SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
Download to read offline
Chapter 8
การผลิตสื่อกราฟิก
เพื่อการเรียนการสอน
สถานการณ์ปัญหา(Problem-based learning)
ในคาบเรียนนี้นักศึกษาได้รับหน้าที่ในการเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบวัสดุ
กราฟิก ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ประจาอยู่ที่คลินิก รับปรึกษาปัญหาการผลิตสื่อ ซึ่งในวันนี้ก็
มีคุณครู 5 คน เข้ามาปรึกษากับคุณ ซึ่งประกอบด้วย คุณครูแดน ต้องการนา
เสนอเนื้อหาที่มีความสัมพันธ์ตั้งแต่ 2 สิ่งขึ้นไป และเนื้อหามีความเป็นนามธรรม ซึ่ง
ครูแดนต้องการให้นักเรียนได้ความคิดรวบยอด (Concept) ของเรื่องที่สอน และช่วย
ในการสรุปเนื้อหาที่สอน
คุณครูรุท เป็น ครูสอนวิชาคอมพิวเตอร์และในการสอนวันนี้ต้องการให้
นักเรียนเข้าใจถึงระบบการทางานของระบบการทางานของคอมพิวเตอร์ และ
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
คุณครูอั้ม เป็นครูฝ่ายวิชาการของโรงเรียน ซึ่งจะต้องทาหน้าที่การสรุปสถิติ
จานวนนักเรียนทุกระดับชั้น(ม.1 - ม.6) และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
ทุกภาคการศึกษา เพื่อแสดงให้บุคลากรในโรงเรียนและบุคคลทั่วไปทราบ
คุณครูพอลล่า เป็นครูที่สอนในระดับอนุบาล ซึ่งต้องการเร้าความสนใจ
ของนักเรียนให้นักเรียนเกิดความสนุกสนานและเกิดจินตนาการ
คุณครูศรราม เป็นครูฝ่ายปกครอง ซึ่งต้องการประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้
นักเรียนหันมาเล่นกีฬา และให้นักเรียนห่างไกลยาเสพย์ติด
ภารกิจ 1.เลือกสื่อวัสดุกราฟิกที่เหมาะสมการลักษณะความต้องการของ
คุณครูแต่ละคน พร้อมอธิบายเหตุผลในการเลือกและคุณลักษณะของ
วัสดุกราฟิกที่สาคัญที่เลือกใช้
คุณครูแดน ต้องการนาเสนอเนื้อหาที่มีความสัมพันธ์ตั้งแต่ 2 สิ่งขึ้นไป และเนื้อหา
มีความเป็นนามธรรม ซึ่งครูแดนต้องการให้นักเรียนได้ความคิดรวบยอด
(Concept) ของเรื่องที่สอน และช่วยในการสรุปเนื้อหาที่สอน
การ์ตูน เพราะใช้ในการอธิบายเรื่องราวต่างๆ ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนไม่เกิดความเบื่อ
หน่าย ในการเรียน และเกิดการเรียนรูได้ดีเพราะมีภาพประกอบ ทาให้สิ่งที่เป็น
นามธรรม เป็นรูปธรรมที่น่าสนใจ ใช้สรุปบทเรียน จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถจดจา
ในเนื้อหาบทเรียนได้ดียิ่งขึ้น
คุณลักษณะของการ์ตูนที่สาคัญที่เลือกใช้
1. ใช้นาเข้าสู่บทเรียน เพราะการ์ตูนจะช่วยเร้าความสนใจและดึงดูดให้ผู้เรียน สนใจใน
กิจกรรมการเรียนนั้น
2 .ใช้ในการอธิบายเรื่องราวต่างๆ ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนไม่เกิดความเบื่อหน่าย ในการ
เรียน และเกิดการเรียนรูได้ดีเพราะมีภาพประกอบ ทาให้สิ่งที่เป็นนามธรรม เป็น
รูปธรรมที่น่าสนใจ
3. ใช้สรุปบทเรียน จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถจดจาในเนื้อหาบทเรียนได้ดียิ่งขึ้น
4. ใช้การ์ตูนกับการเรียนเป็นรายบุคคล ช่วยเด็กที่มีความสามารถทางการเรียนต่า
เพราะการ์ตูนจะช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนสนใจและมีความต้องการที่จะศึกษาเพิ่มขึ้น
5. การ์ตูนประกอบการศึกษา เป็นการ์ตูนที่ใช้ประกอบกิจกรรมการเรียนการสอน
และการศึกษา เพื่อช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดียิ่งขึ้น
คุณครูรุท เป็น ครูสอนวิชาคอมพิวเตอร์และในการสอนวันนี้ต้องการให้นักเรียน
เข้าใจถึงระบบการทางานของระบบการทางานของคอมพิวเตอร์ และส่วนประกอบ
ของคอมพิวเตอร์
แผนภาพ
แผนภาพเป็นภาพลายเส้นหรือทัศนสัญลักษณ์ที่แสดงเค้าโครงของวัตถุ โครงสร้างที่
สาคัญของสิ่งที่เราจะอธิบายให้ง่ายขึ้น แผนภาพสื่อความหมายได้ดี การใช้แผนภาพถ้า
ใช้คู่กับของจริง จะทาให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น
คุณลักษณะของแผนภาพที่สาคัญที่เลือกใช้
1. อธิบายเรื่องราวที่ยากแก่การเข้าใจ
2. แสดงให้เห็นความสาคัญของส่วนประกอบต่างๆในเรื่องที่อธิบาย
3. แสดงให้เห็นกระบวนการของสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้เข้าใจง่ายขึ้น
คุณครูอั้ม เป็นครูฝ่ายวิชาการของโรงเรียน ซึ่งจะต้องทาหน้าที่การสรุปสถิติจานวน
นักเรียนทุกระดับชั้น(ม.1 - ม.6) และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนทุกภาค
การศึกษา เพื่อแสดงให้บุคลากรในโรงเรียนและบุคคลทั่วไปทราบ
แผนสถิติ
เป็นแผนภูมิที่เหมาะกับเนื้อหาที่แสดงการเปรียบเทียบระหว่างจานวน ตัวเลขของ
สิ่งต่างๆ ซึ่งจะช่วยให้มองเห็นข้อมูลได้อย่างชัดเจนและสะดวกที่สุด
1. แผนสถิติแบบเส้น สามารถแสดงข้อมูล ข้อเท็จจริงได้ถูกต้องกว่าแบบอื่นๆ
เหมาะสาหรับใช้แสดงข้อมูล ที่มีความสัมพันธ์กัน 2 มาตรา โดยเฉพาะระหว่าง
มาตราจานวน หรือปริมาณกับเวลาที่เดียวกับปริมาณนั้นๆ โดยที่แกนนอนแสดง
เวลา แกนตั้งแสดงจานวน เมื่อลากเส้นระหว่างจุดเหล่านั้นแล้ว ทาให้รู้ถึงแนวโน้ม
ของข้อมูลใหม่
2. แผนสถิติแบบแท่ง เป็นแผนสถิติที่ทาง่ายและ อ่านเข้าใจง่ายกว่าแบบอื่น เหมาะ
สาหรับเปรียบเทียบ ข้อมูลหลายชนิด มีลักษณะความยาวของแท่งปริมาณข้อมูล
ถ้าข้อมูลน้อย แท่งจะสั้นถ้าข้อมูลมากแท่งจะยาว ความกว้างมีขนาดเท่ากัน แกนตั้ง
และแกนนอน จะเปรียบเทียบข้อมูล 2 ประเภทที่เกิดขึ้นในเวลาเดียวกัน
3. แผนสถิติแบบวงกลม เป็นแผนสถิติที่แสดงให้เห็นปริมาณหรือจานวนข้อมูล
ส่วนรวมทั้งหมด กับส่วนย่อย โดยแบ่งมุมที่จุดศูนย์กลางของวงกลมออกเป็นองศา
ตามสัดส่วนของจานวนข้อมูลที่แสดง เช่น การแสดงรายจ่ายของนักศึกษา
ประจาเดือน เป็นต้น
4. แผนสถิติแบบรูปภาพ เป็นแผนสถิติแบบแท่งอีกประเภทหนึ่ง แต่ใช้รูปภาพแทน
แท่งในการแสดงจานวนหรือปริมาณ
ของ ข้อมูล โดยกาหนดสัดส่วนปริมาณของข้อมูล: รูปภาพ 1 รูป
คุณครูพอลล่า เป็นครูที่สอนในระดับอนุบาล ซึ่งต้องการเร้าความสนใจของนักเรียน
ให้นักเรียนเกิดความสนุกสนานและเกิดจินตนาการ
การ์ตูน เป็นภาพลายเส้น ซึ่งแสดงสัญลักษณ์ของเรื่องราวต่างๆตลอดจน สามารถ
ถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิด จินตนาการของผู้วาดเพราะการ์ตูนเป็นสื่อที่เหมาะสาหรับ
ถ่ายทอดความคิด ทั้งในด้านการเมือง การศึกษา ศาสนา การประชาสัมพันธ์ เป็น
ต้น
คุณครูศรราม เป็นครูฝ่ายปกครอง ซึ่งต้องการประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้นักเรียน
หันมาเล่นกีฬา และให้นักเรียนห่างไกลยาเสพย์ติด
ภาพโฆษณา เพราะจะช่วยกระตุ้นให้ ผู้ชม หรือผู้อ่านเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
ตามจุดประสงค์ของภาพโฆษณา นั้นๆ อาจจะเกิดขึ้นช้าหรือเร็วก็ตาม
ลักษณะภาพโฆษณา
1. มีแนวคิดเดียว มีลักษณะที่เข้าใจง่าย สามารถสื่อความหมายได้ทันที ไม่ต้อง
เสียเวลา ในการพิจารณา ทาความเข้าใจเลย จะเป็นการสูญเปล่า
2. สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ในการจัดทา มีการจัดองค์ประกอบ เหมาะสมทั้ง
ขนาด และรูปภาพประกอบตัวอักษร สัญลักษณ์ มีความสอดคล้องกัน คือ รูปภาพ
ข้อความสั้น ที่กะทัดรัด ชัดเจน เพื่อช่วยให้เข้าใจได้ง่าย
3. ดึงดูดความสนใจของผู้ดู มีความแปลกใหม่น่าสนใจ มีการโน้มน้าว เชิญชวนที่พึง
กระทาตามเช่น หญิงก็ได้ ชายก็ดี มีแค่สอง
ภารกิจ 2. ออกแบบการนาเสนอข้อมูล โดยใช้คุณลักษณะ
ของวัสดุกราฟิกที่สอดคล้องกับเนื้อหาวิชาในสาระการเรียนรู้
วิชาเอกของคุณ
แผนภูมิ
มีประโยชน์ในการนามาใช้ในการเรียนการสอนที่ช่วย
ประกอบการอธิบายของครูให้เป็นรูปธรรมมากขึ้น ทั้งยังช่วยกระตุ้นให้
ผู้เรียนต้องการที่จะค้นคว้าหาความรู้เพิ่มขึ้น และช่วยสร้างปัญหาและ
กระตุ้นให้ผู้เรียนได้ใช้ความคิด นอกจากนี้ผู้สอนสามารถใช้แผนภูมิใน
การสรุปหรือทบทวนบทเรียน
แผนภูมิแบบตาราง ใช้แสดงความสัมพันธ์ระหว่างเวลากับเหตุการณ์ ที่เกิดขึ้นใน
ลักษณะตาราง เพื่อให้ดูแล้วเข้าใจได้ง่าย
แผนภูมิแบบองค์การ และแบบกระบวนการ เป็นแผนภูมิที่เหมาะกับเนื้อหาที่
แสดงขั้นตอนหรือลาดับในการปฏิบัติงาน
แผนภูมิแบบต้นไม้และลาธาร เป็นแผนภูมิที่นาเสนอเรื่องราวที่เป็นภาพรวมหรือ
ความคิดรวบยอด หรือต้นกาเนิดที่สามารถแยกย่อยออกไปหรือแตกสาขาออกไป
เหมือนต้นไม้ ส่วนแบบลาธารเป็นการแสดงเนื้อหาที่ให้เห็นส่วนย่อยหลายสาขาที่
แยกออกจากต้นกาเนิดเดียวกัน
แผนภูมิแบบอธิบายภาพ เป็นแผนภูมิที่ใช้สาหรับอธิบายส่วนต่างๆของภาพที่
ต้องการโดยเขียนเส้นโยงกับคาอธิบายสั้นๆ
แผนสถิต
เป็นแผนภูมิที่เหมาะกับเนื้อหาที่แสดงการเปรียบเทียบ
ระหว่างจานวน ตัวเลขของสิ่งต่างๆ เช่น จานวนนักเรียนในแต่ละปี
การศึกษา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนในแต่ละระดับชั้น
แผนสถิติแบบเส้น สามารถแสดงข้อมูล ข้อเท็จจริงได้ถูกต้องกว่าแบบอื่นๆเหมาะ
สาหรับใช้แสดงข้อมูล ที่มีความสัมพันธ์กัน 2 มาตรา โดยเฉพาะระหว่างมาตรา
จานวน หรือปริมาณกับเวลาที่เดียวกับปริมาณนั้นๆ โดยที่แกนนอนแสดงเวลา
แกนตั้งแสดงจานวน เมื่อลากเส้นระหว่างจุดเหล่านั้นแล้ว ทาให้รู้ถึงแนวโน้มของ
ข้อมูลใหม่
แผนสถิติแบบแท่ง เป็นแผนสถิติที่ทาง่ายและ อ่านเข้าใจง่ายกว่าแบบอื่น เหมาะ
สาหรับเปรียบเทียบ ข้อมูลหลายชนิด มีลักษณะความยาวของแท่งปริมาณข้อมูล ถ้า
ข้อมูลน้อย แท่งจะสั้น ถ้าข้อมูลมากแท่งจะยาว ความกว้างมีขนาดเท่ากัน แกนตั้งและ
แกนนอน จะเปรียบเทียบข้อมูล 2 ประเภทที่เกิดขึ้นในเวลาเดียวกัน
แผนสถิติแบบวงกลม เป็นแผนสถิติที่แสดงให้เห็นปริมาณหรือจานวนข้อมูล
ส่วนรวมทั้งหมด กับส่วนย่อย โดยแบ่งมุมที่จุดศูนย์กลางของวงกลมออกเป็น
องศาตามสัดส่วนของจานวนข้อมูลที่แสดง
แผนสถิติแบบรูปภาพ เป็นแผนสถิติแบบแท่งอีกประเภทหนึ่ง แต่ใช้รูปภาพแทน
แท่งในการแสดงจานวนหรือปริมาณ ของ ข้อมูล โดยกาหนดสัดส่วนปริมาณของ
ข้อมูล: รูปภาพ 1 รูป
การ์ตูน
ผู้จัดทา
นางสาวชนาทิพย์ นครังสุ รหัส 553050065-3
นางสาววิภารัตน์ ขานเกตุ รหัส 553050099-6
นางสาวช่อผกา นาค-อก รหัส 553050281-7
นายณรงค์ฤทธิ์ บัวใหญ่ รหัส 553050283-3
รายวิชา
241203 Innovation And Information Technology
For Learning
sec.2

More Related Content

What's hot

การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนการผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนFern's Supakyada
 
บทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนjanepi49
 
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนTeerasak Nantasan
 
Chapter 8
Chapter 8Chapter 8
Chapter 8FerNews
 
Chapter8 การผลิตกราฟิกเพื่อการศึกษา (งานกลุ่ม)
Chapter8 การผลิตกราฟิกเพื่อการศึกษา (งานกลุ่ม)Chapter8 การผลิตกราฟิกเพื่อการศึกษา (งานกลุ่ม)
Chapter8 การผลิตกราฟิกเพื่อการศึกษา (งานกลุ่ม)Pronsawan Petklub
 
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอนThamonwan Kottapan
 

What's hot (15)

Chapter 8
Chapter  8Chapter  8
Chapter 8
 
Chapter 8
Chapter 8Chapter 8
Chapter 8
 
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนการผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
 
บทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
 
Chapter.8
Chapter.8Chapter.8
Chapter.8
 
Chapter8
Chapter8Chapter8
Chapter8
 
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
 
Chapter 8
Chapter 8Chapter 8
Chapter 8
 
C hapter 8 ppt
C hapter 8 pptC hapter 8 ppt
C hapter 8 ppt
 
Chapter8
Chapter8Chapter8
Chapter8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
Chapter8 การผลิตกราฟิกเพื่อการศึกษา (งานกลุ่ม)
Chapter8 การผลิตกราฟิกเพื่อการศึกษา (งานกลุ่ม)Chapter8 การผลิตกราฟิกเพื่อการศึกษา (งานกลุ่ม)
Chapter8 การผลิตกราฟิกเพื่อการศึกษา (งานกลุ่ม)
 
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
Chapter 8 pdf
Chapter 8 pdfChapter 8 pdf
Chapter 8 pdf
 

Similar to Chapter 8การผลิต สื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน

บทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนSattakamon
 
บทที่8 การผลิตกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8 การผลิตกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่8 การผลิตกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8 การผลิตกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนKanatip Sriwarom
 
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChanissata Rakkhuamsue
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Pari Za
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Pari Za
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Pari Za
 

Similar to Chapter 8การผลิต สื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน (17)

Chapter 8
Chapter 8Chapter 8
Chapter 8
 
Chapter 8
Chapter 8Chapter 8
Chapter 8
 
Chapter 8
Chapter 8Chapter 8
Chapter 8
 
Chapter.8
Chapter.8Chapter.8
Chapter.8
 
Inno present chapt8
Inno present chapt8Inno present chapt8
Inno present chapt8
 
Chap.8 (problem)
Chap.8 (problem)Chap.8 (problem)
Chap.8 (problem)
 
Chap.8 (problem)
Chap.8 (problem)Chap.8 (problem)
Chap.8 (problem)
 
Chap.8 (problem)
Chap.8 (problem)Chap.8 (problem)
Chap.8 (problem)
 
บทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
 
บทที่8 การผลิตกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8 การผลิตกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่8 การผลิตกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8 การผลิตกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
 
บทท 8
บทท  8บทท  8
บทท 8
 
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
 
Innovation chapter 8
Innovation chapter 8Innovation chapter 8
Innovation chapter 8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทท 8
บทท   8บทท   8
บทท 8
 

More from Dexdum Ch

นว ตกรรมมมม
นว ตกรรมมมมนว ตกรรมมมม
นว ตกรรมมมมDexdum Ch
 

More from Dexdum Ch (7)

Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
Chapter7
Chapter7 Chapter7
Chapter7
 
บทท 6
บทท   6บทท   6
บทท 6
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
Single dad
Single dadSingle dad
Single dad
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
นว ตกรรมมมม
นว ตกรรมมมมนว ตกรรมมมม
นว ตกรรมมมม
 

Chapter 8การผลิต สื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน