SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
1
บทที่ 1
บทนํา
ที่มาและความสําคัญ
โดยทั่วไปแลวรายวิชาคณิตศาสตรมีลักษณะเปนนามธรรม มีโครงสรางที่ประกอบดวย
คํานิยาม บทนิยาม สัจพจน ที่เปนขอตกลงเบื้องตน จากนั้นจึงใชการใหเหตุผลที่สมเหตุสมผลสราง
ทฤษฎีบทตาง ๆ ขึ้นและนําไปใชอยางเปนระบบ คณิตศาสตรมีความถูกตองเที่ยงตรง คงเสนคงวา
มีระเบียบแบบแผนเปนเหตุเปนผล และมีความสมบูรณในตัวเอง หรือกลาวไดวาคณิตศาสตรเปน
ศาสตรและศิลปที่ศึกษาเกี่ยวกับแบบรูปและความสัมพันธ เพื่อใหไดขอสรุปและนําไปใช
ประโยชน คณิตศาสตรมีลักษณะเปนภาษาสากลที่ทุกคนเขาใจตรงกันในการสื่อสาร (สถาบัน
สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. 2544 : 2) สามารถนําประสบการณทางดานความรู
ความคิดและทักษะที่ไดไปใชในการเรียนรูสิ่งตาง ๆ และใชในชีวิตประจําวัน
ในการเรียนคณิตศาสตรมีบทนิยาม ทฤษฏีบท และสูตรตาง ๆ มาใชอยางหลากหลาย
โดยเฉพาะอยางยิ่งในรายวิชาคณิตศาสตรของระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย รวมการประยุกตกับ
เรื่องอื่น ๆ ความรูความเขาใจจะเปนพื้นฐานที่สําคัญในการเรียนตอในระดับที่สูงขึ้น
จากการศึกษาการใหเหตุผลแบบตางๆ โดยเฉพาะ “ การใหเหตุผลแบบอุปนัย ” ทําใหเกิด
ความสนใจเปนอยางมาก และไดเกิดขอสงสัยตางๆ มากมายเกี่ยวกับตัวเลข ที่นํามาปฏิบัติการทาง
คณิตศาสตรแลวทําใหลักษณะของตัวเลขในแบบตางๆ มีความแปลก มีลักษณะเฉพาะตัว คณะ
ผูจัดทําจึงไดรวมมือกันศึกษาคนควาเรื่อง “ การใหเหตุผลแบบอุปนัย ” จากแหลงการเรียนรูตางๆ
เมื่อมีความเขาใจดีแลวคณะผูจัดทําจึงอยากที่จะเผยแพรความรูนี้ใหกับผูที่สนใจ จึงไดจัดทํา
โครงงานนี้ขึ้น ทั้งนี้ นอกจากจะเปนการเผยแพรความรู ความชํานาญ ใหแกผูที่สนใจแลว ยังเปน
การสรางสื่อในการเรียนการสอนอีกดวย
2
วัตถุประสงค
1. เพื่อนําเรื่องการใหเหตุผลไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน
2. เพื่อใหมีความรูเกี่ยวกับการทําโครงงานและการใหเหตุผลแบบอุปนัย เพิ่มขึ้น
ขอบเขตของการศึกษา
ขอบเขตในการศึกษาครั้งนี้ คือ การใหเหตุผลแบบอุปนัย ระยะเวลาในการศึกษา ระหวาง
วันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 ถึงวันที่ 20 กุมภาพันธ พ.ศ. 2559
ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ
1. เกิดความรูความเขาใจในเรื่องการใหเหตุผลแบบอุปนัยมากขึ้น
2. ไดนําความรูไปเผยแพรใหแกผูอื่น
3. สามารถนําไปประยุกตใชในชีวิตประจําวันได

More Related Content

What's hot

โครงงานประเภทการสร้างทฤษฎี
โครงงานประเภทการสร้างทฤษฎีโครงงานประเภทการสร้างทฤษฎี
โครงงานประเภทการสร้างทฤษฎีTanyaporn Puttawan
 
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆการเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆJintana Kujapan
 
โครงงานคณิตศาสตร์ มุม
โครงงานคณิตศาสตร์ มุมโครงงานคณิตศาสตร์ มุม
โครงงานคณิตศาสตร์ มุมchanaruk
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์Tanakorn Pansupa
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...พิทักษ์ ทวี
 

What's hot (17)

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
01 เซต บทนำ
01 เซต บทนำ01 เซต บทนำ
01 เซต บทนำ
 
แผ่นพับ
แผ่นพับแผ่นพับ
แผ่นพับ
 
โครงงานประเภทการสร้างทฤษฎี
โครงงานประเภทการสร้างทฤษฎีโครงงานประเภทการสร้างทฤษฎี
โครงงานประเภทการสร้างทฤษฎี
 
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆการเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
 
โครงงานคณิตศาสตร์ มุม
โครงงานคณิตศาสตร์ มุมโครงงานคณิตศาสตร์ มุม
โครงงานคณิตศาสตร์ มุม
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์
 
91 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่4_เส้นตรงล้อมเส้นโค้ง
91 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่4_เส้นตรงล้อมเส้นโค้ง91 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่4_เส้นตรงล้อมเส้นโค้ง
91 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่4_เส้นตรงล้อมเส้นโค้ง
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
 
โครงงาน1 - 5
โครงงาน1 - 5          โครงงาน1 - 5
โครงงาน1 - 5
 
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่390 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
 
89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
 
แผ่นพับ
แผ่นพับแผ่นพับ
แผ่นพับ
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการ
 
73 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนำ
73 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนำ73 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนำ
73 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนำ
 
แผนการสอน
แผนการสอนแผนการสอน
แผนการสอน
 
Plan 1
Plan 1Plan 1
Plan 1
 

Similar to โครงงานคณิตบทที่ 10

ข้อสอบ O net สังคม ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net สังคม ป.3 ชุด 1ข้อสอบ O net สังคม ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net สังคม ป.3 ชุด 1Anawat Supappornchai
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์supanyasaengpet
 
นวนิยาย(วราภรณ์)(1)
นวนิยาย(วราภรณ์)(1)นวนิยาย(วราภรณ์)(1)
นวนิยาย(วราภรณ์)(1)Mu Koy
 
9789740330349
97897403303499789740330349
9789740330349CUPress
 
การวิเคราะห์สารสนเทศ ตอนที่ 1
การวิเคราะห์สารสนเทศ ตอนที่ 1การวิเคราะห์สารสนเทศ ตอนที่ 1
การวิเคราะห์สารสนเทศ ตอนที่ 1bensee
 
เรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมายเรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมายjiratt
 

Similar to โครงงานคณิตบทที่ 10 (20)

บทที่ 1
บทที่ 1 บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1 บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1 (1)
บทที่ 1 (1)บทที่ 1 (1)
บทที่ 1 (1)
 
โครงงาน 5 บท
โครงงาน  5 บทโครงงาน  5 บท
โครงงาน 5 บท
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ภาษาไทย ต้น
ภาษาไทย ต้นภาษาไทย ต้น
ภาษาไทย ต้น
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์
 
ข้อสอบ O net สังคม ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net สังคม ป.3 ชุด 1ข้อสอบ O net สังคม ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net สังคม ป.3 ชุด 1
 
ภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลายภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลาย
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
 
นวนิยาย(วราภรณ์)(1)
นวนิยาย(วราภรณ์)(1)นวนิยาย(วราภรณ์)(1)
นวนิยาย(วราภรณ์)(1)
 
9789740330349
97897403303499789740330349
9789740330349
 
Intro sciproject
Intro sciprojectIntro sciproject
Intro sciproject
 
Bliography
BliographyBliography
Bliography
 
การวิเคราะห์สารสนเทศ ตอนที่ 1
การวิเคราะห์สารสนเทศ ตอนที่ 1การวิเคราะห์สารสนเทศ ตอนที่ 1
การวิเคราะห์สารสนเทศ ตอนที่ 1
 
เรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมายเรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมาย
 
NT'55 Nationnal Test
NT'55 Nationnal TestNT'55 Nationnal Test
NT'55 Nationnal Test
 
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตรแผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
 

More from Y'Yuyee Raksaya

สมกาาร อสมการ เอ็กซ์โพเนนเชียล
สมกาาร อสมการ เอ็กซ์โพเนนเชียลสมกาาร อสมการ เอ็กซ์โพเนนเชียล
สมกาาร อสมการ เอ็กซ์โพเนนเชียลY'Yuyee Raksaya
 
ฟังชันเอกซ์โพเนนเชียล
ฟังชันเอกซ์โพเนนเชียลฟังชันเอกซ์โพเนนเชียล
ฟังชันเอกซ์โพเนนเชียลY'Yuyee Raksaya
 
เลกยกกำลัง
เลกยกกำลังเลกยกกำลัง
เลกยกกำลังY'Yuyee Raksaya
 
รูทไม่รู้จบ
รูทไม่รู้จบรูทไม่รู้จบ
รูทไม่รู้จบY'Yuyee Raksaya
 
สมการติดรูท
สมการติดรูทสมการติดรูท
สมการติดรูทY'Yuyee Raksaya
 
ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมY'Yuyee Raksaya
 
เวกเตอร์ใน 3 มิติ
เวกเตอร์ใน 3 มิติเวกเตอร์ใน 3 มิติ
เวกเตอร์ใน 3 มิติY'Yuyee Raksaya
 
เวกเตอร์ใน 2 มิต1
เวกเตอร์ใน 2 มิต1เวกเตอร์ใน 2 มิต1
เวกเตอร์ใน 2 มิต1Y'Yuyee Raksaya
 
เวกเตอร์ใน 2 มิติ
เวกเตอร์ใน 2 มิติเวกเตอร์ใน 2 มิติ
เวกเตอร์ใน 2 มิติY'Yuyee Raksaya
 
สมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังสมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังY'Yuyee Raksaya
 
เอกซ์โพเนนเซียล
เอกซ์โพเนนเซียลเอกซ์โพเนนเซียล
เอกซ์โพเนนเซียลY'Yuyee Raksaya
 
พาราโบลา
พาราโบลาพาราโบลา
พาราโบลาY'Yuyee Raksaya
 
สมการของเส้นตรง
สมการของเส้นตรงสมการของเส้นตรง
สมการของเส้นตรงY'Yuyee Raksaya
 
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันY'Yuyee Raksaya
 
พีชคณิตของฟังก์ชัน
พีชคณิตของฟังก์ชันพีชคณิตของฟังก์ชัน
พีชคณิตของฟังก์ชันY'Yuyee Raksaya
 
ฟังก์ชันประกอบ
ฟังก์ชันประกอบฟังก์ชันประกอบ
ฟังก์ชันประกอบY'Yuyee Raksaya
 

More from Y'Yuyee Raksaya (20)

บทที่ 5
บทที่ 5 บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
สมกาาร อสมการ เอ็กซ์โพเนนเชียล
สมกาาร อสมการ เอ็กซ์โพเนนเชียลสมกาาร อสมการ เอ็กซ์โพเนนเชียล
สมกาาร อสมการ เอ็กซ์โพเนนเชียล
 
ฟังชันเอกซ์โพเนนเชียล
ฟังชันเอกซ์โพเนนเชียลฟังชันเอกซ์โพเนนเชียล
ฟังชันเอกซ์โพเนนเชียล
 
เลกยกกำลัง
เลกยกกำลังเลกยกกำลัง
เลกยกกำลัง
 
รูทไม่รู้จบ
รูทไม่รู้จบรูทไม่รู้จบ
รูทไม่รู้จบ
 
สมการติดรูท
สมการติดรูทสมการติดรูท
สมการติดรูท
 
ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
 
เวกเตอร์ใน 3 มิติ
เวกเตอร์ใน 3 มิติเวกเตอร์ใน 3 มิติ
เวกเตอร์ใน 3 มิติ
 
เวกเตอร์ใน 2 มิต1
เวกเตอร์ใน 2 มิต1เวกเตอร์ใน 2 มิต1
เวกเตอร์ใน 2 มิต1
 
เวกเตอร์ใน 2 มิติ
เวกเตอร์ใน 2 มิติเวกเตอร์ใน 2 มิติ
เวกเตอร์ใน 2 มิติ
 
สมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังสมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลัง
 
เอกซ์โพเนนเซียล
เอกซ์โพเนนเซียลเอกซ์โพเนนเซียล
เอกซ์โพเนนเซียล
 
พาราโบลา
พาราโบลาพาราโบลา
พาราโบลา
 
สมการของเส้นตรง
สมการของเส้นตรงสมการของเส้นตรง
สมการของเส้นตรง
 
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
พีชคณิตของฟังก์ชัน
พีชคณิตของฟังก์ชันพีชคณิตของฟังก์ชัน
พีชคณิตของฟังก์ชัน
 
ฟังก์ชันประกอบ
ฟังก์ชันประกอบฟังก์ชันประกอบ
ฟังก์ชันประกอบ
 

โครงงานคณิตบทที่ 10

  • 1. 1 บทที่ 1 บทนํา ที่มาและความสําคัญ โดยทั่วไปแลวรายวิชาคณิตศาสตรมีลักษณะเปนนามธรรม มีโครงสรางที่ประกอบดวย คํานิยาม บทนิยาม สัจพจน ที่เปนขอตกลงเบื้องตน จากนั้นจึงใชการใหเหตุผลที่สมเหตุสมผลสราง ทฤษฎีบทตาง ๆ ขึ้นและนําไปใชอยางเปนระบบ คณิตศาสตรมีความถูกตองเที่ยงตรง คงเสนคงวา มีระเบียบแบบแผนเปนเหตุเปนผล และมีความสมบูรณในตัวเอง หรือกลาวไดวาคณิตศาสตรเปน ศาสตรและศิลปที่ศึกษาเกี่ยวกับแบบรูปและความสัมพันธ เพื่อใหไดขอสรุปและนําไปใช ประโยชน คณิตศาสตรมีลักษณะเปนภาษาสากลที่ทุกคนเขาใจตรงกันในการสื่อสาร (สถาบัน สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. 2544 : 2) สามารถนําประสบการณทางดานความรู ความคิดและทักษะที่ไดไปใชในการเรียนรูสิ่งตาง ๆ และใชในชีวิตประจําวัน ในการเรียนคณิตศาสตรมีบทนิยาม ทฤษฏีบท และสูตรตาง ๆ มาใชอยางหลากหลาย โดยเฉพาะอยางยิ่งในรายวิชาคณิตศาสตรของระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย รวมการประยุกตกับ เรื่องอื่น ๆ ความรูความเขาใจจะเปนพื้นฐานที่สําคัญในการเรียนตอในระดับที่สูงขึ้น จากการศึกษาการใหเหตุผลแบบตางๆ โดยเฉพาะ “ การใหเหตุผลแบบอุปนัย ” ทําใหเกิด ความสนใจเปนอยางมาก และไดเกิดขอสงสัยตางๆ มากมายเกี่ยวกับตัวเลข ที่นํามาปฏิบัติการทาง คณิตศาสตรแลวทําใหลักษณะของตัวเลขในแบบตางๆ มีความแปลก มีลักษณะเฉพาะตัว คณะ ผูจัดทําจึงไดรวมมือกันศึกษาคนควาเรื่อง “ การใหเหตุผลแบบอุปนัย ” จากแหลงการเรียนรูตางๆ เมื่อมีความเขาใจดีแลวคณะผูจัดทําจึงอยากที่จะเผยแพรความรูนี้ใหกับผูที่สนใจ จึงไดจัดทํา โครงงานนี้ขึ้น ทั้งนี้ นอกจากจะเปนการเผยแพรความรู ความชํานาญ ใหแกผูที่สนใจแลว ยังเปน การสรางสื่อในการเรียนการสอนอีกดวย
  • 2. 2 วัตถุประสงค 1. เพื่อนําเรื่องการใหเหตุผลไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน 2. เพื่อใหมีความรูเกี่ยวกับการทําโครงงานและการใหเหตุผลแบบอุปนัย เพิ่มขึ้น ขอบเขตของการศึกษา ขอบเขตในการศึกษาครั้งนี้ คือ การใหเหตุผลแบบอุปนัย ระยะเวลาในการศึกษา ระหวาง วันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 ถึงวันที่ 20 กุมภาพันธ พ.ศ. 2559 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1. เกิดความรูความเขาใจในเรื่องการใหเหตุผลแบบอุปนัยมากขึ้น 2. ไดนําความรูไปเผยแพรใหแกผูอื่น 3. สามารถนําไปประยุกตใชในชีวิตประจําวันได