซ้า ฯลฯ 6. การฟื้นฟู เช่น กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังต่างๆ
  • 4. จุดบริการ ฝ่ายสวัสดิการสังคม ให้บริการตามวันและเวลาราชการ โดยมีจุดบริการดังนี้คือ จุดบริการ บริการ โทรติดต่อ ตึกวชิรุณหิศ - หัวหน้าฝ่ายสวัสดิการสังคม - งานธุรการ - ผู้ป่วยใน ( ยกเว้นผู้ป่วยฝ่ายกุมารเวชศาสตร์และ ฝ่ายสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา ) - ผู้ป่วยหน่วยอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน - ผู้ป่วยนอก ( คลินิกต่างๆนอกตึกภปร. ) 4410 4220/4411 4220/4411/4797-8 ตึกภปร.ชั้น 1 ผู้ป่วยนอกฝ่ายอายุรศาสตร์ 5445 ตึกภปร.ชั้น 3 ผู้ป่วยนอกฝ่ายอายุรศาสตร์ 5398 ตึกภปร.ชั้น 5 ผู้ป่วยนอกฝ่ายออร์โธปิดิกส์และฝ่ายเวชศาสตร์ฟื้นฟู ผู้ป่วยนอกฝ่ายศัลยศาสตร์ 5339 ตึกภปร.ชั้น 7 ผู้ป่วยนอกฝ่ายสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา 5303 ตึกภปร.ชั้น 9 ผู้ป่วยนอกฝ่ายกุมารเวชศาสตร์ 5257 ตึกภปร.ชั้น 11 ผู้ป่วยนอกฝ่ายโสต ศอ นาสิกวิทยาและฝ่ายจักษุวิทยา 5207 ตึกภปร.ชั้น 12 ผู้ป่วยนอกฝ่ายจิตเวชศาสตร์ และฝ่ายทันตกรรม 5178 ตึกสก.ชั้น 10 ผู้ป่วยในฝ่ายกุมารเวชศาสตร์ 3310/4910 ตึกนวมินทราชินี ชั้น 4 ผู้ป่วยในฝ่ายสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา 4806