SlideShare a Scribd company logo
1 of 58
Download to read offline
การวิเคราะห์สารสนเทศ 1
        บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้น


                จัดทาโดย
     รองศาสตราจารย์เบญจรัตน์ สีทองสุก
        มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม



1
การวิเคราะห์สารสนเทศ
    อานวยความสะดวกแก่ผู้ใช้บริการให้สามารถค้นหาและเข้าถึงทรัพยากร
      สารสนเทศที่ตองการได้อย่างรวดเร็ว
                  ้

    ทรัพยากรสารสนเทศจานวนมาก หากไม่มีการจัดให้เป็นระบบ จะเป็นอย่างไร




                                                       จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
2                                                           มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
3
จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
4        มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
5        มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
ทาอย่างไร
     ผู้อ่านทุกคน มีหนังสือที่ตนต้องการอ่าน




                                               จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
6                                                   มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
ความสาคัญของการจัดหมู่หนังสือ
     รากฐานของห้องสมุดก็คือหนังสือ
     รากฐานของการเป็นบรรณารักษ์ก็คือการจัดหมู่
     เพราะถ้าไม่มีการจัดหมู่หนังสือก็ไม่มีบรรณารักษ์คนใดสามารถ
      จัดห้องสมุดให้เป็นระบบได้ (Sayers, 1975, p. 38)




                                                 จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
7                                                     มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
สมัยโบราณ
     ห้องสมุดดินเหนียว
     ห้องสมุดปาปิรัส
     ห้องสมุดแผ่นหนัง




                                      จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
8                                          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
ห้องสมุดดินเหนียว


            ตัวอย่างแผ่นดินเหนียวที่จารึกด้วยอักษร
            คูนิฟอร์ม
            มีการจัดแผ่นดินเหนียวอย่างมีแบบแผน
            โดยแบ่งเป็น 2 หมวดใหญ่ ๆ ตาม
            ข้อความที่บันทึก คือ
            • เรื่องเกี่ยวกับทางโลก (knowledge of
            the earth)
            • เรื่องเกี่ยวกับทางสวรรค์ (knowledge
            of the heavens)




                              จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
9                                  มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
กฎหมายของพระเจ้าฮัมมูราบี
     ที่จารึกบนแผ่นดินเหนียว




                จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
10                   มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
ห้องสมุดปาปิรัส

            ชาวอียิปต์บันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับความ
            เป็นอยู่ ความเจริญรุ่งเรือง และความรู้ต่าง
            ๆ ลงบนแผ่นกระดาษปาปิรัส กว้าง 1 ฟุต
            ยาวประมาณ 20 ฟุต จัดเก็บไว้ในกล่อง
            โลหะมีฝาปิด เขียนคาอธิบายสั้น ๆ ปิดไว้
            ที่กล่องว่าเป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร
            จาแนกตามเรื่องที่บันทึกบ้าง
            จาแนกตามผู้เขียนบ้าง

               ตัวอย่างม้วนปาปิรัส
                                 จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
11                                    มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
ห้องสมุดแผ่นหนัง




                        จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
12                           มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
เซอร์ฟรานซิส เบคอน
      ความจา (memory)
      จินตนาการ (imagination)
      เหตุผล (reason)
     1) ความรู้ทางประวัติศาสตร์ ซึ่งจิตใจทาหน้าที่
     บันทึกความทรงจา
     2) กวีนิพนธ์ ซึ่งจิตใจทาหน้าที่ในการคิด
     จินตนาการ
     3) ปรัชญา ซึ่งจิตใจทาหน้าที่ในการค้นหาเหตุผล




                                    จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
13                                       มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
ดร.วิลเลียม ทอร์เรย์ แฮริส
      นาแนวคิดของเซอร์ฟรานซิส เบคอน มา
       ดัดแปลง
      จัดทาระบบการจัดหมู่หนังสือของตนเพื่อใช้ใน
       ห้องสมุดโรงเรียนที่เซนต์หลุยส์ รัฐมิสซูรี
       สหรัฐอเมริกา
      แบ่งหนังสือเป็น 3 กลุ่มคือ
         วิทยาศาสตร์
         ศิลปะ
         ประวัติศาสตร์




                                  จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
14                                     มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
เมลวิล ดิวอี้
      คิดระบบการจัดหมู่หนังสือระบบทศนิยม (Dewey
       decimal classification)
      ถือว่าเป็นระบบจัดหมู่หนังสือที่สมบูรณ์แบบระบบ
       แรกในประวัติศาสตร์การจัดหมู่หนังสือ




                                    จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
15                                       มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
16        มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
สมัยปัจจุบัน




                    จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
17
จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
18
จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
19
จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
20
จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
21
จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
22
จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
23
จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
24
จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
25
จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
26
จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
27
จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
28
จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
29
จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
30
จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
31
จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
32
จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
33
ประเภทของการจัดหมู่หนังสือ
      จัดหมู่ตามเนื้อหาวิชา
         ระบบการจัดหมู่ที่มีแผนการจัดหมู่สาเร็จรูป
             ระบบทศนิยมของดิวอี้
             ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน
         ระบบการจัดหมู่หนังสือแบบแยกสังเคราะห์ ระบบที่ใช้วิธีการแยกแยะ
          เนื้อหาวิชาที่มีอยู่ในหนังสือออกเป็นส่วนต่าง ๆ ตามพื้นฐานของ
          เนื้อหาวิชาแต่ละด้าน      แล้วจึงนามาสังเคราะห์เป็นเลขหมู่หนังสือ
          ประกอบด้วยสัญลักษณ์หลายประเภท เช่น จานวนเลข ตัวอักษร
          เครื่องหมายวรรคตอนต่าง ๆ
             ระบบโคลอน
             ระบบทศนิยมสากล
      จัดหมู่ตามลักษณะที่ปรากฏภายนอก



                                                             จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
34
จัดหมู่ตามลักษณะที่ปรากฏภายนอก
      การจัดเรียงตามลาดับตัวอักษรของชื่อผู้แต่ง
      การจัดเรียงตามภาษาที่ใช้ในการเขียนหนังสือนั้น ๆ
      การจัดเรียงตามรูปแบบของหนังสือ
      การจัดเรียงตามสี
      ตามชนิดของปก
      ตามราคาของหนังสือ (เช่นการเก็บหนังสือเก่าหายากไว้รวมกัน)
      ตามความบอบบางของหนังสือ เป็นต้น
      จัดเรียงตามขนาดของหนังสือ




                                                   จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
35                                                      มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
ระบบการจัดหมู่หนังสือทีดี
                                           ่
      ความสมบูรณ์ของสรรพวิทยาการ
         ระบบการจัดหมู่หนังสือที่ดจึงควรมีขอบเขตกว้างขวางและสมบูรณ์
                                   ี
          (inclusive and completeness)
         ครอบคลุมเนื้อหาวิชาความรู้ หรือวิทยาการสาขาต่าง ๆ ที่มีอยู่รวมทั้งที่
          อาจจะเกิดขึ้นใหม่ในอนาคตได้ครบถ้วนสมบูรณ์มากที่สด ุ
      ความยืดหยุ่น
         ควรยืดหยุ่นและขยายได้ (flexible and expansive) โดยมีที่ว่างเหลือไว้
          ในแผนการจัดหมู่หนังสือ       เพื่อให้สามารถปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติม
          เนื้อหาวิชาใหม่ ๆ เข้าไปในระบบจัดหมู่หนังสือได้ตามความเหมาะสม
          โดยไม่ทาให้เสียลาดับของเนื้อหาวิชา หรือเกิดปัญหาในภายหลัง
      การเรียงลาดับหมวดหมู่ของเนื้อหาวิชา
         จัดลาดับหมวดหมู่เนื้อหาวิชา (order of classes and division)
          ตามลาดับเหตุผล และมีความสัมพันธ์กัน ลดหลั่นลงไปตามลาดับ
          (hierarchy) ไม่สับสน แสดงให้เห็นว่ามีเนื้อหาครอบคลุมสาขาวิชา
          ใดบ้าง

                                                             จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
36
ระบบการจัดหมู่หนังสือทีดี
                                           ่
      มีหมวดหมู่หนังสือทั่วไป
         มีเลขหมู่สาหรับหนังสือทั่ว ๆ ไป (general class) ซึ่งไม่สามารถจัด
          เนื้อหาของหนังสือเหล่านี้ไว้ในสาขาใด ๆ ได้
         ในสาขาวิชาต่าง ๆ ควรมีเลขหมู่สาหรับหนังสือที่มีเนื้อหาวิชานั้น ๆ อย่าง
          กว้าง ๆ ไม่ได้เน้นด้านใดด้านหนึ่งหรือเฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่งของ
          เนื้อหาวิชาไว้ด้วย
      ตารางเลขเฉพาะ
         ตารางเลขเฉพาะ (tables) ใช้เติมเข้ากับเลขหมู่ในหมวดต่าง ๆ เพื่อแบ่ง
          เนื้อหาให้เฉพาะเจาะจงยิ่งขึ้น
             รูปแบบการเขียน
             แสดงถึงภูมิภาค
             ภาษา
         มีความคงที่ สามารถใช้กับหมวดต่าง ๆ ของระบบจัดหมู่หนังสือได้โดย
          ความหมายไม่เปลี่ยนแปลง
                                                            จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
37
ระบบการจัดหมู่หนังสือทีดี
                                           ่
      คาศัพท์ (terminology)
        ชื่อที่เรียกหมวดหมู่ใหญ่ หมู่ย่อยต่าง ๆ
         คาศัพท์ทางวิชาการ
         คาศัพท์ซึ่งเป็นที่นิยมใช้กันอยู่ เป็นที่ยอมรับของผู้ทรงคุณวุฒิใน
            สาขาวิชานั้น ๆ ต้องแสดงความหมายเฉพาะ ชัดเจน ถูกต้อง
      สัญลักษณ์ (notations)
        เครื่องหมายที่กาหนดขึ้นแทนเนื้อหาของหนังสือในหมวดหมู่ตาง ๆ
                                                              ่
            12 3 ๑๒ ๓
            AZXDพมยก
             , . : ;
         สัญลักษณ์บริสุทธิ์ (pure notation) ที่ใช้เฉพาะตัวเลขหรือตัวอักษรแต่
          เพียงอย่างเดียว เช่น สัญลักษณ์ของระบบทศนิยมดิวอี้ เป็นตัวเลข
         สัญลักษณ์ผสม (mixed notation) ใช้ทั้งตัวอักษรและตัวเลข หรือ
          ตัวอักษร ตัวเลข และเครื่องหมายวรรคตอนผสมกัน เช่น สัญลักษณ์ของ
          ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน

                                                              จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
38
ระบบการจัดหมู่หนังสือทีดี
                                           ่
      ดรรชนี (index)
        ระบบจัดหมู่มีลักษณะพิเศษต่างจากดรรชนีของหนังสือทั่ว ๆ ไปตรงที่ใน
          เรื่องย่อย ๆ จะมีเลขหมู่หนังสือกากับไว้แทนที่จะบอกเลขหน้า ช่วยให้
          การกาหนดเลขหมู่สาหรับหนังสือแต่ละเล่มสะดวกรวดเร็ว เพราะจะเป็น
          แนวทางสาหรับเปิดหาเลขหมู่จากแผนการจัดหมู่หนังสือ ให้ได้เลขหมู่ที่
          เหมาะสมกับหนังสือมากที่สุด
          ดรรชนีของระบบจัดหมู่หนังสือแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
             ดรรชนีเฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่ง (specific index) จะนาหัวเรื่องย่อย ๆ มา
              เรียงลาดับตามตัวอักษร และมีเลขหมู่กากับเฉพาะเรื่องที่มีลาดับใน
              ดรรชนี
             ดรรชนีสัมพันธ์ (relative index) จะนาหัวเรื่องย่อย ตลอดจนหัวข้อ
              วิชาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องนั้นทุกด้านมาจัดเรียงไว้ รวมทั้งการใช้
              คาพ้องและคาที่มีความหมายเป็นอย่างเดียวกัน แล้วมีเลขหมู่กากับไว้
      การจัดพิมพ์เป็นรูปเล่ม
        ระบบการจัดหมู่ควรมีการจัดพิมพ์แผนการจัดหมู่เป็นรูปเล่ม เพื่อสะดวกต่อ
          การใช้เป็นคู่มือปฏิบัติงาน

                                                                จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
39
หลักเกณฑ์ทั่วไปในการจัดหมู่หนังสือ
     จัดหมู่ตามเนื้อหาก่อนจัดตามรูปแบบ
         พิจารณาเนื้อหาของหนังสือ
         ไม่พิจารณาจากชื่อเรื่องหรือประเภทของหนังสือแต่เพียงอย่างเดียว
          หนังสือบางเล่มชื่อเรื่องอาจสัมพันธ์กับเนื้อเรื่องเพียงบางตอนเท่านั้น
         จัดหนังสือไว้ในหมวดที่จะมีประโยชน์ตอผูใช้หองสมุดมากที่สด
                                                 ่ ้       ้          ุ
         หนังสือด้านวรรณคดี เช่น โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน บทละคร ฯลฯ จะไม่
          คานึงถึงเนื้อหาวิชาเป็นหลัก แต่จะพิจารณาจากภาษาและลักษณะการ
          ประพันธ์ วรรณคดีนั้น ๆ ให้จัดหมู่หนังสือตามสาขาวิชาก่อน และเพื่อให้
          ได้เลขหมู่ที่เฉพาะและไม่ซ้า แล้วจึงจาแนกหมู่ย่อยไปตามประเทศ หรือ
          เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ หรือตามวิธีเขียน




                                                           จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
40
หลักเกณฑ์ทั่วไปในการจัดหมู่หนังสือ
     จัดหมู่ตามวัตถุประสงค์ของผู้เขียน
        ควรยึดวัตถุประสงค์หรือจุดมุ่งหมายของผูเขียนหนังสือเป็นแนวทางในการ
                                                 ้
          พิจารณากาหนดเลขหมู่ เพราะผู้เขียนมักจะบอกให้ทราบอย่างย่อ ๆ ว่า
          หนังสือเล่มนั้นเกี่ยวข้องกับวิชาใดบ้าง
     หนังสือที่มี 2 หรือ 3 เนื้อเรื่อง
         ให้จัดหมู่ตามเรื่องที่จะเป็นประโยชน์ตอผูใช้ห้องสมุดมากที่สด
                                               ่ ้                  ุ
         ให้จัดหมู่ตามเรื่องที่เน้นหนักมากกว่า
         ถ้าทุกเรื่องมีความสาคัญเท่ากันแต่ไม่มีความเกี่ยวเนื่องกัน ให้จัดหมู่ตาม
          เรื่องที่มีจานวนหน้ามาก แต่ถ้าจานวนหน้าไล่เลี่ยกันก็ให้จัดหมู่ตามเรื่อง
          ที่ปรากฏเป็นลาดับแรกในเล่ม
         กรณีที่เรื่องทั้ง 2 มีความสาคัญเท่ากันและต่อเนื่องกัน  ให้จัดหมู่ไว้ที่
          เรื่องแรกที่ปรากฏในตารางแผนการจัดหมู่
         ถ้าไม่มีการเน้นหนักเนื้อหาใดเนื้อหาหนึ่ง ควรพิจารณาเลขหมู่กว้าง ๆ ที่
          ครอบคลุมเนื้อหาเหล่านั้น
                                                              จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
41
หลักเกณฑ์ทั่วไปในการจัดหมู่หนังสือ
     หนังสือที่มีเนื้อเรื่องตั้งแต่สเรื่องขึ้นไป
                                    ี่
          แต่ละเรื่องเป็นเรื่องย่อย ๆ ของหมวดใหญ่
           ให้จัดหมู่ตามเรื่องที่ครอบคลุมเนื้อหาวิชาทั้งหมด
             หนังสือที่มีเนื้อเรื่องเกี่ยวกับความร้อน แสง เสียง และกลศาสตร์
             ซึ่งต่างก็เป็นเนื้อเรื่องย่อยของหมวดฟิสิกส์ ให้จัดหมู่ไว้ที่หมวด 530
             ฟิสิกส์
           ไม่จัดไว้ที่หมวด 500 วิทยาศาสตร์ เพราะเป็นเลขหมู่ที่กว้างเกินไป
          ถ้าทั้งสี่เนื้อเรื่องนั้นไม่มีความสัมพันธ์กัน ควรจัดหมู่ไว้ในหมวดความรู้
           ทั่วไป




                                                                  จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
42
หลักเกณฑ์ทั่วไปในการจัดหมู่หนังสือ
     หนังสือแปล
          หนังสือที่กล่าวถึงการวิจารณ์หนังสือเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หนังสือคู่มือ
          หนังสือตอบคาถาม หรือหนังสือที่ดัดแปลงมาจากเรื่องใดเรื่องหนึ่งให้จัด
          หมู่ไว้กับเรื่องเดิม คือให้เลขหมู่เดียวกับหนังสือซึงเป็นต้นฉบับเดิม เพื่อ
                                                             ่
          ผู้ใช้จะได้พบหนังสือต้นฉบับและหนังสือแปลบนชั้นเดียวกัน
     หนังสือชุด
         หนังสือชุดที่มีชอเรื่องอย่างเดียวกัน ให้จัดหมู่ไว้ด้วยกัน
                          ื่
         แต่ถ้าเป็นหนังสือชุดที่มีหลายเล่ม แต่ละเล่มมีชื่อเรื่องแตกต่างกัน ให้จัด
          หมู่ทีละเล่ม
     พิจารณาถึงวัตถุประสงค์ของห้องสมุด
          ให้พิจารณาวัตถุประสงค์ นโยบาย และประเภทผู้ใช้ห้องสมุด
          ประกอบการให้เลขหมู่ด้วย
              หนังสือเรื่องการจับปลา ห้องสมุดเกษตรจะจัดหมู่ไว้ที่ 639
              ห้องสมุดเฉพาะสาหรับนักกีฬาอาจจัดให้เป็น 799 ก็ได้
                                                               จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
43
หลักเกณฑ์ทั่วไปในการจัดหมู่หนังสือ
     หนังสือที่กล่าวถึงลักษณะของวิชา
          ให้จัดหมู่หนังสือเกี่ยวกับวิชานั้น ๆ ไม่ใช่เกี่ยวกับลักษณะของวิชา
          นอกจากลักษณะดังกล่าวได้แสดงถึงเนื้อหาของหนังสือ เช่น หนังสือ
          เรื่อง Sociology aspects of education ให้จัดหมู่ไว้ที่การศึกษา ไม่ใช่
          สังคมวิทยา
     หนังสือชีวประวัติ
         ห้องสมุดประชาชนมักจัดหมู่แยกเป็นหมวดต่างหาก
         ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาและห้องสมุดเฉพาะมักจัดตามประเภท
          สาขาวิชาของเจ้าของชีวประวัติ เช่น ชีวประวัติของนักวิทยาศาสตร์ไทย
          ให้เลขหมู่ตามเนื้อหาวิชา คือ วิทยาศาสตร์ ไม่จัดไว้ที่หมวดชีวประวัติ
          ทั่วไป
     หนังสือที่กล่าวถึงบุคคลและประเทศ
          ให้จัดหมู่ภายใต้ชอประเทศ หากมีเนื้อหา เป็นชีวประวัติของบุคคลใด
                              ื่
          บุคคลหนึ่งซึ่งมีเรื่องเกี่ยวข้องกับการเมือง เศรษฐกิจ หรือการพัฒนาการ
          สังคม หนังสือเล่มดังกล่าวจะจัดหมู่ในเรื่องใดเรื่องหนึ่งของเรื่องทั้ง 3
          ตามประเทศหรือตามประวัติศาสตร์ทั่วไปของประเทศ
                                                             จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
44
หลักเกณฑ์ทั่วไปในการจัดหมู่หนังสือ
     การจัดหมู่หนังสือหมวดที่ยังเป็นปัญหา
         ไม่ควรใช้เลขหมู่ที่ยังไม่ได้กาหนดในแผนการจัดหมู่หนังสือ
         อย่ากาหนดเลขหมู่สาหรับเนื้อหาวิชาทียังเป็นปัญหาขึ้นเอง
                                             ่
         ควรพิจารณาอย่างรอบคอบ โดยสารวจเรื่องที่ใกล้เคียงและเกี่ยวข้องกัน
          มากที่สุดที่ปรากฏในแผนการจัดหมู่ รวมทั้งหลักเกณฑ์ต่าง ๆ เสียก่อน
          เพื่อนามาพิจารณาในการกาหนดเลขหมู่หนังสือนั้น
     กรณีที่หนังสือมี 2 ความเห็นอันขัดแย้งกัน
         การจัดหมู่หนังสือที่มีความคิดเห็นขัดแย้งกัน เรื่องหนึ่งได้รับการรับรอง
          จากผู้แต่ง และอีกเรื่องหนึ่งผู้แต่งตาหนิและไม่เห็นชอบด้วย
          ให้จัดหมู่ภายใต้เรื่องที่ผแต่งสนับสนุน
                                    ู้




                                                              จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
45
ขั้นตอนการปฏิบติงานจัดหมู่หนังสือ
                          ั
     1. ศึกษาคู่มือในการจัดหมู่หนังสือ
         ต้องมีคู่มือสาหรับใช้ในการจัดหมู่หนังสือ
         ให้ผู้จัดหมู่ศกษาแผนการจัดหมู่เล่มที่ใช้ให้เข้าใจ
                        ึ
     2. ตรวจสอบหนังสือที่ห้องสมุดได้รับมาใหม่
           ตรวจดูว่าเคยมีหนังสือนั้นในห้องสมุดหรือไม่
            ถ้าหนังสือเล่มใดมีอยู่แล้วให้จดเลขเรียกหนังสือไว้ เพื่อจะได้กาหนด
            เลขหมู่ให้เหมือนกัน และกรณีที่เป็นหนังสือซ้าเล่มจะได้ลงเลขลาดับ
            ฉบับต่อเนื่องได้ถูกต้อง
     3. พิจารณาอย่างคร่าวๆ เพื่อแยกหมวดหมู่ของหนังสือ
         หนังสือใหม่ที่ไม่เคยมีมาก่อน ให้นาหนังสือมาแยกออกเป็นหมวดใหญ่
          อย่างคร่าว ๆ
         จัดหมู่หนังสือไปทีละหมวด เพื่อจะได้เปรียบเทียบเนื้อหาของหนังสือแต่
          ละเล่มในหมวดเดียวกัน จะช่วยให้กาหนดเลขหมู่ได้ถูกต้องและรวดเร็ว

                                                              จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
46
ขั้นตอนการปฏิบติงานจัดหมู่หนังสือ
                          ั
     4. เลือกกาหนดเลขหมู่เล่มที่ง่ายก่อน
         เลือกหนังสือเล่มที่ง่ายมากาหนดเลขหมู่ก่อน
         หนังสือเล่มที่มีปัญหาในการกาหนดเลขหมู่ เช่น ไม่แน่ใจในการ
          พิจารณาตัดสินเนื้อหาว่าเป็นหนังสือสาขาวิชาใด ควรเก็บไว้ก่อนเพื่อ
          ปรึกษาหารือกับผู้รู้ในสาขาวิชานั้น ๆ
     5. พิจารณาเนื้อเรื่องของหนังสือ
           พิจารณาจากส่วนต่าง ๆ ของหนังสือ เพื่อให้ทราบว่าหนังสือเล่มนั้นมี
            เนื้อเรื่องโดยทั่วไปเกี่ยวกับเรื่องใด ส่วนต่าง ๆ ของหนังสือที่จะให้
            รายละเอียดเกี่ยวกับเนื้อเรื่องได้แก่




                                                           จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
47
ขั้นตอนการปฏิบติงานจัดหมู่หนังสือ
                          ั
     5. พิจารณาเนื้อเรื่องของหนังสือ
        ชื่อเรื่อง
         ชื่อเรื่องของหนังสือส่วนใหญ่มักมีความสัมพันธ์กับเนื้อเรื่อง
         การอ่านชื่อเรื่องจะช่วยให้บรรณารักษ์ทราบเนื้อเรื่องอย่างกว้าง ๆ
         หนังสือบางเล่มอาจมีชื่อเรื่องไม่ตรง หรือ สอดคล้อง หรือ เกี่ยวข้องกับ
          เนื้อเรื่องของหนังสือ บรรณารักษ์จึงต้องอ่านส่วนอื่นของหนังสือ
          ประกอบการพิจารณาด้วย
       คานา
         แสดงถึงที่มาขอบเขต และวัตถุประสงค์ในการเขียนของผู้เขียนหนังสือ
       สารบาญ
         กล่าวถึงรายละเอียดของหนังสือแต่ละเล่มว่าแบ่งออกเป็นกี่บท แต่ละบท
          มีหัวข้ออะไรบ้าง และอยู่ที่หน้าใด
         ช่วยให้ทราบเนื้อหาของหนังสือได้ชัดเจนขึ้น

                                                              จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
48
ขั้นตอนการปฏิบติงานจัดหมู่หนังสือ
                          ั
     5. พิจารณาเนื้อเรื่องของหนังสือ
        บทนา
        เป็นบทแรกของหนังสือที่ให้รายละเอียดเกี่ยวกับหนังสือเล่มนั้น
       บรรณานุกรม
        รายชื่อเอกสารที่ผู้แต่งใช้คนคว้าประกอบการเขียนหนังสือ
                                   ้
       ข้อมูลรายการในสิ่งพิมพ์ (cataloging in publication - CIP)
        เป็นข้อมูลที่สานักพิมพ์จัดพิมพ์ไว้ที่ด้านหลังของหน้าปกใน หรือ หน้า
           ลิขสิทธิ์ ของหนังสือเล่มนั้น ๆ มักจะให้เลขหมู่หนังสือทั้ง ระบบทศนิยม
           ของดิวอี้ และระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน รวมทั้งหัวเรื่อง




                                                             จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
49
ขั้นตอนการปฏิบติงานจัดหมู่หนังสือ
                         ั
     อ่านเนื้อเรื่องบางบท
          หากยังได้รายละเอียดไม่พอเพราะหนังสือนั้นมีเนื้อเรื่องซับซ้อน ให้อ่าน
          เนื้อเรื่องบางบทหรือบางตอนอย่างคร่าว ๆ
     หนังสืออ้างอิงบางประเภท
          เป็นเครื่องมือที่ดีสาหรับหาความรู้เกี่ยวกับเนื้อเรื่องของหนังสือที่เป็น
          ปัญหาได้อย่างกว้างขวาง ตัวอย่างเช่น บรรณานุกรม สารานุกรม
          พจนานุกรม คู่มือวรรณกรรมในสาขาวิชาต่าง ๆ ตลอดจนหนังสือวิจารณ์
          หนังสือ
     ผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชาต่าง ๆ
          หนังสือนั้นมีเนื้อเรื่องเฉพาะสาขาวิชาและยากเกินกว่าที่บรรณารักษ์จะมี
          ความรู้มากพอที่จะตัดสินใจได้ ควรขอความร่วมมือจากผู้เชี่ยวชาญในแต่
          ละสาขาวิชาให้ช่วยพิจารณา



                                                              จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
50
ขั้นตอนการปฏิบติงานจัดหมู่หนังสือ
                          ั
     ฝึกใช้แผนการจัดหมู่หนังสือให้คล่อง
         จาหมวดใหญ่ของระบบการจัดหมู่หนังสือได้
         ทราบเนื้อหาของหนังสือและตัดสินว่า หนังสือนั้นอยู่ในหมวดใด
         ตรวจดูว่าจะจัดเป็นหมวดอื่นได้อีกหรือไม่
         ถ้าไม่มีทางเป็นไปได้ให้ใช้หมวดที่ตกลงใจไว้แต่แรก
         พิจารณาดูว่าสามารถแบ่งย่อยได้อีกหรือไม่ ควรใช้หมู่ย่อยใด




                                                          จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
51
ขั้นตอนการปฏิบติงานจัดหมู่หนังสือ
                          ั
     ใช้เครื่องมือช่วยในการจัดหมู่
         ฐานข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดต่าง ๆ (web OPAC)
          จะช่วยให้ทราบถึงหัวเรื่องและเลขหมู่ของหนังสือเล่มนั้นที่ห้องสมุดอื่น ๆ
          กาหนดใช้ นามาตัดสินใจว่าจะให้เลขหมู่ และหัวเรื่องใดจึงจะเหมาะสม
         ฐานข้อมูลสหบรรณานุกรม (union catalog)
     บันทึกเลขหมู่
         ตัวเล่มหนังสือ โดยบันทึกที่หน้าหลังปกในและหน้าเฉพาะ
         แผ่นบันทึกข้อมูลรายการสืบค้น หรือ บัตรรายการ




                                                            จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
52
จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
53
จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
54
จัดกลุ่มรูปภาพต่อไปนี้ เป็นกลุ่ม 3 ให้มากแบบที่สุด




     Car          Tree         Train         Books




     Cow          Television   Computer      Fish




     Ball         Cake         Lamp          Man

                                           จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
55
ตัวอย่าง การจัดกลุ่ม
      มีชีวิต   เคยมีชีวิต   ไม่เคยมีชีวิต




                                              จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
56
การบ้าน
     1. ให้นศ.แบ่งกลุ่ม ๆ ละ 5 คน ทารายงานเรื่องประวัติการจัดหมู่
        หนังสือในประเทศไทย ส่งสัปดาห์หน้าก่อนวันเรียน 1 วัน
     2. ให้นศ. ทุกคนทา MindMap ของบทที่ 1 ส่งสัปดาห์หน้า
     3. ให้นศ. ทุกคน จัดกลุ่มของสัตว์ต่อไปนี้ว่าจัดได้กี่แบบ ส่ง
        สัปดาห์หน้า




                                                     จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
57
จัดกลุ่มของสัตว์
     อูฐ       งูเหลือม    หงส์ดา
     ปลาโลมา   ห่านฟ้า     นกเพนกวิน
     เป็ด      นกกีวี      ปลาวาฬ
     เสือ      พะยูน       ฮิปโปโปเตมัส
     ยีราฟ     จระเข้      ม้าลาย
     เต่า      กิ้งก่า     สุนัขจิ้งจอก
     ไก่ฟ้า    สิงโต       นกอีมู
     ช้าง      สิงโตทะเล   นกกระจอกเทศ
     นกยูง     หมีแพนด้า   กวาง
     จิงโจ้    อีเห็น      อีกัวน่า


                                          จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
58

More Related Content

What's hot

จัดเตรียมหนังสือ
จัดเตรียมหนังสือจัดเตรียมหนังสือ
จัดเตรียมหนังสือwat_pun
 
บัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหาบัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหาkrujee
 
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60Supaporn Khiewwan
 
ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์
ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์
ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์Supaporn Khiewwan
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5keatsunee.b
 
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
Ebook ประตูสู่ชาดก
Ebook ประตูสู่ชาดกEbook ประตูสู่ชาดก
Ebook ประตูสู่ชาดกPanda Jing
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมSupaporn Khiewwan
 
เลขเรียกหนังสือ
เลขเรียกหนังสือเลขเรียกหนังสือ
เลขเรียกหนังสือSupaporn Khiewwan
 
การจัดเก็บและค้นคืน
การจัดเก็บและค้นคืนการจัดเก็บและค้นคืน
การจัดเก็บและค้นคืนSupaporn Khiewwan
 

What's hot (13)

จัดเตรียมหนังสือ
จัดเตรียมหนังสือจัดเตรียมหนังสือ
จัดเตรียมหนังสือ
 
Lesson4 refer11
Lesson4 refer11Lesson4 refer11
Lesson4 refer11
 
บัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหาบัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหา
 
Manomayitti 1-8
Manomayitti 1-8Manomayitti 1-8
Manomayitti 1-8
 
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
 
ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์
ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์
ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
 
Ebook ประตูสู่ชาดก
Ebook ประตูสู่ชาดกEbook ประตูสู่ชาดก
Ebook ประตูสู่ชาดก
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 
เลขเรียกหนังสือ
เลขเรียกหนังสือเลขเรียกหนังสือ
เลขเรียกหนังสือ
 
การจัดเก็บและค้นคืน
การจัดเก็บและค้นคืนการจัดเก็บและค้นคืน
การจัดเก็บและค้นคืน
 
Project Homework
Project HomeworkProject Homework
Project Homework
 

Similar to การวิเคราะห์สารสนเทศ ตอนที่ 1

การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑bensee
 
บทความอ้า..
บทความอ้า..บทความอ้า..
บทความอ้า..Lib Rru
 
บทความอ้า..
บทความอ้า..บทความอ้า..
บทความอ้า..Librru Phrisit
 
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือ
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือ
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือsutthirat
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์Jirakit Meroso
 
หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...krujee
 

Similar to การวิเคราะห์สารสนเทศ ตอนที่ 1 (20)

การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
 
บทที่ 1
บทที่ 1 บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1 บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1 (1)
บทที่ 1 (1)บทที่ 1 (1)
บทที่ 1 (1)
 
โครงงาน 5 บท
โครงงาน  5 บทโครงงาน  5 บท
โครงงาน 5 บท
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
01 เซต บทนำ
01 เซต บทนำ01 เซต บทนำ
01 เซต บทนำ
 
01
0101
01
 
01
0101
01
 
กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3
 กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3 กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3
กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3
 
Bibliography language
Bibliography languageBibliography language
Bibliography language
 
บทความอ้า..
บทความอ้า..บทความอ้า..
บทความอ้า..
 
บทความอ้า..
บทความอ้า..บทความอ้า..
บทความอ้า..
 
Bliography
BliographyBliography
Bliography
 
Reference resources
Reference resources Reference resources
Reference resources
 
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือ
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือ
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือ
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
 
หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...
 
26 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น บทนำ
26 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น บทนำ26 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น บทนำ
26 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น บทนำ
 
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตรแผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
 

การวิเคราะห์สารสนเทศ ตอนที่ 1

  • 1. การวิเคราะห์สารสนเทศ 1 บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้น จัดทาโดย รองศาสตราจารย์เบญจรัตน์ สีทองสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม 1
  • 2. การวิเคราะห์สารสนเทศ อานวยความสะดวกแก่ผู้ใช้บริการให้สามารถค้นหาและเข้าถึงทรัพยากร สารสนเทศที่ตองการได้อย่างรวดเร็ว ้ ทรัพยากรสารสนเทศจานวนมาก หากไม่มีการจัดให้เป็นระบบ จะเป็นอย่างไร จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 4. จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 5. จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก 5 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 6. ทาอย่างไร  ผู้อ่านทุกคน มีหนังสือที่ตนต้องการอ่าน จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก 6 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 7. ความสาคัญของการจัดหมู่หนังสือ  รากฐานของห้องสมุดก็คือหนังสือ  รากฐานของการเป็นบรรณารักษ์ก็คือการจัดหมู่  เพราะถ้าไม่มีการจัดหมู่หนังสือก็ไม่มีบรรณารักษ์คนใดสามารถ จัดห้องสมุดให้เป็นระบบได้ (Sayers, 1975, p. 38) จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก 7 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 8. สมัยโบราณ  ห้องสมุดดินเหนียว  ห้องสมุดปาปิรัส  ห้องสมุดแผ่นหนัง จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก 8 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 9. ห้องสมุดดินเหนียว ตัวอย่างแผ่นดินเหนียวที่จารึกด้วยอักษร คูนิฟอร์ม มีการจัดแผ่นดินเหนียวอย่างมีแบบแผน โดยแบ่งเป็น 2 หมวดใหญ่ ๆ ตาม ข้อความที่บันทึก คือ • เรื่องเกี่ยวกับทางโลก (knowledge of the earth) • เรื่องเกี่ยวกับทางสวรรค์ (knowledge of the heavens) จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก 9 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 10. กฎหมายของพระเจ้าฮัมมูราบี ที่จารึกบนแผ่นดินเหนียว จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก 10 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 11. ห้องสมุดปาปิรัส ชาวอียิปต์บันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับความ เป็นอยู่ ความเจริญรุ่งเรือง และความรู้ต่าง ๆ ลงบนแผ่นกระดาษปาปิรัส กว้าง 1 ฟุต ยาวประมาณ 20 ฟุต จัดเก็บไว้ในกล่อง โลหะมีฝาปิด เขียนคาอธิบายสั้น ๆ ปิดไว้ ที่กล่องว่าเป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร จาแนกตามเรื่องที่บันทึกบ้าง จาแนกตามผู้เขียนบ้าง ตัวอย่างม้วนปาปิรัส จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก 11 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 12. ห้องสมุดแผ่นหนัง จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก 12 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 13. เซอร์ฟรานซิส เบคอน  ความจา (memory)  จินตนาการ (imagination)  เหตุผล (reason) 1) ความรู้ทางประวัติศาสตร์ ซึ่งจิตใจทาหน้าที่ บันทึกความทรงจา 2) กวีนิพนธ์ ซึ่งจิตใจทาหน้าที่ในการคิด จินตนาการ 3) ปรัชญา ซึ่งจิตใจทาหน้าที่ในการค้นหาเหตุผล จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก 13 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 14. ดร.วิลเลียม ทอร์เรย์ แฮริส  นาแนวคิดของเซอร์ฟรานซิส เบคอน มา ดัดแปลง  จัดทาระบบการจัดหมู่หนังสือของตนเพื่อใช้ใน ห้องสมุดโรงเรียนที่เซนต์หลุยส์ รัฐมิสซูรี สหรัฐอเมริกา  แบ่งหนังสือเป็น 3 กลุ่มคือ  วิทยาศาสตร์  ศิลปะ  ประวัติศาสตร์ จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก 14 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 15. เมลวิล ดิวอี้  คิดระบบการจัดหมู่หนังสือระบบทศนิยม (Dewey decimal classification)  ถือว่าเป็นระบบจัดหมู่หนังสือที่สมบูรณ์แบบระบบ แรกในประวัติศาสตร์การจัดหมู่หนังสือ จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก 15 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 16. จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก 16 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 17. สมัยปัจจุบัน จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก 17
  • 34. ประเภทของการจัดหมู่หนังสือ  จัดหมู่ตามเนื้อหาวิชา  ระบบการจัดหมู่ที่มีแผนการจัดหมู่สาเร็จรูป  ระบบทศนิยมของดิวอี้  ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน  ระบบการจัดหมู่หนังสือแบบแยกสังเคราะห์ ระบบที่ใช้วิธีการแยกแยะ เนื้อหาวิชาที่มีอยู่ในหนังสือออกเป็นส่วนต่าง ๆ ตามพื้นฐานของ เนื้อหาวิชาแต่ละด้าน แล้วจึงนามาสังเคราะห์เป็นเลขหมู่หนังสือ ประกอบด้วยสัญลักษณ์หลายประเภท เช่น จานวนเลข ตัวอักษร เครื่องหมายวรรคตอนต่าง ๆ  ระบบโคลอน  ระบบทศนิยมสากล  จัดหมู่ตามลักษณะที่ปรากฏภายนอก จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก 34
  • 35. จัดหมู่ตามลักษณะที่ปรากฏภายนอก  การจัดเรียงตามลาดับตัวอักษรของชื่อผู้แต่ง  การจัดเรียงตามภาษาที่ใช้ในการเขียนหนังสือนั้น ๆ  การจัดเรียงตามรูปแบบของหนังสือ  การจัดเรียงตามสี  ตามชนิดของปก  ตามราคาของหนังสือ (เช่นการเก็บหนังสือเก่าหายากไว้รวมกัน)  ตามความบอบบางของหนังสือ เป็นต้น  จัดเรียงตามขนาดของหนังสือ จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก 35 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 36. ระบบการจัดหมู่หนังสือทีดี ่  ความสมบูรณ์ของสรรพวิทยาการ  ระบบการจัดหมู่หนังสือที่ดจึงควรมีขอบเขตกว้างขวางและสมบูรณ์ ี (inclusive and completeness)  ครอบคลุมเนื้อหาวิชาความรู้ หรือวิทยาการสาขาต่าง ๆ ที่มีอยู่รวมทั้งที่ อาจจะเกิดขึ้นใหม่ในอนาคตได้ครบถ้วนสมบูรณ์มากที่สด ุ  ความยืดหยุ่น  ควรยืดหยุ่นและขยายได้ (flexible and expansive) โดยมีที่ว่างเหลือไว้ ในแผนการจัดหมู่หนังสือ เพื่อให้สามารถปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติม เนื้อหาวิชาใหม่ ๆ เข้าไปในระบบจัดหมู่หนังสือได้ตามความเหมาะสม โดยไม่ทาให้เสียลาดับของเนื้อหาวิชา หรือเกิดปัญหาในภายหลัง  การเรียงลาดับหมวดหมู่ของเนื้อหาวิชา  จัดลาดับหมวดหมู่เนื้อหาวิชา (order of classes and division) ตามลาดับเหตุผล และมีความสัมพันธ์กัน ลดหลั่นลงไปตามลาดับ (hierarchy) ไม่สับสน แสดงให้เห็นว่ามีเนื้อหาครอบคลุมสาขาวิชา ใดบ้าง จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก 36
  • 37. ระบบการจัดหมู่หนังสือทีดี ่  มีหมวดหมู่หนังสือทั่วไป  มีเลขหมู่สาหรับหนังสือทั่ว ๆ ไป (general class) ซึ่งไม่สามารถจัด เนื้อหาของหนังสือเหล่านี้ไว้ในสาขาใด ๆ ได้  ในสาขาวิชาต่าง ๆ ควรมีเลขหมู่สาหรับหนังสือที่มีเนื้อหาวิชานั้น ๆ อย่าง กว้าง ๆ ไม่ได้เน้นด้านใดด้านหนึ่งหรือเฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่งของ เนื้อหาวิชาไว้ด้วย  ตารางเลขเฉพาะ  ตารางเลขเฉพาะ (tables) ใช้เติมเข้ากับเลขหมู่ในหมวดต่าง ๆ เพื่อแบ่ง เนื้อหาให้เฉพาะเจาะจงยิ่งขึ้น  รูปแบบการเขียน  แสดงถึงภูมิภาค  ภาษา  มีความคงที่ สามารถใช้กับหมวดต่าง ๆ ของระบบจัดหมู่หนังสือได้โดย ความหมายไม่เปลี่ยนแปลง จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก 37
  • 38. ระบบการจัดหมู่หนังสือทีดี ่  คาศัพท์ (terminology) ชื่อที่เรียกหมวดหมู่ใหญ่ หมู่ย่อยต่าง ๆ  คาศัพท์ทางวิชาการ  คาศัพท์ซึ่งเป็นที่นิยมใช้กันอยู่ เป็นที่ยอมรับของผู้ทรงคุณวุฒิใน สาขาวิชานั้น ๆ ต้องแสดงความหมายเฉพาะ ชัดเจน ถูกต้อง  สัญลักษณ์ (notations) เครื่องหมายที่กาหนดขึ้นแทนเนื้อหาของหนังสือในหมวดหมู่ตาง ๆ ่ 12 3 ๑๒ ๓ AZXDพมยก  , . : ;  สัญลักษณ์บริสุทธิ์ (pure notation) ที่ใช้เฉพาะตัวเลขหรือตัวอักษรแต่ เพียงอย่างเดียว เช่น สัญลักษณ์ของระบบทศนิยมดิวอี้ เป็นตัวเลข  สัญลักษณ์ผสม (mixed notation) ใช้ทั้งตัวอักษรและตัวเลข หรือ ตัวอักษร ตัวเลข และเครื่องหมายวรรคตอนผสมกัน เช่น สัญลักษณ์ของ ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก 38
  • 39. ระบบการจัดหมู่หนังสือทีดี ่  ดรรชนี (index) ระบบจัดหมู่มีลักษณะพิเศษต่างจากดรรชนีของหนังสือทั่ว ๆ ไปตรงที่ใน เรื่องย่อย ๆ จะมีเลขหมู่หนังสือกากับไว้แทนที่จะบอกเลขหน้า ช่วยให้ การกาหนดเลขหมู่สาหรับหนังสือแต่ละเล่มสะดวกรวดเร็ว เพราะจะเป็น แนวทางสาหรับเปิดหาเลขหมู่จากแผนการจัดหมู่หนังสือ ให้ได้เลขหมู่ที่ เหมาะสมกับหนังสือมากที่สุด ดรรชนีของระบบจัดหมู่หนังสือแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ  ดรรชนีเฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่ง (specific index) จะนาหัวเรื่องย่อย ๆ มา เรียงลาดับตามตัวอักษร และมีเลขหมู่กากับเฉพาะเรื่องที่มีลาดับใน ดรรชนี  ดรรชนีสัมพันธ์ (relative index) จะนาหัวเรื่องย่อย ตลอดจนหัวข้อ วิชาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องนั้นทุกด้านมาจัดเรียงไว้ รวมทั้งการใช้ คาพ้องและคาที่มีความหมายเป็นอย่างเดียวกัน แล้วมีเลขหมู่กากับไว้  การจัดพิมพ์เป็นรูปเล่ม ระบบการจัดหมู่ควรมีการจัดพิมพ์แผนการจัดหมู่เป็นรูปเล่ม เพื่อสะดวกต่อ การใช้เป็นคู่มือปฏิบัติงาน จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก 39
  • 40. หลักเกณฑ์ทั่วไปในการจัดหมู่หนังสือ จัดหมู่ตามเนื้อหาก่อนจัดตามรูปแบบ  พิจารณาเนื้อหาของหนังสือ  ไม่พิจารณาจากชื่อเรื่องหรือประเภทของหนังสือแต่เพียงอย่างเดียว หนังสือบางเล่มชื่อเรื่องอาจสัมพันธ์กับเนื้อเรื่องเพียงบางตอนเท่านั้น  จัดหนังสือไว้ในหมวดที่จะมีประโยชน์ตอผูใช้หองสมุดมากที่สด ่ ้ ้ ุ  หนังสือด้านวรรณคดี เช่น โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน บทละคร ฯลฯ จะไม่ คานึงถึงเนื้อหาวิชาเป็นหลัก แต่จะพิจารณาจากภาษาและลักษณะการ ประพันธ์ วรรณคดีนั้น ๆ ให้จัดหมู่หนังสือตามสาขาวิชาก่อน และเพื่อให้ ได้เลขหมู่ที่เฉพาะและไม่ซ้า แล้วจึงจาแนกหมู่ย่อยไปตามประเทศ หรือ เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ หรือตามวิธีเขียน จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก 40
  • 41. หลักเกณฑ์ทั่วไปในการจัดหมู่หนังสือ จัดหมู่ตามวัตถุประสงค์ของผู้เขียน ควรยึดวัตถุประสงค์หรือจุดมุ่งหมายของผูเขียนหนังสือเป็นแนวทางในการ ้ พิจารณากาหนดเลขหมู่ เพราะผู้เขียนมักจะบอกให้ทราบอย่างย่อ ๆ ว่า หนังสือเล่มนั้นเกี่ยวข้องกับวิชาใดบ้าง หนังสือที่มี 2 หรือ 3 เนื้อเรื่อง  ให้จัดหมู่ตามเรื่องที่จะเป็นประโยชน์ตอผูใช้ห้องสมุดมากที่สด ่ ้ ุ  ให้จัดหมู่ตามเรื่องที่เน้นหนักมากกว่า  ถ้าทุกเรื่องมีความสาคัญเท่ากันแต่ไม่มีความเกี่ยวเนื่องกัน ให้จัดหมู่ตาม เรื่องที่มีจานวนหน้ามาก แต่ถ้าจานวนหน้าไล่เลี่ยกันก็ให้จัดหมู่ตามเรื่อง ที่ปรากฏเป็นลาดับแรกในเล่ม  กรณีที่เรื่องทั้ง 2 มีความสาคัญเท่ากันและต่อเนื่องกัน ให้จัดหมู่ไว้ที่ เรื่องแรกที่ปรากฏในตารางแผนการจัดหมู่  ถ้าไม่มีการเน้นหนักเนื้อหาใดเนื้อหาหนึ่ง ควรพิจารณาเลขหมู่กว้าง ๆ ที่ ครอบคลุมเนื้อหาเหล่านั้น จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก 41
  • 42. หลักเกณฑ์ทั่วไปในการจัดหมู่หนังสือ หนังสือที่มีเนื้อเรื่องตั้งแต่สเรื่องขึ้นไป ี่  แต่ละเรื่องเป็นเรื่องย่อย ๆ ของหมวดใหญ่ ให้จัดหมู่ตามเรื่องที่ครอบคลุมเนื้อหาวิชาทั้งหมด หนังสือที่มีเนื้อเรื่องเกี่ยวกับความร้อน แสง เสียง และกลศาสตร์ ซึ่งต่างก็เป็นเนื้อเรื่องย่อยของหมวดฟิสิกส์ ให้จัดหมู่ไว้ที่หมวด 530 ฟิสิกส์ ไม่จัดไว้ที่หมวด 500 วิทยาศาสตร์ เพราะเป็นเลขหมู่ที่กว้างเกินไป  ถ้าทั้งสี่เนื้อเรื่องนั้นไม่มีความสัมพันธ์กัน ควรจัดหมู่ไว้ในหมวดความรู้ ทั่วไป จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก 42
  • 43. หลักเกณฑ์ทั่วไปในการจัดหมู่หนังสือ หนังสือแปล หนังสือที่กล่าวถึงการวิจารณ์หนังสือเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หนังสือคู่มือ หนังสือตอบคาถาม หรือหนังสือที่ดัดแปลงมาจากเรื่องใดเรื่องหนึ่งให้จัด หมู่ไว้กับเรื่องเดิม คือให้เลขหมู่เดียวกับหนังสือซึงเป็นต้นฉบับเดิม เพื่อ ่ ผู้ใช้จะได้พบหนังสือต้นฉบับและหนังสือแปลบนชั้นเดียวกัน หนังสือชุด  หนังสือชุดที่มีชอเรื่องอย่างเดียวกัน ให้จัดหมู่ไว้ด้วยกัน ื่  แต่ถ้าเป็นหนังสือชุดที่มีหลายเล่ม แต่ละเล่มมีชื่อเรื่องแตกต่างกัน ให้จัด หมู่ทีละเล่ม พิจารณาถึงวัตถุประสงค์ของห้องสมุด ให้พิจารณาวัตถุประสงค์ นโยบาย และประเภทผู้ใช้ห้องสมุด ประกอบการให้เลขหมู่ด้วย หนังสือเรื่องการจับปลา ห้องสมุดเกษตรจะจัดหมู่ไว้ที่ 639 ห้องสมุดเฉพาะสาหรับนักกีฬาอาจจัดให้เป็น 799 ก็ได้ จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก 43
  • 44. หลักเกณฑ์ทั่วไปในการจัดหมู่หนังสือ หนังสือที่กล่าวถึงลักษณะของวิชา ให้จัดหมู่หนังสือเกี่ยวกับวิชานั้น ๆ ไม่ใช่เกี่ยวกับลักษณะของวิชา นอกจากลักษณะดังกล่าวได้แสดงถึงเนื้อหาของหนังสือ เช่น หนังสือ เรื่อง Sociology aspects of education ให้จัดหมู่ไว้ที่การศึกษา ไม่ใช่ สังคมวิทยา หนังสือชีวประวัติ  ห้องสมุดประชาชนมักจัดหมู่แยกเป็นหมวดต่างหาก  ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาและห้องสมุดเฉพาะมักจัดตามประเภท สาขาวิชาของเจ้าของชีวประวัติ เช่น ชีวประวัติของนักวิทยาศาสตร์ไทย ให้เลขหมู่ตามเนื้อหาวิชา คือ วิทยาศาสตร์ ไม่จัดไว้ที่หมวดชีวประวัติ ทั่วไป หนังสือที่กล่าวถึงบุคคลและประเทศ ให้จัดหมู่ภายใต้ชอประเทศ หากมีเนื้อหา เป็นชีวประวัติของบุคคลใด ื่ บุคคลหนึ่งซึ่งมีเรื่องเกี่ยวข้องกับการเมือง เศรษฐกิจ หรือการพัฒนาการ สังคม หนังสือเล่มดังกล่าวจะจัดหมู่ในเรื่องใดเรื่องหนึ่งของเรื่องทั้ง 3 ตามประเทศหรือตามประวัติศาสตร์ทั่วไปของประเทศ จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก 44
  • 45. หลักเกณฑ์ทั่วไปในการจัดหมู่หนังสือ การจัดหมู่หนังสือหมวดที่ยังเป็นปัญหา  ไม่ควรใช้เลขหมู่ที่ยังไม่ได้กาหนดในแผนการจัดหมู่หนังสือ  อย่ากาหนดเลขหมู่สาหรับเนื้อหาวิชาทียังเป็นปัญหาขึ้นเอง ่  ควรพิจารณาอย่างรอบคอบ โดยสารวจเรื่องที่ใกล้เคียงและเกี่ยวข้องกัน มากที่สุดที่ปรากฏในแผนการจัดหมู่ รวมทั้งหลักเกณฑ์ต่าง ๆ เสียก่อน เพื่อนามาพิจารณาในการกาหนดเลขหมู่หนังสือนั้น กรณีที่หนังสือมี 2 ความเห็นอันขัดแย้งกัน  การจัดหมู่หนังสือที่มีความคิดเห็นขัดแย้งกัน เรื่องหนึ่งได้รับการรับรอง จากผู้แต่ง และอีกเรื่องหนึ่งผู้แต่งตาหนิและไม่เห็นชอบด้วย ให้จัดหมู่ภายใต้เรื่องที่ผแต่งสนับสนุน ู้ จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก 45
  • 46. ขั้นตอนการปฏิบติงานจัดหมู่หนังสือ ั 1. ศึกษาคู่มือในการจัดหมู่หนังสือ  ต้องมีคู่มือสาหรับใช้ในการจัดหมู่หนังสือ  ให้ผู้จัดหมู่ศกษาแผนการจัดหมู่เล่มที่ใช้ให้เข้าใจ ึ 2. ตรวจสอบหนังสือที่ห้องสมุดได้รับมาใหม่  ตรวจดูว่าเคยมีหนังสือนั้นในห้องสมุดหรือไม่ ถ้าหนังสือเล่มใดมีอยู่แล้วให้จดเลขเรียกหนังสือไว้ เพื่อจะได้กาหนด เลขหมู่ให้เหมือนกัน และกรณีที่เป็นหนังสือซ้าเล่มจะได้ลงเลขลาดับ ฉบับต่อเนื่องได้ถูกต้อง 3. พิจารณาอย่างคร่าวๆ เพื่อแยกหมวดหมู่ของหนังสือ  หนังสือใหม่ที่ไม่เคยมีมาก่อน ให้นาหนังสือมาแยกออกเป็นหมวดใหญ่ อย่างคร่าว ๆ  จัดหมู่หนังสือไปทีละหมวด เพื่อจะได้เปรียบเทียบเนื้อหาของหนังสือแต่ ละเล่มในหมวดเดียวกัน จะช่วยให้กาหนดเลขหมู่ได้ถูกต้องและรวดเร็ว จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก 46
  • 47. ขั้นตอนการปฏิบติงานจัดหมู่หนังสือ ั 4. เลือกกาหนดเลขหมู่เล่มที่ง่ายก่อน  เลือกหนังสือเล่มที่ง่ายมากาหนดเลขหมู่ก่อน  หนังสือเล่มที่มีปัญหาในการกาหนดเลขหมู่ เช่น ไม่แน่ใจในการ พิจารณาตัดสินเนื้อหาว่าเป็นหนังสือสาขาวิชาใด ควรเก็บไว้ก่อนเพื่อ ปรึกษาหารือกับผู้รู้ในสาขาวิชานั้น ๆ 5. พิจารณาเนื้อเรื่องของหนังสือ  พิจารณาจากส่วนต่าง ๆ ของหนังสือ เพื่อให้ทราบว่าหนังสือเล่มนั้นมี เนื้อเรื่องโดยทั่วไปเกี่ยวกับเรื่องใด ส่วนต่าง ๆ ของหนังสือที่จะให้ รายละเอียดเกี่ยวกับเนื้อเรื่องได้แก่ จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก 47
  • 48. ขั้นตอนการปฏิบติงานจัดหมู่หนังสือ ั 5. พิจารณาเนื้อเรื่องของหนังสือ ชื่อเรื่อง  ชื่อเรื่องของหนังสือส่วนใหญ่มักมีความสัมพันธ์กับเนื้อเรื่อง  การอ่านชื่อเรื่องจะช่วยให้บรรณารักษ์ทราบเนื้อเรื่องอย่างกว้าง ๆ  หนังสือบางเล่มอาจมีชื่อเรื่องไม่ตรง หรือ สอดคล้อง หรือ เกี่ยวข้องกับ เนื้อเรื่องของหนังสือ บรรณารักษ์จึงต้องอ่านส่วนอื่นของหนังสือ ประกอบการพิจารณาด้วย คานา  แสดงถึงที่มาขอบเขต และวัตถุประสงค์ในการเขียนของผู้เขียนหนังสือ สารบาญ  กล่าวถึงรายละเอียดของหนังสือแต่ละเล่มว่าแบ่งออกเป็นกี่บท แต่ละบท มีหัวข้ออะไรบ้าง และอยู่ที่หน้าใด  ช่วยให้ทราบเนื้อหาของหนังสือได้ชัดเจนขึ้น จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก 48
  • 49. ขั้นตอนการปฏิบติงานจัดหมู่หนังสือ ั 5. พิจารณาเนื้อเรื่องของหนังสือ บทนา เป็นบทแรกของหนังสือที่ให้รายละเอียดเกี่ยวกับหนังสือเล่มนั้น บรรณานุกรม รายชื่อเอกสารที่ผู้แต่งใช้คนคว้าประกอบการเขียนหนังสือ ้ ข้อมูลรายการในสิ่งพิมพ์ (cataloging in publication - CIP) เป็นข้อมูลที่สานักพิมพ์จัดพิมพ์ไว้ที่ด้านหลังของหน้าปกใน หรือ หน้า ลิขสิทธิ์ ของหนังสือเล่มนั้น ๆ มักจะให้เลขหมู่หนังสือทั้ง ระบบทศนิยม ของดิวอี้ และระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน รวมทั้งหัวเรื่อง จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก 49
  • 50. ขั้นตอนการปฏิบติงานจัดหมู่หนังสือ ั อ่านเนื้อเรื่องบางบท หากยังได้รายละเอียดไม่พอเพราะหนังสือนั้นมีเนื้อเรื่องซับซ้อน ให้อ่าน เนื้อเรื่องบางบทหรือบางตอนอย่างคร่าว ๆ หนังสืออ้างอิงบางประเภท เป็นเครื่องมือที่ดีสาหรับหาความรู้เกี่ยวกับเนื้อเรื่องของหนังสือที่เป็น ปัญหาได้อย่างกว้างขวาง ตัวอย่างเช่น บรรณานุกรม สารานุกรม พจนานุกรม คู่มือวรรณกรรมในสาขาวิชาต่าง ๆ ตลอดจนหนังสือวิจารณ์ หนังสือ ผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชาต่าง ๆ หนังสือนั้นมีเนื้อเรื่องเฉพาะสาขาวิชาและยากเกินกว่าที่บรรณารักษ์จะมี ความรู้มากพอที่จะตัดสินใจได้ ควรขอความร่วมมือจากผู้เชี่ยวชาญในแต่ ละสาขาวิชาให้ช่วยพิจารณา จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก 50
  • 51. ขั้นตอนการปฏิบติงานจัดหมู่หนังสือ ั ฝึกใช้แผนการจัดหมู่หนังสือให้คล่อง  จาหมวดใหญ่ของระบบการจัดหมู่หนังสือได้  ทราบเนื้อหาของหนังสือและตัดสินว่า หนังสือนั้นอยู่ในหมวดใด  ตรวจดูว่าจะจัดเป็นหมวดอื่นได้อีกหรือไม่  ถ้าไม่มีทางเป็นไปได้ให้ใช้หมวดที่ตกลงใจไว้แต่แรก  พิจารณาดูว่าสามารถแบ่งย่อยได้อีกหรือไม่ ควรใช้หมู่ย่อยใด จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก 51
  • 52. ขั้นตอนการปฏิบติงานจัดหมู่หนังสือ ั ใช้เครื่องมือช่วยในการจัดหมู่  ฐานข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดต่าง ๆ (web OPAC) จะช่วยให้ทราบถึงหัวเรื่องและเลขหมู่ของหนังสือเล่มนั้นที่ห้องสมุดอื่น ๆ กาหนดใช้ นามาตัดสินใจว่าจะให้เลขหมู่ และหัวเรื่องใดจึงจะเหมาะสม  ฐานข้อมูลสหบรรณานุกรม (union catalog) บันทึกเลขหมู่  ตัวเล่มหนังสือ โดยบันทึกที่หน้าหลังปกในและหน้าเฉพาะ  แผ่นบันทึกข้อมูลรายการสืบค้น หรือ บัตรรายการ จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก 52
  • 55. จัดกลุ่มรูปภาพต่อไปนี้ เป็นกลุ่ม 3 ให้มากแบบที่สุด Car Tree Train Books Cow Television Computer Fish Ball Cake Lamp Man จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก 55
  • 56. ตัวอย่าง การจัดกลุ่ม  มีชีวิต เคยมีชีวิต ไม่เคยมีชีวิต จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก 56
  • 57. การบ้าน 1. ให้นศ.แบ่งกลุ่ม ๆ ละ 5 คน ทารายงานเรื่องประวัติการจัดหมู่ หนังสือในประเทศไทย ส่งสัปดาห์หน้าก่อนวันเรียน 1 วัน 2. ให้นศ. ทุกคนทา MindMap ของบทที่ 1 ส่งสัปดาห์หน้า 3. ให้นศ. ทุกคน จัดกลุ่มของสัตว์ต่อไปนี้ว่าจัดได้กี่แบบ ส่ง สัปดาห์หน้า จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก 57
  • 58. จัดกลุ่มของสัตว์ อูฐ งูเหลือม หงส์ดา ปลาโลมา ห่านฟ้า นกเพนกวิน เป็ด นกกีวี ปลาวาฬ เสือ พะยูน ฮิปโปโปเตมัส ยีราฟ จระเข้ ม้าลาย เต่า กิ้งก่า สุนัขจิ้งจอก ไก่ฟ้า สิงโต นกอีมู ช้าง สิงโตทะเล นกกระจอกเทศ นกยูง หมีแพนด้า กวาง จิงโจ้ อีเห็น อีกัวน่า จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก 58