SlideShare a Scribd company logo
1 of 85
Download to read offline
อ. ประภาพรรณ ฝ่ายเทศ
วิชา เคมี

1
1. ตารางธาตุปัจจุบัน วิธีการจัดตารางธาตุ

2. สมบัติทางกายภาพและเคมีของธาตุตามตารางธาตุ
3. โลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ และสารประกอบ
4. แก๊สมีตระกูล

2
1. ตารางธาตุปัจจุบัน
แบ่งธาตุออกเป็น 18 คอลัมน์ ในแนวตั้ง เรียก
“หมู่ (group)”
ตามแนวนอน แบ่งเป็น 7 คาบ (period)

 ธาตุในหมู่เดียวกันมีสมบัติคล้ายกัน การจัดเรียง
อิเล็กตรอนคล้ายกันต่างกันที่เลขควอนตัมหลักเท่านั้น
3
แต่ละหมู่ ประกอบด้วย กลุ่มย่อย A, B ที่ระบุหมู่ด้วยเลข
โรมัน (I, II, III..)
หมู่ IA, IIA จัดเรียงเวเลนต์อิเล็กตรอนเป็น ns1 และ ns2
ตามลาดับ
 หมู่ IIIA ถึง VIIA และ 0 มีเวเลนต์อิเล็กตรอนอยู่ในชั้น
np ตั้งแต่ np1 - np6 ตามลาดับ
4
ธาตุหมู่ IA ถึง VIIA และ 0 เรียก “ธาตุเรพรีเซนเตติฟ”
ธาตุในหมู่ IB ถึง VIIIB จาแนกจากการที่มีเวเลนต์
อิเล็กตรอนบรรจุใน d - orbitals = ns2 (n-1)dx เรียกว่า

“ธาตุแทรนซิชัน”
ธาตุใน 2 แถวด้านล่างของตารางธาตุ เรียกว่า “อนุกรม
แลนทาไนด์ และแอกทิไนด์”
5
ออร์บิทัลชั้นนอกสุดของธาตุในตารางธาตุ
ธาตุเรพรีเซนเตติฟ

ธาตุแทรนซิชัน

6
7
ธาตุเรพรีเซนเตติฟ
กลุ่ม p

กลุ่ม s
กลุ่ม d
ธาตุทรานสิชัน

กลุ่ม f (แลนทาไนด์ และแอกทิไนด์)

8
solid

Alkali
metals
Alkali earth
metals

liquid

gas

Halogens

Noble gases

Rare earth
metals

other metals

Other
nonmetals

transition
metals 9
2. แนวโน้มของสมบัติทางกายภาพ
2.1 ชนิดของพันธะเคมีและความแข็งแรงของ
พันธะ
อะตอมของธาตุอยู่รวมกันเป็นกลุ่มได้ เนื่องจากมีแรง
ยึดเหนี่ยวซึ่งกันและกัน แรงยึดเหนี่ยวมีผลต่อสมบัติ
ของธาตุนั้นๆด้วย
10
พันธะโลหะ
*พบในธาตุกลุ่ม s, d, f และ p บางส่วน

โลหะที่มีเวเลนต์ e- มากและ ขนาดเล็ก
จะมีพันธะโลหะที่แข็งแรง
11
มาก

พันธะโลหะ

มาก

12
www.webelements.com

13
พันธะโคเวเลนต์ (โมเลกุลเดี่ยว)
- พันธะจากการใช้เวเลนต์อิเล็กตรอนร่วมกันของธาตุอโลหะ

ในหมู่เดียวกันพิจารณาจากขนาดอะตอม
ขนาดอะตอมใหญ่ขึ้นจากบนลงล่าง

พันธะโคเวเลนต์แข็งแรงลดลง
พันธะแข็งแรงในอะตอมขนาดเล็ก
14
ในคาบเดียวกัน พิจารณาจาก
“จานวนเวเลนต์ e- ที่ใช้สร้างพันธะ”

ตัวอย่าง
N มี 5 เวเลนต์ e- แต่มี e- ที่เกิดพันธะได้เพียง 3 e- พันธะสามใน N2
O มี 6 เวเลนต์ e- และมี e- ที่เกิดพันธะได้เพียง 2 e- พันธะคู่ใน O2
ความแข็งแรงของพันธะโคเวเลนต์ลดลงจากซ้ายไปขวา
15
พันธะโคเวเลนต์

มาก

มาก

16
แรงแวนเดอร์วาลส์
โมเลกุลเดี่ยวของธาตุอโลหะจะยึดกันด้วย
แรงแวนเดอร์วาลส์ ซึ่งเป็นแรงระหว่าง
โมเลกุลที่ค่อนข้างอ่อน
แนวโน้มแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลเดี่ยว

 โมเลกุลขนาดใหญ่ขึ้น
แรงแวนเดอร์วาลล์เพิ่มขึ้น เช่น S8 กับ O2 และ I2 กับ Cl2
17
มาก

มาก

แรงลอนดอน
(โมเลกุลเดี่ยว)
18
2.2 ความหนาแน่น
ความหนาแน่นของธาตุหนึ่งขึ้นอยู่กับ 3 ตัวแปรคือ
มวลของอะตอม,
ขนาดของอะตอม,
ชนิดของพันธะเคมี

19
แยกพิจารณาตามชนิดของรูปแบบการจัดเรียงตัว
ได้ดังนี้
โลหะ

ธาตุที่มีขนาดเล็กกว่า
มีมวลมากกว่า มีพนธะโลหะแข็งแรงกว่า
ั
จะมีความหนาแน่นมากกว่า

ดังนั้น ความหนาแน่นจะเพิ่มขึ้นจากซ้ายไปขวา
เช่น Be มีความหนาแน่นมากกว่า Li
20
21


ในหมู่เดียวกัน
“ธาตุหนักมีความหนาแน่นมากกว่าธาตุเบา”

เพราะมีอัตราการเพิ่มของมวลเร็วกว่าการเพิ่มปริมาตร

เช่น K (เลขมวล 39) และ Rb (เลขมวล 85) มีรัศมีอะตอม
เป็น 203 และ 216 pm ตามลาดับ จะเห็นว่า ขนาดของ

อะตอมเพิ่มขึ้น ~20 % แต่มวลเพิ่มขึ้นถึง 120 % ความ
หนาแน่นของ Rb จึงควรสูงกว่า
22
โมเลกุลเดี่ยว
กลุ่มธาตุทางด้านขวาของตารางธาตุ
มีความหนาแน่นต่ากว่ากลุ่มโลหะและกลุ่มกึ่งโลหะ

เนื่องจากมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลน้อยกว่า
แต่เมื่อธาตุขนาดใหญ่ขึ้นจะมีความหนาแน่นสูงขึ้น
ตามแรงดึงดูดที่มากขึ้น
23
กลุ่มโครงร่างตาข่าย
อะตอมอยู่ใกล้ชิดกันมาก มีความหนาแน่นปานกลาง
ธาตุแทรนซิชันซึ่งมีขนาดเล็กและมวลมาก มีพันธะโลหะ
แข็งแรง “มีความหนาแน่นสูงที่สุดในคาบ” และธาตุในคาบ
สูงๆ มีแนวโน้มความหนาแน่นสูงขึ้น
มวลอะตอมเพิ่มขึ้นมากแต่ขนาดอะตอมเพิ่มขึ้นเล็กน้อย
24
25
2.3 จุดเดือดและจุดหลอมเหลว
การหลอมเหลว = การใช้พลังงานความร้อนแยก
โมเลกุลที่จัดตัวเป็นระเบียบให้ห่างจากกัน ให้
สามารถเคลื่อนที่ไปมาได้
การกลายเป็นไอ = เป็นการให้พลังงานความร้อน
จนกระทั่งโมเลกุลแยกจากกันโดยเด็ดขาดใน
สภาวะแก๊ส
26
แนวโน้มของจุดเดือดและจุดหลอมเหลวตามคาบ แสดงถึง
“การเปลี่ยนแปลงชนิดของพันธะและโครงสร้างของธาตุ”

หมู่ IA

Na Mg
K
Rb
Cs
ต่า

หมู่ IVA

Al

Si

สูง
27
•Na Mg และ Al อะตอมยึดกันด้วยพันธะโลหะ
จุดหลอมเหลวเพิ่มขึ้นตามพันธะที่แข็งแรงขึ้น

Si อยู่ในรูปโครงร่างตาข่ายที่แข็งแรง(โครงสร้างคล้าย
เพชร) จึงมีจุดหลอมเหลวสูง

28
ธาตุแทรนซิชัน มีอะตอมเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโลหะ
เป็นธาตุที่มีความหนาแน่นสูง เนื่องจากมีมวลมาก
ขนาดเล็กและมีพันธะโลหะที่แข็งแรง
*เป็นกลุ่มที่มีจุดหลอมเหลวสูงทีสุด*
่
กลุ่มธาตุที่เป็นโครงร่างตาข่ายมีจุดหลอมเหลวรองลงมา
29
หมู่ VA

P

สูง

หมู่ 0

S

Cl
Br
I

Ar
Kr
Xe
ต่า

ธาตุที่มีโครงสร้างเป็นโมเลกุลเดี่ยว ใช้ความร้อน
ในการทาลายแรงแวนเดอร์วาลล์ซึ่งอ่อน
จุดหลอมเหลวจึงต่า แต่สูงขึ้นเมื่อโมเลกุลใหญ่ขึ้น
30
31
เลขออกซิเดชัน
แสดงถึงค่าประจุไฟฟ้าสมมติของไอออนหรืออะตอมของธาตุนั้น
กฎ

เลขออกซิเดชัน

1. เลขออกซิเดชันของธาตุอิสระ

0

2. ผลรวมของเลขออกซิเดชันของธาตุในสูตรที่ไม่มีประจุ

0

3. ผลรวมของเลขออกซิเดชันของธาตุในสูตรที่มีประจุ
4. เลขออกซิเดชันของฟลูออรีนในสูตรใดๆ

ประจุ
-1
32
กฎ

เลขออกซิเดชัน

5. เลขออกซิเดชันของโลหะอัลคาไลในสูตรใดๆ

+1

6. เลขออกซิเดชันของโลหะอัลคาไลเอิร์ธในสูตรใดๆ

+2

7. เลขออกซิเดชันของออกซิเจน (ยกเว้นเปอร์ออกไซด์ = -1)

-2

8. เลขออกซิเดชันของแฮโลเจนในโลหะเฮไลด์

-1

9. เลขออกซิเดชันของไฮโดรเจน (ยกเว้นในโลหะเฮไลด์ = -1)

+1

33
3. แนวโน้มสมบัติทางเคมี
3.1 แนวโน้มของเลขออกซิเดชัน
• ธาตุในหมู่แรกๆ มีเลขออกซิเดชันเท่ากับเลขหมู่

เช่น ธาตุหมู่ IA มีเลขออกซิเดชันเป็น +1 หมู่ IIA มี

เลขออกซิเดชันเป็น +2
• ธาตุหมู่อื่นๆ มักมีเลขออกซิเดชันได้มากกว่า 1 ค่า
34
Inert pair effect
“ปรากฏการณ์แสดงแนวโน้มเลขออกซิเดชันที่เสถียร
ของธาตุที่หนักขึ้นในหมู่เดียวกันมีค่าต่าลง”
พบในโลหะกลุ่ม p เช่นหมู่ IIIA และธาตุหนักหมู่ IVA
มีเลขออกซิเดชันสองค่าที่ห่างกัน 2 หน่วย ตามการจัด
เวเลนต์ e- แบบ ns2 npx
35
เช่น

หมู่ IIIA (ns2 np1) มีเลขออกซิเดชันเป็น +1 และ

+3
 เมื่อธาตุหนักขึ้น

เลขออกซิเดชันค่าต่าจะเสถียรขึ้น

Al

มีเพียง +3

In

+3

Tl

มีทั้ง +1, +3 แต่ +1 เสถียรกว่า

36
ในโลหะที่หนักขึ้น คาดว่าระดับพลังงานของ ns-orbital อยู่
ต่ากว่า np-orbital พอประมาณ


ดังนั้นเมื่อ e- ใน np-orbital หลุดออก e- ใน ns-orbital จะ
ถูกดึงแน่นขึ้นตามจานวนโปรตอนในนิวเคลียสที่มีมาก
การที่ ns e- จะหลุดออกจึง ยากกว่า ในธาตุเบาที่มีจานวน
โปรตอนน้อยกว่า
+

++++
++++

37
เลขออกซิเดชันของอโลหะ


ถ้าปรากฏเป็นไอออนลบในสารประกอบไอออนิกมักมีเลข
ออกซิเดชันค่าเดียว คือเท่ากับจานวน e- ที่รับเข้ามาเมื่อ
ให้เป็นไปตามกฎออกเตต เช่น Cl- , S2- , O2-



ถ้าเกิดสารประกอบโคเวเลนต์ อาจมีเลขออกซิเดชัน
เป็น + หรือ – ขึ้นอยู่กับธาตุที่สร้างพันธะด้วย
38
สรุป
 โลหะมักมีเลขออกซิเดชันเป็น + , อโลหะมีเลข
ออกซิเดชันทั้ง + และ –


เลขออกซิเดชันสูงสุดของธาตุเรพรีเซนเตติฟสามารถมี
ได้เท่ากับเลขหมู่ของธาตุนั้น เช่น หมู่ VIIA เลข
ออกซิเดชันสูงสุดคือ +7
39
3.2 ความว่องไวและศักย์ไฟฟ้ามาตรฐาน


แนวโน้มการให้และรับอิเล็กตรอนของธาตุนั้นๆ



ความสามารถในการเป็นตัวรีดิวซ์หรือตัวออกซิไดซ์

Na+ + e-

Na E0 = -2.71

F2 + 2e-

2F- E0 = +2.87

Na

F (ตัวออกซิไดซ์ที่แรง)

Cs

I

Cs+ + eCs E0 = -2.95
(ตัวรีดิวซ์ที่แรง)

I2 + 2e-

2I- E0 = +0.54
40


แนวโน้มเป็นไปตามค่า IE และ EN



จากค่า IE โลหะเมื่อหนักขึ้น ว่องไวมากขึ้น เป็นตัว
รีดิวซ์ที่ดีขึ้น เพราะเสีย e- ได้ง่ายขึ้น



จากค่า EN อโลหะเป็นตัวออกซิไดซ์ ขนาดยิ่งเล็ก ยิ่งรับ
อิเล็กตรอนได้ดี



กึ่งโลหะค่อนข้างเฉื่อยต่อปฏิกิริยาเพราะมีโครงสร้างเป็น
โครงร่างตาข่ายทีแข็งแรง
่
41
4. แนวโน้มความเป็นกรด-เบสของสารประกอบ
4.1 ออกไซด์และไฮดรอกไซด์

M-O , M-OH

 ออกไซด์ที่เป็นกรดเมื่อละลายน้าจะได้กรด

 ออกไซด์ที่เป็นเบสเมื่อละลายน้าจะได้เบสหรือทา
ปฏิกิริยากับกรดได้เกลือ
 ไฮดรอกไซด์เป็นสารประกอบที่มีหมู่ -OH
42
M-O ของธาตุด้านล่างมี พิจารณาจากผลต่างของค่าอิเล็กโตรเนกาติวิตี
ความเป็นไอออนิกมากขึ้น
เป็นโคเวเลนต์มากขึ้น (ENเข้าใกล้
O)

โคเวเลนต์

ไอออนิก
43
เป็นกรดมากขึ้น

δ-

δ+

O

δ+

H

H

Cs+

O2-

กรด

เป็นเบส
มากขึ้น

Na+

เบส

แอมโฟเทอริก

O2-

δ+
N

คาบเดียวกัน ผลต่างของ EN ระหว่าง M-O ลดลงจากซ้าย
ไปขวา การเสีย Ö ยากขึ้น เป็นเบสที่อ่อนลง จนกระทั่ง
กลายเป็นกรด

δO

44
ธาตุที่มีเลขออกซิเดชันหลายค่า ความเป็นกรดจะแรงขึ้น
ตามลาดับของเลขออกซิเดชันจากต่าไปหาสูง
+1

+3

+5

+4

+7

+6

HOCl < HClO2 < HClO3 < HClO4
H2SO3 < H2SO4

45
4.2 ไฮไดรด์ (Hydrides)
สารประกอบระหว่างธาตุหนึ่ง (M) กับไฮโดรเจน
 ไฮไดรด์ไอออนิก มีพันธะไอออนิก ระหว่าง M+ และ H- โดย M
คือ ธาตุในกลุ่ม s เกือบทั้งหมด
 ไฮไดรด์เมตาลิก ไม่มีสูตรโมเลกุลแน่นอน เพราะเป็นการแทรก
ในผลึกโลหะของธาตุแทรนซิชัน
ไฮไดรด์โคเวเลนต์ พันธะโคเวเลนต์ระหว่างธาตุในกลุ่ม p กับ H
46
ความเป็นเบส

(H-)

ความเป็นกรด (H+)

กลุ่ม s

กลุ่ม p

ไฮไดรด์ไอออนิก

ไฮไดรด์โคเวเลนต์

47
ความเป็นกรดของไฮไดรด์โคเวเลนต์
พิจารณาจากปัจจัยสาคัญ 3 ประการคือ
•

อิเล็กโตรเนกาติวิตีของ M ยิ่งสูงมาก H กลายเป็น H+
ได้ง่าย

•

M เป็นธาตุที่หนักขึ้น ความแข็งแรงพันธะ M-H ลดลง

•

ถ้าโมเลกุลไฮไดรด์มีพันธะไฮโดรเจนมาก โอกาสที่ H
หลุดเป็น H+ ยิ่งน้อยลง
48
ธาตุเรพรีเซนเตติฟ
ธาตุที่มีเวเลนต์อิเล็กตรอนบรรจุใน s และ p-ออร์บิทัล

โดยใน d และ f-ออร์บิทัล อาจไม่มีการบรรจุ e- เลย
หรือ มีการบรรจุเต็มหมด

49
กลุ่ม s ได้แก่ ธาตุหมู่ 1 , 2
กลุ่ม p ได้แก่ ธาตุหมู่ 13 , 14 , 15 , 16 , 17 , 18

 ธาตุหมู่ 12 (Zn, Cd, Hg) จัดเรียง e- แบบ (n-1)d10ns2 ควร
เป็นธาตุเรพรีเซนเตติฟ แต่สมบัติบางประการอยู่ระหว่าง
ธาตุแทรนซิชันและธาตุเรพรีเซนเตติฟ จึงแยกพิจารณา
50
51
โลหะ - ของแข็งที่อุณหภูมิห้อง นาไฟฟ้าและความร้อนได้ดี
- ตีแผ่ ดึงเป็นเส้นได้,

- สารประกอบออกไซด์มีสมบัติเป็นเบส
- มักมีเลขออกซิเดชันเป็น + ในสารประกอบ

โลหะมีเวเลนต์ e- น้อย, มี IE, EA ต่า โลหะจึงไม่ทาปฏิกิริยา
กันเอง แต่จะเกิดปฏิกิริยากับอโลหะ โดยโลหะให้ e- เกิดเป็น
ไอออน + พันธะไอออนิกจึงเป็นพันธะของสารประกอบโลหะส่วน
ใหญ่
52
อโลหะ

• ของแข็ง หรือก๊าซ ที่อุณหภูมิห้อง
• สารประกอบออกไซด์สมบัติเป็นกรด
• IE, EA สูง ระดับพลังงานชั้นนอกสุดเกือบเต็มด้วย e• อโลหะรวมตัวกันได้เองเกิดเป็นโมเลกุลโคเวเลนต์

53
กึ่งโลหะ (metalloid)
§ Metalloid หมายถึง like a metal

§ ลักษณะไม่เหมือนทั้งโลหะและอโลหะแต่มีสมบัติของทั้งสอง
§ เป็นของแข็งที่แข็งเปราะ

§ มีค่า EN ปานกลาง สารประกอบออกไซด์เป็นแอมโฟเทอริก
หรือกรดอ่อน
§ ธาตุที่มีสมบัติเป็นกึ่งโลหะได้แก่ B (13), Si และ Ge (14),
As และ Sb (15), Se และ Te (16)
54
โลหะหมู่ต่างๆ
• โลหะอัลคาไล (หมู่ 1)

Li, Na, K, Rb, Cs, Fr

- ว่องไวมากจึงมักพบเป็นสารประกอบในธรรมชาติ เช่น แร่
ต่างๆ
- จัดเป็น โลหะอ่อน ตัดได้ง่าย ความแข็งลดลงเมื่อธาตุหนักขึ้น
- จัดเรียง e- แบบ ns1 เสีย e- ได้ง่าย เป็นตัวรีดิวซ์ที่ดี แนวโน้ม
55
ควรเพิ่มขึ้นจากบนลงล่าง
ปฏิกิริยาของโลหะอัลคาไล
• ทาปฏิกิริยากับน้าให้โลหะไฮดรอกไซด์และก๊าซไฮโดรเจน
2Na(s) + H2O
2Na+(aq) + 2OH-(aq) + H2(g)
• ทาปฏิกิริยากับเฮโลเจน (หมู่ 17)
2Na(s) + Cl2(g)
2NaCl(s)
2K(s) + Br2(g)
2KBr(s)
• ทาปฏิกิริยากับออกซิเจน
4Li(s) + O2(g)
2Li2O(s)
เกิดที่อุณหภูมิ
สูง
2Na(s) + O2(g)
Na2O2(s)
56
สารประกอบของโลหะอัลคาไล
• สารประกอบออกไซด์และไฮดรอกไซด์มีสมบัติเป็นเบส

• มักเป็นสารประกอบไอออนิกที่ละลายน้าได้ดี
• Li มีสมบัติคล้าย Mg โดยเฉพาะเกลือที่มีการละลายน้าได้
คล้ายกันและ Mg ทาปฏิกิริยากับ N2 ที่ T สูงได้ เช่นเดียวกับ Li
3Mg(s) + N2(g)
6Li(s) + N2(g)

Mg3N2(s)
2Li3N(s)
57
โลหะอัลคาไลน์เอิร์ท (หมู่ 2)
ประกอบด้วย Be, Mg, Ca, Sr, Ba, Ra
มักพบในรูปสารประกอบออกไซด์
ลักษณะเหมือนโลหะทั่วไป คือ มันวาว ยกเว้น Be

นาไฟฟ้าได้ดี แต่แข็งและมีความหนาแน่นมากกว่า จุดหลอมเหลว
สูงกว่า หมู่ 1
เนื่องจากนิวเคลียสของหมู่ 2 มีโปรตอนมากกว่าหมู่ 1 ในคาบ
เดียวกัน รัศมีอะตอมสั้นกว่า และมี 2 เวเลนต์อิเล็กตรอน
58
ปฏิกิริยาของธาตุหมู่ 2
“ความว่องไวจะเพิ่มขึ้นตามลาดับเมื่อเลขอะตอม
เพิ่มขึ้น”
ดังปฏิกิริยาของโลหะอัลคาไลน์เอิร์ทกับน้า
Be + H2O

Mg + H2O

MgO + H2

M + H 2O

M(OH)2 + H2 M= Ca, Sr, Ba

น้าเดือด,ไอน้า
59
สารประกอบของโลหะอัลคาไลน์เอิร์ท
แนวโน้มการละลายขึ้นกับพลังงานแลตติซและพลังงานไฮเดรชัน
พลังงานแลตติซ ขึ้นกับ ระยะระหว่างไอออน + กับไอออน –
1 / (r+ + r- )
พลังงานไฮเดรชัน ขึ้นกับ ศักย์ไอออนิกซึ่ง
ศักย์ไอออนิก = จานวนประจุของไอออน
รัศมีไอออน
60
1. โมเลกุลน้าดึง Na+
Cl- ออกจากโครงผลึก
ด้วยพลังงานเท่ากับ
พลังงานแลตทิซ

2. โมเลกุลน้าเข้าล้อมรอบ
ไอออนเกิดแรงยึดเหนี่ยวแล้ว
คายพลังงาน ออกมาเรียกว่า
พลังงานไฮเดรชัน

ไอออนใน
สภาวะแก๊ส

Step 2
Heat of hydration
DH = -784 kJ/mol

Step 1
Lattice energy
U = 788 kJ/mol

Heat of solution
DH = 4 kJ/mol

61
สารประกอบของหมู่ IIA มักไม่ค่อยละลายน้า ซึ่งแบ่งแนวโน้ม
การละลายเป็น 2 กลุ่มคือ
1. สารประกอบ SO42-(ซัลเฟต), CO32-(คาร์บอเนต), C2O42-(
ออกซาเลต), CrO42-(โครเมต)
“การละลายลดลงเมื่อไอออนโลหะมีขนาดใหญ่ขึ้น”

62
63
Ion -

อธิบาย

2+
2+

ไอออน – กลุ่มนี้มีขนาดใหญ่ แม้ไอออน + จะมีขนาด
เปลี่ยนไปก็ไม่มีผลต่อ (r+ + r- ) มากนัก ดังนั้น
พลังงานแลตติซไม่ต่างกันมาก

แต่พลังงานไฮเดรชันลดลงเมื่อรัศมีไอออนเพิ่มขึ้น การ
ละลายน้าจึงลดลงเมื่อขนาดของโลหะไอออนใหญ่ขึ้น
2+

ดึงโมเลกุลน้าได้แรงกว่า

2+

64
2. สารประกอบ OH-, F“การละลายมากขึ้นเมื่อไอออนโลหะขนาดใหญ่ขึ้น”

อธิบาย

Ion -

+2
+2

พลังงานแลตทิซมาก
น้อย

ไอออน – กลุ่มนี้มีขนาดเล็ก เมื่อเพิ่มขนาดไอออน + จะมี
ผลทาให้ (r+ + r- ) เพิ่มขึ้น นั่นคือ ไอออน + และ – ในผลึก
อยู่ห่างกันมากขึ้น ส่งผลให้พลังงานแลตติซลดลง “ผลึกจึง
ละลายน้าได้มากขึ้นเมื่อไอออน + ของโลหะขนาดใหญ่ขึ้น”
ผลของพลังงานแลตติซมีมากกว่าพลังงานไฮเดรชัน
65
โลหะหมู่ 13
Al, Ga, In, Tl ส่วน B เป็นกึ่งโลหะ
สมบัติ

จัดว่าว่องไว สามารถทาปฏิกิริยากับอโลหะหมู่อื่นๆได้
Al ถูกออกซิไดซ์ได้ง่าย เกิดเป็น Al2O3 เคลือบที่ผิวโลหะ

4Al(s) + 3O2(g)

Al2O3(s)

∆G0 = -1582 kJ/mol

Ga และ In เกิด oxide thin film นี้เช่นกัน
“โลหะทั้งสามไม่ละลายใน HNO3 แต่ละลายในกรดที่ไม่มีออกซิเจน”
66
สารประกอบของโลหะหมู่ 13
† สารประกอบ SO42-, NO3-, X- ละลายน้าได้ดี
† สารประกอบของ OH- ไม่ละลายน้า

† ออกไซด์ของ Al และ Ga เป็นแอมโฟเทอริก
† เมื่อเผา Al(OH)3 จะได้ Al2O3 ที่เสถียร จุดหลอมเหลว

สูง และทนไฟ
67
ปฏิกิริยาของโลหะหมู่ 13
2M + 6H+

2M3+ + 3H2

M = Al, Ga, In

ส่วน Tl ให้ Tl+
4M + 3O2
2M + 3X2
2Al + N2
2M + 2OH- + 6H2O

2M2O3 อุณหภูมิสูง , Tl ให้ Tl2O ด้วย
3MX3
2AlN

X = เฮโลเจน (หมู่17)
เกิดปฏิกิริยาเฉพาะ Al

2M(OH)4- + 3H2

M= Al, Ga
68
โลหะหมู่ 14
ธาตุในหมู่นี้มีการเปลี่ยนแปลงจาก อโลหะ ไปเป็นโลหะเมื่อ
เลขอะตอมสูงขึ้น
C อโลหะ, Si และ Ge กึ่งโลหะ, Sn และ Pb โลหะ

69
ปฏิกิริยาของโลหะหมู่ 14
• Sn และ Pb เป็นโลหะที่อ่อน จุดหลอมเหลวต่า และค่อนข้าง

ว่องไว สามารถเกิดปฏิกิริยาได้ดังนี้
Sn + 2X2

2SnX4

Pb + X2

PbX2

Sn + O2

SnO2

2Pb + O2

X = ธาตุเฮโลเจน

2PbO

ที่ อุณหภูมิสูง

70
โลหะหมู่ 15
Bi (Bismuth)
• พบในรูป Bi2O3, Bi2S3
• เป็นโลหะที่แข็งแต่ด้าน ไม่มันวาว
• การจัดเรียง e- เป็น ns2np3 เลขออกซิเดชันเป็น +3 และ +5
• สารประกอบ Bi(V) ไม่เสถียร จึงเป็นตัวออกซิไดซ์ทแรง
ี่
เช่น NaBiO3 (sodium bismuthate)
71
ปฏิกิริยาของโลหะหมู่ 15
4Bi(s) + 3O2

2Bi2O3(s)

Bi3+ ถูกไฮโดรไลซ์ ได้ดี ดังสมการ

Bi3+(aq) + 3H2O

Bi(OH)3(s) + 3H+(aq)

Bi2O3(s) และ Bi(OH)3(s) เป็นเบส

72
สารประกอบของอโลหะและกึ่งโลหะ
1. ไฮไดรด์ Hydrides
ไฮโดรเจนสร้างพันธะโคเวเลนต์กับอโลหะและกึ่งโลหะ
เพราะ ไฮโดรเจนมี EN สูงพอที่จะสร้างพันธะโคเวเลนต์
กับอโลหะได้ เกิดเป็นสารประกอบไฮไดรด์

เลขออกซิเดชันของ H เป็น +1
73
สูตรทั่วไปของไฮไดรด์โคเวเลนต์
HX

เมื่อ X = ธาตุหมู่ 17

(HF, HCl)

H 2X

เมื่อ X = ธาตุหมู่ 16 (H2O, H2S)

H3X

เมื่อ X = ธาตุหมู่ 15

(NH3, PH3)

H 4X

เมื่อ X = ธาตุหมู่ 14

(CH4, SiH4)

74
การเตรียมไฮไดรด์
1. วิธีรวมตัวระหว่างไฮโดรเจนกับธาตุโดยตรง
H2 + Cl2

2HCl

2H2 + O2

2H2O

* ใช้ได้เฉพาะกับอโลหะที่ว่องไวมากๆ เช่น C, N, O, F, S, Cl, Br
2. เติมโปรตอนจากกรดเข้าไปรวมกับคู่เบสของไฮไดรด์ของอโลหะ
Xn- + nHA

HnX + nA-

เมื่อ Xn- เป็นคู่เบสของ HnX
NaCl(s) + H2SO4(l)

HCl(g) + NaHSO4(s)

75
อโลหะออกไซด์

M-O
ธาตุอโลหะ

การเตรียมอโลหะออกไซด์

• ปฏิกิริยารวมตัวโดยตรงระหว่างธาตุกับออกซิเจน

S + O2

SO2

C + O2

CO2

H2 + 1/2O2

H2O

* มักต้องใช้ความร้อนช่วยในการเร่งปฏิกิริยา และใช้พลังงาน
มากในธาตุที่ไม่ว่องไวมาก
76
• เผาอโลหะไฮไดรด์โดยตรงกับออกซิเจน
CH4 + 2O2
CO2 + 2H2O
หรือใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา
4NH3 + 5O2
4NO + 6H2O

77
สารประกอบเฮไลด์ของอโลหะ
ธาตุอโลหะหมู่
อื่นๆ

•

MXm

ธาตุหมู่ 17

จานวนอะตอมของธาตุ
หมู่ 17

เฮโลเจนทาปฏิกิริยากับอโลหะให้มากกว่า 1 ชนิด ขึ้นกับ
โครงสร้างอิเล็กตรอนและขนาดอะตอมของธาตุนั้น

แบ่งเฮไลด์เป็น 2 กลุ่ม
1. กลุ่มที่เป็นไปตามกฎออกเตต

ธาตุหมู่ 17, 16, 15, 14 เช่น ClF, OF2, NCl3, CCl4

78
2. กลุ่มที่ไม่เป็นไปตามกฎออกเตต
ได้แก่ ธาตุคาบที่ 3 เป็นต้นไป
เพราะคาบที่ 2 มี เวเลนต์อิเล็กตรอนมากที่สุดได้ 8 e- จาก
2s และ 2p-ออร์บิทัล
แต่ธาตุตั้งแต่คาบที่ 3 ลงไป มี d-ออร์บิทัล ทีว่างและมี
่
ระดับพลังงานต่าพอที่จะเกิดไฮบริไดเซชันได้ และรับ
อิเล็กตรอนเพิ่มได้ เช่น PCl5 , SF6
79
มาจาก F 1 อะตอม

เช่น SF6

S [Ne] _ _ _ _ _ _ _ _ _
3s 3p
3d
ใช้ 3d เกิดไฮบริไดเซชัน
S [Ne] _ _ _ _ _ _
d2sp3

___

3d ที่เหลือ

* เมื่อรับ 1 อิเล็กตรอนจาก F 6 อะตอม เป็น 12
e- ซึ่งเกินออกเตต
80
ขนาดของอะตอมกลางมีผลต่อจานวนอะตอมของ
เฮโลเจนที่จะสร้างพันธะกับอโลหะนั้น
เพราะขนาดอะตอมที่ใหญ่มีที่ว่างพอให้เฮโลเจนเข้ามาสร้าง
พันธะได้โดยไม่แออัด และเกิดแรงผลักระหว่างอะตอมของ
เฮโลเจนน้อยกว่าในกรณีที่อะตอมศูนย์กลางมีขนาดเล็ก

81
ขนาดของเฮโลเจนมีผลต่อการเข้าทาปฏิกิริยาเช่นกัน
เฮโลเจนขนาดใหญ่ขึ้นจะเกิดพันธะกับธาตุอะตอมกลางได้
ลดลง

เช่น F เกิด SF4 , SF6 แต่ Cl มี SCl4 เท่านั้น และไม่มี SBr4 หรือ SI4
• เมื่ออะตอมกลางใหญ่ขึ้น เช่น Te จะมีอะตอมขนาดใหญ่มาล้อมมากขึ้น
TeF4 , TeCl4 , TeBr4 , TeI4
82
สารประกอบของแก๊สมีตระกูล
He , Ne , Ar มี IE สูง เฉื่อยต่อปฏิกิริยาเคมี
Kr , Xe , Rn มี IE ต่ากว่า เกิดสารประกอบได้
เช่น XeF2 , XeF4 , XeF6
เริ่มจากการทดลองผ่านแก๊ส Xe ลงในแก๊ส PtF6 พบว่าเกิด
ของแข็งขึ้น ดังสมการ
Xe(g) + PtF6(g)

Xe+PtF6- (s)
83
• Rn มีสมบัตทางเคมีคล้าย Xe แต่ Rn เป็นธาตุกัมมันตรังสีจึง
ิ
สลายต่อไป
• สารประกอบ F ของ Kr ไม่เสถียร สลายตัวเร็ว
• Xe มีเลขออกซิเดชันเป็น +2, +4, +6 , +8
• Kr มีเลขออกซิเดชันเป็น +2
• สารประกอบ F ของ Xe ได้จากเผา Xe โดยตรงกับ F2 ที่ อุณหภูมิ
สูงกว่า 250 oC เช่น
Xe(g) + F2(g)
XeF2(g)
XeF2(g) + F2(g)
XeF4(g)
84
XeF4(g) + F2(g)

XeF6(g)

สารประกอบ F ของ Xe เป็นตัวออกซิไดซ์ที่แรง ดังสมการ
XeF6 + SiO2

2XeOF4 + SiF4

85

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้าdnavaroj
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลJariya Jaiyot
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม Terapong Piriyapan
 
ความถนัดเเพทย์ ondemand
ความถนัดเเพทย์ ondemandความถนัดเเพทย์ ondemand
ความถนัดเเพทย์ ondemandfirstnarak
 
เซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกเซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกkkrunuch
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationPat Pataranutaporn
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์Anissa Aromsawa
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt10846
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnflimgold
 
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6KruGift Girlz
 
สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลายJariya Jaiyot
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันKatewaree Yosyingyong
 

What's hot (20)

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
Echem 1 redox
Echem 1 redoxEchem 1 redox
Echem 1 redox
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
ความถนัดเเพทย์ ondemand
ความถนัดเเพทย์ ondemandความถนัดเเพทย์ ondemand
ความถนัดเเพทย์ ondemand
 
เซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกเซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิก
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
 
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
 
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
 
สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลาย
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 

Viewers also liked

สมบัติพีริออดิก - Periodic
สมบัติพีริออดิก - Periodicสมบัติพีริออดิก - Periodic
สมบัติพีริออดิก - PeriodicDr.Woravith Chansuvarn
 
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบสมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบชัยยันต์ ไม้กลาง
 
เคมี เรื่อง ธาตุกึ่งโลหะ และ ธาตุกัมมันตรังสี
เคมี เรื่อง ธาตุกึ่งโลหะ และ ธาตุกัมมันตรังสีเคมี เรื่อง ธาตุกึ่งโลหะ และ ธาตุกัมมันตรังสี
เคมี เรื่อง ธาตุกึ่งโลหะ และ ธาตุกัมมันตรังสีChinnapat Authaisa
 
บทที่ 2 ตารางธาตุ
บทที่ 2 ตารางธาตุบทที่ 2 ตารางธาตุ
บทที่ 2 ตารางธาตุGawewat Dechaapinun
 
Science (chemistry) o-anet_1
Science (chemistry) o-anet_1Science (chemistry) o-anet_1
Science (chemistry) o-anet_1surattaya
 
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุ
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุวิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุ
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุTutor Ferry
 
ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมKorpong Sae-lee
 
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิกใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิกPat Jitta
 
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibriumกรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion EquilibriumDr.Woravith Chansuvarn
 
บทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสบทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสoraneehussem
 
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุบทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุoraneehussem
 
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบบทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบoraneehussem
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9tum17082519
 

Viewers also liked (18)

Chap 4 periodic table
Chap 4 periodic tableChap 4 periodic table
Chap 4 periodic table
 
สมบัติพีริออดิก - Periodic
สมบัติพีริออดิก - Periodicสมบัติพีริออดิก - Periodic
สมบัติพีริออดิก - Periodic
 
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบสมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
 
เคมี เรื่อง ธาตุกึ่งโลหะ และ ธาตุกัมมันตรังสี
เคมี เรื่อง ธาตุกึ่งโลหะ และ ธาตุกัมมันตรังสีเคมี เรื่อง ธาตุกึ่งโลหะ และ ธาตุกัมมันตรังสี
เคมี เรื่อง ธาตุกึ่งโลหะ และ ธาตุกัมมันตรังสี
 
บทที่ 2 ตารางธาตุ
บทที่ 2 ตารางธาตุบทที่ 2 ตารางธาตุ
บทที่ 2 ตารางธาตุ
 
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
 
กรด เบส 3
กรด เบส 3กรด เบส 3
กรด เบส 3
 
Science (chemistry) o-anet_1
Science (chemistry) o-anet_1Science (chemistry) o-anet_1
Science (chemistry) o-anet_1
 
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุ
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุวิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุ
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุ
 
ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
 
ธาตุ
ธาตุธาตุ
ธาตุ
 
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิกใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
 
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibriumกรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมี
 
บทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสบทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบส
 
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุบทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
 
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบบทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
 

ตารางธาตุและเรพรี