SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
สังคมศึกษา
                                                                       อ. สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร
                                                                       โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา

มนุษย สังคม วัฒนธรรม

    ประเภทของสัตว มี 2 ประเภท
    1. สัตวโลก คือ สัตวที่สามารถดํารงชีวิตอยูไดโดยลําพัง เชน งู จิ้งจก ตุกแก แมงมุม ฯลฯ
    2. สัตวสงคม คือ สัตวที่ตองอยูรวมกันเปนกลุม มีการชวยเหลือ แบงหนาที่กันทํางาน เชน ผึ้ง
             ั                
       มด กวาง ชาง ฯลฯ
    สิ่งที่มนุษยเหมือนกับสัตวอื่น
    1. ความตองการทางกายภาพ – ชีวภาพ
    2. การสรางสมาชิกใหม
    3. การปรับตัวเขากับสิ่งแวดลอม
    4. ความตองการอํานาจ
    สิงทีมนุษยแตกตางจากสัตวอื่น
      ่ ่
    1. มีรางกายตั้งฉากกับพื้นผิวโลก
    2. มีขนาดนํ้าหนักของสมองเมื่อเปรียบเทียบกับนํ้าหนักตัวสูงมาก
    3. มีดวงตาอยูดานหนาและตําแหนงที่เหมาะสม
    4. มีนวมือนิ้วเทาแยกออกจากกัน
           ิ้
    5. มีการสรางสัญลักษณในการสื่อความหมาย
    6. มีวัฒนธรรม
    ความตองการขั้นพื้นฐานของมนุษย
    1. ความตองการทางกายภาพ คือวัตถุสิ่งตางๆ ที่มีความสําคัญตอการดํารงชีวิต เชน ที่อยูอาศัย
       เครื่องใชตางๆ
    2. ความตองการทางดานชีวภาพ คือ อาหาร ยารักษาโรค
    3. ความตองการทางดานสังคม คือ ความสัมพันธของมนุษยในสังคม
    4. ความตองการทางดานจิตวิทยา คือ ทางดานจิตใจ เชน ตองการความรัก ความเขาใจ ความ
       เห็นอกเห็นใจ กําลังใจ


             สังคมศึกษา อ.สุทศน ภูมิรัตนจรินทร
                             ั                                                                 1
มนุษยเปนสัตวสังคม (Social animal) หมายถึง มนุษยเปนสัตวโลกที่มีการอยูรวมกันเปนพวก
เปนหมู มีการพึ่งพาซึ่งกันและกัน ตลอดจนมีความสัมพันธเกี่ยวของกัน
        มนุษยตองอยูรวมกันเปนสังคม เพราะตองพึ่งกันและกัน ดังนี้
            มีการแตงงานกัน ทําตามความสามารถและความถนัด
            มีการแลกเปลี่ยนผลผลิตกัน
            ตองการความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน
            มนุษยเปนสัตวสังคม ตองอยูรวมกันเปนหมูคณะเพื่อความสุขทางใจ
       สังคม หมายถึง กลุมคนที่อยูรวมกัน โดยมีลักษณะดังตอไปนี้
           ประกอบดวยกลุมคน
           มีความสัมพันธระหวางสมาชิกภายในกลุม
           มีอาณาเขตที่แนนอน
           มีระเบียบกฎเกณฑ และลักษณะการดําเนินชีวิตในแบบเดียวกัน
           มีจดมุงหมายไปในแนวทางเดียวกัน
              ุ 
       ฝูงชน (Crowd) หมายถึง กลุมคนที่มารวมตัวกันเพื่อจุดประสงคใด จุดประสงคหนึ่ง เมื่อเสร็จ
สินจุดประสงคแลวก็แยกยายจากกันไป โดยขาดความสัมพันธกันอยางตอเนื่อง
  ้
       วัฒนธรรม คือ วิถีการดําเนินชีวิตของมนุษยในสังคม ซึ่งเปนระเบียบกฎเกณฑที่คนสวนใหญ
ในสังคมยึดถือปฏิบัติรวมกัน วัฒนธรรมเปนสิ่งจําเปนในการดํารงชีวตของมนุษย มนุษยจะอยูโดย
                                                                 ิ
ปราศจากวัฒนธรรมไมได
        ลักษณะของวัฒนธรรม
        1. เปนสิ่งที่มนุษยสรางขึ้นมา เพื่อชวยใหมนุษยสามารถดํารงชีวตอยูได
                                                                        ิ
        2. เปนสิ่งที่ไดมาจากการเรียนรู
        3. เปนแบบแผนในการดําเนินชีวิต
        4. เปนมรดกทางสังคม
        5. เปนสิ่งที่เปลี่ยนแปลงได
       ประเภทของวัฒนธรรม
       1. วัฒนธรรมทางวัตถุ
       2. วัฒนธรรมทางจิตใจ
        ปจจัยหรืออิทธิพลที่กอใหเกิดวัฒนธรรม
        1. สิงแวดลอมทางภูมิศาสตร
              ่
        2. ลัทธิ ศาสนา ตลอดจนขนบธรรมเนียมประเพณี
        3. ความเจริญกาวหนาทางวิทยาการ เทคโนโลยี


                 สังคมศึกษา อ.สุทศน ภูมิรัตนจรินทร
                                 ั                                                             2
เนื้อหาของวัฒนธรรม
        1. คติธรรม คือ ความเชื่อ คานิยมในการดําเนินชีวิต
        2. เนติธรรม คือ กฎหมาย กฎเกณฑ ระเบียบตางๆ
        3. วัตถุธรรม คือ สิ่งประดิษฐตางๆ
        4. สหธรรม คือ มารยาทที่ควรปฏิบัติตอกันในสังคม

                                            แบบทดสอบ
จงเลือกขอที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว
1. ขอใดทีแสดงลักษณะความแตกตางระหวางสัตวโลกกับสัตวสงคม
          ่                                                   ั
      1. ความฉลาดของสัตวสังคม
      2. สัตวสังคมปรับตัวไดดีกวาสัตวโลก
      3. สัตวสังคมมีวัฒนธรรมสูงกวาสัตวโลก
      4. สัตวสงคมอยูรวมกันเปนกลุม แตสัตวโลกชอบอยูลําพัง
                  ั
2. ลักษณะสําคัญของการอยูรวมกันของสัตวสังคม คือขอใด
                               
      1. การตอสูแขงขันกัน                     2. การกระทําระหวางกัน
      3. การถายทอดประสบการณ                    4. การสรางกฎระเบียบ
3. สัตวโลกและสัตวสังคม มีการปรับตัวใหเขากับสิ่งแวดลอมเนื่องจากสาเหตุใด
      1. ความตองการทางกายภาพและชีวภาพ
      2. สิงแวดลอมมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
              ่
      3. ตองการมีชวิตอยูรอด และดํารงเผาพันธุไวได
                       ี
      4. เพือความสะดวกสบายในการดําเนินชีวิต
                ่
4. ขอใดทีแสดงวาเปนลักษณะเฉพาะของสังคมมนุษยที่แตกตางจากสังคมสัตว
            ่
      1. ความตองการเปนอิสระเสรี                2. การมีการกระทําระหวางกัน
      3. ความมีระเบียบแบบแผน                     4. การอยูรวมกันเปนกลุมกอน
5. ขอใดถูกตอง
      1. สัตวโลกและสัตวสังคมมีความตองการทางกายภาพแตกตางกัน
      2. สัตวสังคมมีวัฒนธรรมเชนเดียวกับมนุษย
      3. สังคมและวัฒนธรรมเกิดจากมนุษยและไมแตกตางกัน
      4. ความสามารถของมนุษยที่เหนือสัตวอื่นคือการสรางสัญลักษณ




                 สังคมศึกษา อ.สุทศน ภูมิรัตนจรินทร
                                 ั                                               3
6. เมือเดือนเมษายน 2546 อุณหภูมในประเทศอินเดียสูงถึง 45 องศาเซลเซียส มีประชาชนในรัฐ
      ่                                ิ
   อุตรประเทศตายไปถึง 58 คน เหตุการณดังกลาวนี้แสดงวามนุษยเกิดปญหาเกี่ยวกับความตองการ
   ดานใด
        1. ความตองการทางรางกาย                   2. ความตองการทางจิตใจ
        3. ความตองการทางสังคม                     4. ความตองการทางวัฒนธรรม
7. สังคมตอบสนองความตองการทางจิตใจของมนุษยในเรื่องใดที่เปนความปรารถนาของมนุษยมากที่
    สุด
        1. ความสะดวกสบาย                           2. ปจจัย 4
        3. ความรัก                                 4. การศึกษา
8. ขอใดเปนลักษณะสังคม
        1. การประชุมคณะรัฐมนตรีสัญจรที่จังหวัดสุราษฎรธานี
        2. ผูนาเอเปก 21 เขตเศรษฐกิจเขาชมขบวนเรือพยุหยาตราที่รัฐบาลจัดใหชม
              ํ
        3. นักกีฬากวา 5,000 คน ลงแขงขันกีฬาซีเกมสที่เวียดนามในปนี้
        4. แพทยหญิงคุณหญิงพรทิพย เขาชมคอนเสิรตของเบิรด ธงไชยตอเนื่องมาเปนเวลา 5 ป
9. การรวมกลุมในลักษณะใดตอไปนี้จัดเปนสังคมได
        1. มีประชากรจํานวนหนึ่งทั้งหญิงและชาย
        2. มีคนสวนใหญพูดภาษาเดียวกัน
        3. มีการปกครองเปนของตนเอง
        4. มีการดําเนินชีวิตเปนของตนเอง
10. หากสังคมของมนุษยหนวยแรก คือครอบครัว ขอใดมีหนาที่ที่แสดงออกวาครอบครัวคือสังคม
        1. มีญาติพี่นองพอแมลูกอยูครบถวน     2. ทุกคนมีหนาที่รับผิดชอบรวมกัน
        3. มีภาษาพูดอยางเดียวกัน                4. มีสถานที่อยูเปนหลักแหลงเดียวกัน
11. หนาที่ที่สําคัญที่สุดของสังคม ซึ่งจะตองกระทําใหแกสมาชิกคือขอใด
        1. ผลิตสมาชิกใหมเพื่อทดแทนสมาชิกเกา
        2. ใหสมาชิกรูจักปรับตัวกับสภาพแวดลอม
        3. อบรมสมาชิกใหรูจักสิทธิหนาที่ของคนตอสังคม
        4. ใหสมาชิกรูจักมีการผลิตและบริการ
12. ขอใดไมเขาขายกลุมสังคม
        1. สมาคมนิสิตเกาจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
        2. ชมรมสนับสนุนสินคาไทย
        3. กลุมแมบานทหารบก
        4. กลุมคนในโรงภาพยนตร

                สังคมศึกษา อ.สุทศน ภูมิรัตนจรินทร
                                ั                                                        4
13. ขอใด คือลักษณะการรวมกลุมแบบปฐมภูมิ
       1. การแสดงคอนเสิรต “ธงไชย” มีผคนทุกเพศทุกวัยเขาชมมาก และมีความสนุกสนาน
                                           ู
          ประทับใจ
       2. นายกรัฐมนตรีใสบาตรในวันขึ้นปใหมกับครอบครัว และฉลองปใหมกับเครือญาติที่บานพัก
          จังหวัดตรัง
      3. การไปตรวจราชการที่จังหวัดกาญจนบุรีของรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย พรอมผูติด
                                                                
          ตามจํานวนมาก
      4. การสมัครสอบเอนทรานซ เดือนมีนาคม 2542 ใหนักเรียนสมัครสอบไดที่โรงเรียนของตน
          เอง
14. ลักษณะความสัมพันธทางสังคมแบบทุติยภูมจะเปนไปตามขอใด
                                                ิ
      1. เปนความสัมพันธที่เกิดขึ้นในระยะเวลายาวนาน
      2. เปนความสัมพันธเนื่องจากมีจุดมุงหมายเดียวกัน
      3. เปนความสัมพันธท่เี กิดขึนจากการที่มีสมาชิกอยูเปนจํานวนมาก
                                   ้
      4. เปนความสัมพันธภายในกลุมที่มีฐานะ หนาที่ การงานแตกตางกัน
15. ในดานสังคมวิทยาแลว ขอใดตอไปนี้ไมถูกตองเกี่ยวกับวัฒนธรรม
      1. วัฒนธรรมคือรูปแบบการดําเนินชีวิตที่ดีงาม
      2. วัฒนธรรมทําใหสังคมมนุษยมีการเปลี่ยนแปลง
      3. วัฒนธรรมเปนระบบสัญลักษณที่เกิดจากการเรียน
      4. วัฒนธรรมคือวิถีชวิตที่สืบทอดจากคนรุนหนึ่งไปยังอีกรุนหนึ่ง
                          ี
16. “เสียทองเทาหัว ไมยอมเสียผัวใหใคร” เปนคํากลาวที่แสดงลักษณะใดของวัฒนธรรม
      1. มรดกทางสังคม                             2. สิ่งที่สังคมตองเรียนรู
      3. แบบแผนการดําเนินชีวิต                    4. เปนการเปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย
17. การดําเนินชีวิตของคนยุโรปและอเมริกาที่มีสิ่งอํานวยความสะดวกมากมายกวาคนเอเชียและ
    แอฟริกานั้น แสดงถึงลักษณะใดของวัฒนธรรม
      1. วัฒนธรรมเปนสิ่งที่ไมคงที่มการเปลี่ยนแปลงเสมอ
                                     ี
      2. วัฒนธรรมเปนมรดกทางสังคม
      3. วัฒนธรรมเปนสิ่งที่ไดจากการเรียนรู
      4. วัฒนธรรมเปนแบบอยางในการดําเนินชีวิต




                สังคมศึกษา อ.สุทศน ภูมิรัตนจรินทร
                                ั                                                         5
18. ขอความใดสะทอนพฤติกรรมที่ไมใชวฒนธรรมทางวัตถุ
                                           ั
       1. การบริจาคเงินรางวัลใหแกสถานเลี้ยงเด็กกําพรา
       2. การสงกระทงดอกไมสดเขาประกวดในงานแสดงภูมิปญญาไทย
       3. การมอบเครื่องหมายประกันคุณภาพแกสินคา 1 ตําบล 1 ผลิตภัณฑ
       4. การสงออกผลไมไทยไดรบความนิยมอยางมากในกลุมประเทศอาเซียน
                                     ั
19. คํากลาวที่วา “วัฒนธรรมไทยเปนมรดกทางสังคมไทย” หมายถึงขอใดมากที่สด    ุ
       1. วัฒนธรรมไทยเปนมรดกทางวัตถุที่จบตองได
                                               ั
       2. วัฒนธรรมไทยมีประวัติความเปนมาอันยาวนาน
       3. วัฒนธรรมไทยเปนสิ่งที่มคุณคาควรรักษาไว
                                   ี
       4. วัฒนธรรมไทยมีการถายทอดจากบรรพบุรุษสูลูกหลาน
20. ขอใดเปนวัฒนธรรมประเภท “สหธรรม”
       1. หลักในการดําเนินชีวิตที่สวนใหญไดมาจากศาสนา
       2. ขนบธรรมเนียมประเพณี และมารยาททางสังคม
       3. ระเบียบขอบังคับตาง ๆ ของสังคมและกฎหมาย
       4. สิ่งที่สมาชิกไดคิดประดิษฐ ใหเกิดความสะดวกสบายในการดําเนินชีวิต
21. พระภิกษุละออง สุวรรณโณ เสพเมถุนกับสีกาปุย ทําใหตองปาราชิกแสดงใหเห็นวาเปนเรื่อง
    เกียวกับวัฒนธรรมดานใด
       ่
       1. คติธรรม                                 2. เนติธรรม
       3. สหธรรม                                  4. วัตถุธรรม
22. ปจจัยขอใดสําคัญที่สุด ทีกอใหเกิดวัฒนธรรมในปจจุบัน
                              ่
       1. ดานภูมิศาสตร                          2. ลัทธิ-ศาสนา
         3. ขนบประเพณี                            4. วิทยาการ-เทคโนโลยี




                สังคมศึกษา อ.สุทศน ภูมิรัตนจรินทร
                                ั                                                          6

More Related Content

What's hot

ข้อลอบสังคม ฟรีเอนทราน ม.ปลาย
ข้อลอบสังคม ฟรีเอนทราน ม.ปลายข้อลอบสังคม ฟรีเอนทราน ม.ปลาย
ข้อลอบสังคม ฟรีเอนทราน ม.ปลายคำหล้า สมวัน
 
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 03. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0just2miwz
 
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษาSiwadolChaimano
 
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูPat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูshalala2
 

What's hot (6)

ข้อสอบO-NET
ข้อสอบO-NETข้อสอบO-NET
ข้อสอบO-NET
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคม
 
ข้อลอบสังคม ฟรีเอนทราน ม.ปลาย
ข้อลอบสังคม ฟรีเอนทราน ม.ปลายข้อลอบสังคม ฟรีเอนทราน ม.ปลาย
ข้อลอบสังคม ฟรีเอนทราน ม.ปลาย
 
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 03. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0
 
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา
 
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูPat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
 

Viewers also liked

Acta agrupamento hostelería vigo (emenda)
Acta agrupamento hostelería vigo (emenda)Acta agrupamento hostelería vigo (emenda)
Acta agrupamento hostelería vigo (emenda)oscargaliza
 
Ebri overview nto with narration
Ebri overview nto with narrationEbri overview nto with narration
Ebri overview nto with narrationlauriemartinalrc
 
Anadolu Üniversitesi'nde e-Öğrenmenin Gelişimi
Anadolu Üniversitesi'nde e-Öğrenmenin GelişimiAnadolu Üniversitesi'nde e-Öğrenmenin Gelişimi
Anadolu Üniversitesi'nde e-Öğrenmenin Gelişiminazzzy
 
新增Microsoft power point 簡報 (3)
新增Microsoft power point 簡報 (3)新增Microsoft power point 簡報 (3)
新增Microsoft power point 簡報 (3)winging44
 
Sentencia cristina carrefour-alfonso_molina[1]
Sentencia cristina carrefour-alfonso_molina[1]Sentencia cristina carrefour-alfonso_molina[1]
Sentencia cristina carrefour-alfonso_molina[1]oscargaliza
 
השגת רציפות טריטוריאלית במלחמת העצמאות
השגת רציפות טריטוריאלית במלחמת העצמאותהשגת רציפות טריטוריאלית במלחמת העצמאות
השגת רציפות טריטוריאלית במלחמת העצמאותhaimkarel
 
Ana cristina comments
Ana cristina commentsAna cristina comments
Ana cristina commentscriszamu
 
Flex automation. tools comparison
Flex automation. tools comparisonFlex automation. tools comparison
Flex automation. tools comparisonAlex
 

Viewers also liked (20)

การเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทยการเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทย
 
Acta agrupamento hostelería vigo (emenda)
Acta agrupamento hostelería vigo (emenda)Acta agrupamento hostelería vigo (emenda)
Acta agrupamento hostelería vigo (emenda)
 
The Art of Grey-Box Attack
The Art of Grey-Box AttackThe Art of Grey-Box Attack
The Art of Grey-Box Attack
 
Ebri overview nto with narration
Ebri overview nto with narrationEbri overview nto with narration
Ebri overview nto with narration
 
Anadolu Üniversitesi'nde e-Öğrenmenin Gelişimi
Anadolu Üniversitesi'nde e-Öğrenmenin GelişimiAnadolu Üniversitesi'nde e-Öğrenmenin Gelişimi
Anadolu Üniversitesi'nde e-Öğrenmenin Gelişimi
 
新增Microsoft power point 簡報 (3)
新增Microsoft power point 簡報 (3)新增Microsoft power point 簡報 (3)
新增Microsoft power point 簡報 (3)
 
Password
PasswordPassword
Password
 
สงครามครูเสด 2003
สงครามครูเสด 2003สงครามครูเสด 2003
สงครามครูเสด 2003
 
Sentencia cristina carrefour-alfonso_molina[1]
Sentencia cristina carrefour-alfonso_molina[1]Sentencia cristina carrefour-alfonso_molina[1]
Sentencia cristina carrefour-alfonso_molina[1]
 
prezentacja
prezentacjaprezentacja
prezentacja
 
Tablas merchan
Tablas merchanTablas merchan
Tablas merchan
 
השגת רציפות טריטוריאלית במלחמת העצמאות
השגת רציפות טריטוריאלית במלחמת העצמאותהשגת רציפות טריטוריאלית במלחמת העצמאות
השגת רציפות טריטוריאלית במלחמת העצמאות
 
Ana cristina comments
Ana cristina commentsAna cristina comments
Ana cristina comments
 
TEMA 1A Vocabulary
TEMA 1A VocabularyTEMA 1A Vocabulary
TEMA 1A Vocabulary
 
Statby school 2554_m3_1057012007
Statby school 2554_m3_1057012007Statby school 2554_m3_1057012007
Statby school 2554_m3_1057012007
 
Warsow
WarsowWarsow
Warsow
 
Log.wps
Log.wpsLog.wps
Log.wps
 
ลักษณะภูมิประเทศ2.1
ลักษณะภูมิประเทศ2.1ลักษณะภูมิประเทศ2.1
ลักษณะภูมิประเทศ2.1
 
สภาพทางสังคมและวัฒนธรรมทวีปโรป
สภาพทางสังคมและวัฒนธรรมทวีปโรปสภาพทางสังคมและวัฒนธรรมทวีปโรป
สภาพทางสังคมและวัฒนธรรมทวีปโรป
 
Flex automation. tools comparison
Flex automation. tools comparisonFlex automation. tools comparison
Flex automation. tools comparison
 

Similar to มนุษย์ สังคม วัฒนธรรม

Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูPat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูTheyok Tanya
 
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูPat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูSuwaraporn Chaiyajina
 
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูPat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูJutarat Piamrod
 
สังคม 53
สังคม 53สังคม 53
สังคม 53suparada
 
ข้อสอบ O net วิชาสังคมศึกษา
ข้อสอบ O net วิชาสังคมศึกษาข้อสอบ O net วิชาสังคมศึกษา
ข้อสอบ O net วิชาสังคมศึกษาPerm Ton
 
03bb7948b0ecfc6376c61960fe8d8be3
03bb7948b0ecfc6376c61960fe8d8be303bb7948b0ecfc6376c61960fe8d8be3
03bb7948b0ecfc6376c61960fe8d8be3Noot Ting Tong
 
สังคมศึกษา
สังคมศึกษาสังคมศึกษา
สังคมศึกษาMintra Pudprom
 
ข้อสอบสังคมศึกษา ONET 52
ข้อสอบสังคมศึกษา  ONET  52ข้อสอบสังคมศึกษา  ONET  52
ข้อสอบสังคมศึกษา ONET 52Jinwara Sriwichai
 
68c9bebd68a903dfb244a706c88c9dd6
68c9bebd68a903dfb244a706c88c9dd668c9bebd68a903dfb244a706c88c9dd6
68c9bebd68a903dfb244a706c88c9dd6Yokyok' Nnp
 

Similar to มนุษย์ สังคม วัฒนธรรม (20)

Knowledge soc01
Knowledge soc01Knowledge soc01
Knowledge soc01
 
G สังคมไทย social3
G สังคมไทย social3G สังคมไทย social3
G สังคมไทย social3
 
the exam.
the exam.the exam.
the exam.
 
โครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคมโครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคม
 
Pat5
Pat5Pat5
Pat5
 
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูPat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
 
Pat5
Pat5Pat5
Pat5
 
Pat5
Pat5Pat5
Pat5
 
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูPat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
 
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูPat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
 
Pat5 53
Pat5 53Pat5 53
Pat5 53
 
สังคม 53
สังคม 53สังคม 53
สังคม 53
 
ข้อสอบ O net วิชาสังคมศึกษา
ข้อสอบ O net วิชาสังคมศึกษาข้อสอบ O net วิชาสังคมศึกษา
ข้อสอบ O net วิชาสังคมศึกษา
 
03bb7948b0ecfc6376c61960fe8d8be3
03bb7948b0ecfc6376c61960fe8d8be303bb7948b0ecfc6376c61960fe8d8be3
03bb7948b0ecfc6376c61960fe8d8be3
 
สังคมศึกษา
สังคมศึกษาสังคมศึกษา
สังคมศึกษา
 
03bb7948b0ecfc6376c61960fe8d8be3
03bb7948b0ecfc6376c61960fe8d8be303bb7948b0ecfc6376c61960fe8d8be3
03bb7948b0ecfc6376c61960fe8d8be3
 
ข้อสอบสังคมศึกษา ONET 52
ข้อสอบสังคมศึกษา  ONET  52ข้อสอบสังคมศึกษา  ONET  52
ข้อสอบสังคมศึกษา ONET 52
 
Soc
SocSoc
Soc
 
68c9bebd68a903dfb244a706c88c9dd6
68c9bebd68a903dfb244a706c88c9dd668c9bebd68a903dfb244a706c88c9dd6
68c9bebd68a903dfb244a706c88c9dd6
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคม
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand

พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand (20)

กำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลินกำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลิน
 
รายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social mediaรายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social media
 
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงานแบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
 
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็มผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
 
O net ม.3
O net ม.3O net ม.3
O net ม.3
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
1
11
1
 
การแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาคการแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาค
 

มนุษย์ สังคม วัฒนธรรม

  • 1. สังคมศึกษา อ. สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา มนุษย สังคม วัฒนธรรม ประเภทของสัตว มี 2 ประเภท 1. สัตวโลก คือ สัตวที่สามารถดํารงชีวิตอยูไดโดยลําพัง เชน งู จิ้งจก ตุกแก แมงมุม ฯลฯ 2. สัตวสงคม คือ สัตวที่ตองอยูรวมกันเปนกลุม มีการชวยเหลือ แบงหนาที่กันทํางาน เชน ผึ้ง ั  มด กวาง ชาง ฯลฯ สิ่งที่มนุษยเหมือนกับสัตวอื่น 1. ความตองการทางกายภาพ – ชีวภาพ 2. การสรางสมาชิกใหม 3. การปรับตัวเขากับสิ่งแวดลอม 4. ความตองการอํานาจ สิงทีมนุษยแตกตางจากสัตวอื่น ่ ่ 1. มีรางกายตั้งฉากกับพื้นผิวโลก 2. มีขนาดนํ้าหนักของสมองเมื่อเปรียบเทียบกับนํ้าหนักตัวสูงมาก 3. มีดวงตาอยูดานหนาและตําแหนงที่เหมาะสม 4. มีนวมือนิ้วเทาแยกออกจากกัน ิ้ 5. มีการสรางสัญลักษณในการสื่อความหมาย 6. มีวัฒนธรรม ความตองการขั้นพื้นฐานของมนุษย 1. ความตองการทางกายภาพ คือวัตถุสิ่งตางๆ ที่มีความสําคัญตอการดํารงชีวิต เชน ที่อยูอาศัย เครื่องใชตางๆ 2. ความตองการทางดานชีวภาพ คือ อาหาร ยารักษาโรค 3. ความตองการทางดานสังคม คือ ความสัมพันธของมนุษยในสังคม 4. ความตองการทางดานจิตวิทยา คือ ทางดานจิตใจ เชน ตองการความรัก ความเขาใจ ความ เห็นอกเห็นใจ กําลังใจ สังคมศึกษา อ.สุทศน ภูมิรัตนจรินทร ั 1
  • 2. มนุษยเปนสัตวสังคม (Social animal) หมายถึง มนุษยเปนสัตวโลกที่มีการอยูรวมกันเปนพวก เปนหมู มีการพึ่งพาซึ่งกันและกัน ตลอดจนมีความสัมพันธเกี่ยวของกัน มนุษยตองอยูรวมกันเปนสังคม เพราะตองพึ่งกันและกัน ดังนี้ มีการแตงงานกัน ทําตามความสามารถและความถนัด มีการแลกเปลี่ยนผลผลิตกัน ตองการความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน มนุษยเปนสัตวสังคม ตองอยูรวมกันเปนหมูคณะเพื่อความสุขทางใจ สังคม หมายถึง กลุมคนที่อยูรวมกัน โดยมีลักษณะดังตอไปนี้ ประกอบดวยกลุมคน มีความสัมพันธระหวางสมาชิกภายในกลุม มีอาณาเขตที่แนนอน มีระเบียบกฎเกณฑ และลักษณะการดําเนินชีวิตในแบบเดียวกัน มีจดมุงหมายไปในแนวทางเดียวกัน ุ  ฝูงชน (Crowd) หมายถึง กลุมคนที่มารวมตัวกันเพื่อจุดประสงคใด จุดประสงคหนึ่ง เมื่อเสร็จ สินจุดประสงคแลวก็แยกยายจากกันไป โดยขาดความสัมพันธกันอยางตอเนื่อง ้ วัฒนธรรม คือ วิถีการดําเนินชีวิตของมนุษยในสังคม ซึ่งเปนระเบียบกฎเกณฑที่คนสวนใหญ ในสังคมยึดถือปฏิบัติรวมกัน วัฒนธรรมเปนสิ่งจําเปนในการดํารงชีวตของมนุษย มนุษยจะอยูโดย ิ ปราศจากวัฒนธรรมไมได ลักษณะของวัฒนธรรม 1. เปนสิ่งที่มนุษยสรางขึ้นมา เพื่อชวยใหมนุษยสามารถดํารงชีวตอยูได ิ 2. เปนสิ่งที่ไดมาจากการเรียนรู 3. เปนแบบแผนในการดําเนินชีวิต 4. เปนมรดกทางสังคม 5. เปนสิ่งที่เปลี่ยนแปลงได ประเภทของวัฒนธรรม 1. วัฒนธรรมทางวัตถุ 2. วัฒนธรรมทางจิตใจ ปจจัยหรืออิทธิพลที่กอใหเกิดวัฒนธรรม 1. สิงแวดลอมทางภูมิศาสตร ่ 2. ลัทธิ ศาสนา ตลอดจนขนบธรรมเนียมประเพณี 3. ความเจริญกาวหนาทางวิทยาการ เทคโนโลยี สังคมศึกษา อ.สุทศน ภูมิรัตนจรินทร ั 2
  • 3. เนื้อหาของวัฒนธรรม 1. คติธรรม คือ ความเชื่อ คานิยมในการดําเนินชีวิต 2. เนติธรรม คือ กฎหมาย กฎเกณฑ ระเบียบตางๆ 3. วัตถุธรรม คือ สิ่งประดิษฐตางๆ 4. สหธรรม คือ มารยาทที่ควรปฏิบัติตอกันในสังคม แบบทดสอบ จงเลือกขอที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว 1. ขอใดทีแสดงลักษณะความแตกตางระหวางสัตวโลกกับสัตวสงคม ่ ั 1. ความฉลาดของสัตวสังคม 2. สัตวสังคมปรับตัวไดดีกวาสัตวโลก 3. สัตวสังคมมีวัฒนธรรมสูงกวาสัตวโลก 4. สัตวสงคมอยูรวมกันเปนกลุม แตสัตวโลกชอบอยูลําพัง ั 2. ลักษณะสําคัญของการอยูรวมกันของสัตวสังคม คือขอใด  1. การตอสูแขงขันกัน 2. การกระทําระหวางกัน 3. การถายทอดประสบการณ 4. การสรางกฎระเบียบ 3. สัตวโลกและสัตวสังคม มีการปรับตัวใหเขากับสิ่งแวดลอมเนื่องจากสาเหตุใด 1. ความตองการทางกายภาพและชีวภาพ 2. สิงแวดลอมมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ่ 3. ตองการมีชวิตอยูรอด และดํารงเผาพันธุไวได ี 4. เพือความสะดวกสบายในการดําเนินชีวิต ่ 4. ขอใดทีแสดงวาเปนลักษณะเฉพาะของสังคมมนุษยที่แตกตางจากสังคมสัตว ่ 1. ความตองการเปนอิสระเสรี 2. การมีการกระทําระหวางกัน 3. ความมีระเบียบแบบแผน 4. การอยูรวมกันเปนกลุมกอน 5. ขอใดถูกตอง 1. สัตวโลกและสัตวสังคมมีความตองการทางกายภาพแตกตางกัน 2. สัตวสังคมมีวัฒนธรรมเชนเดียวกับมนุษย 3. สังคมและวัฒนธรรมเกิดจากมนุษยและไมแตกตางกัน 4. ความสามารถของมนุษยที่เหนือสัตวอื่นคือการสรางสัญลักษณ สังคมศึกษา อ.สุทศน ภูมิรัตนจรินทร ั 3
  • 4. 6. เมือเดือนเมษายน 2546 อุณหภูมในประเทศอินเดียสูงถึง 45 องศาเซลเซียส มีประชาชนในรัฐ ่ ิ อุตรประเทศตายไปถึง 58 คน เหตุการณดังกลาวนี้แสดงวามนุษยเกิดปญหาเกี่ยวกับความตองการ ดานใด 1. ความตองการทางรางกาย 2. ความตองการทางจิตใจ 3. ความตองการทางสังคม 4. ความตองการทางวัฒนธรรม 7. สังคมตอบสนองความตองการทางจิตใจของมนุษยในเรื่องใดที่เปนความปรารถนาของมนุษยมากที่ สุด 1. ความสะดวกสบาย 2. ปจจัย 4 3. ความรัก 4. การศึกษา 8. ขอใดเปนลักษณะสังคม 1. การประชุมคณะรัฐมนตรีสัญจรที่จังหวัดสุราษฎรธานี 2. ผูนาเอเปก 21 เขตเศรษฐกิจเขาชมขบวนเรือพยุหยาตราที่รัฐบาลจัดใหชม  ํ 3. นักกีฬากวา 5,000 คน ลงแขงขันกีฬาซีเกมสที่เวียดนามในปนี้ 4. แพทยหญิงคุณหญิงพรทิพย เขาชมคอนเสิรตของเบิรด ธงไชยตอเนื่องมาเปนเวลา 5 ป 9. การรวมกลุมในลักษณะใดตอไปนี้จัดเปนสังคมได 1. มีประชากรจํานวนหนึ่งทั้งหญิงและชาย 2. มีคนสวนใหญพูดภาษาเดียวกัน 3. มีการปกครองเปนของตนเอง 4. มีการดําเนินชีวิตเปนของตนเอง 10. หากสังคมของมนุษยหนวยแรก คือครอบครัว ขอใดมีหนาที่ที่แสดงออกวาครอบครัวคือสังคม 1. มีญาติพี่นองพอแมลูกอยูครบถวน 2. ทุกคนมีหนาที่รับผิดชอบรวมกัน 3. มีภาษาพูดอยางเดียวกัน 4. มีสถานที่อยูเปนหลักแหลงเดียวกัน 11. หนาที่ที่สําคัญที่สุดของสังคม ซึ่งจะตองกระทําใหแกสมาชิกคือขอใด 1. ผลิตสมาชิกใหมเพื่อทดแทนสมาชิกเกา 2. ใหสมาชิกรูจักปรับตัวกับสภาพแวดลอม 3. อบรมสมาชิกใหรูจักสิทธิหนาที่ของคนตอสังคม 4. ใหสมาชิกรูจักมีการผลิตและบริการ 12. ขอใดไมเขาขายกลุมสังคม 1. สมาคมนิสิตเกาจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2. ชมรมสนับสนุนสินคาไทย 3. กลุมแมบานทหารบก 4. กลุมคนในโรงภาพยนตร สังคมศึกษา อ.สุทศน ภูมิรัตนจรินทร ั 4
  • 5. 13. ขอใด คือลักษณะการรวมกลุมแบบปฐมภูมิ 1. การแสดงคอนเสิรต “ธงไชย” มีผคนทุกเพศทุกวัยเขาชมมาก และมีความสนุกสนาน ู ประทับใจ 2. นายกรัฐมนตรีใสบาตรในวันขึ้นปใหมกับครอบครัว และฉลองปใหมกับเครือญาติที่บานพัก จังหวัดตรัง 3. การไปตรวจราชการที่จังหวัดกาญจนบุรีของรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย พรอมผูติด  ตามจํานวนมาก 4. การสมัครสอบเอนทรานซ เดือนมีนาคม 2542 ใหนักเรียนสมัครสอบไดที่โรงเรียนของตน เอง 14. ลักษณะความสัมพันธทางสังคมแบบทุติยภูมจะเปนไปตามขอใด ิ 1. เปนความสัมพันธที่เกิดขึ้นในระยะเวลายาวนาน 2. เปนความสัมพันธเนื่องจากมีจุดมุงหมายเดียวกัน 3. เปนความสัมพันธท่เี กิดขึนจากการที่มีสมาชิกอยูเปนจํานวนมาก ้ 4. เปนความสัมพันธภายในกลุมที่มีฐานะ หนาที่ การงานแตกตางกัน 15. ในดานสังคมวิทยาแลว ขอใดตอไปนี้ไมถูกตองเกี่ยวกับวัฒนธรรม 1. วัฒนธรรมคือรูปแบบการดําเนินชีวิตที่ดีงาม 2. วัฒนธรรมทําใหสังคมมนุษยมีการเปลี่ยนแปลง 3. วัฒนธรรมเปนระบบสัญลักษณที่เกิดจากการเรียน 4. วัฒนธรรมคือวิถีชวิตที่สืบทอดจากคนรุนหนึ่งไปยังอีกรุนหนึ่ง ี 16. “เสียทองเทาหัว ไมยอมเสียผัวใหใคร” เปนคํากลาวที่แสดงลักษณะใดของวัฒนธรรม 1. มรดกทางสังคม 2. สิ่งที่สังคมตองเรียนรู 3. แบบแผนการดําเนินชีวิต 4. เปนการเปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย 17. การดําเนินชีวิตของคนยุโรปและอเมริกาที่มีสิ่งอํานวยความสะดวกมากมายกวาคนเอเชียและ แอฟริกานั้น แสดงถึงลักษณะใดของวัฒนธรรม 1. วัฒนธรรมเปนสิ่งที่ไมคงที่มการเปลี่ยนแปลงเสมอ ี 2. วัฒนธรรมเปนมรดกทางสังคม 3. วัฒนธรรมเปนสิ่งที่ไดจากการเรียนรู 4. วัฒนธรรมเปนแบบอยางในการดําเนินชีวิต สังคมศึกษา อ.สุทศน ภูมิรัตนจรินทร ั 5
  • 6. 18. ขอความใดสะทอนพฤติกรรมที่ไมใชวฒนธรรมทางวัตถุ ั 1. การบริจาคเงินรางวัลใหแกสถานเลี้ยงเด็กกําพรา 2. การสงกระทงดอกไมสดเขาประกวดในงานแสดงภูมิปญญาไทย 3. การมอบเครื่องหมายประกันคุณภาพแกสินคา 1 ตําบล 1 ผลิตภัณฑ 4. การสงออกผลไมไทยไดรบความนิยมอยางมากในกลุมประเทศอาเซียน ั 19. คํากลาวที่วา “วัฒนธรรมไทยเปนมรดกทางสังคมไทย” หมายถึงขอใดมากที่สด ุ 1. วัฒนธรรมไทยเปนมรดกทางวัตถุที่จบตองได ั 2. วัฒนธรรมไทยมีประวัติความเปนมาอันยาวนาน 3. วัฒนธรรมไทยเปนสิ่งที่มคุณคาควรรักษาไว ี 4. วัฒนธรรมไทยมีการถายทอดจากบรรพบุรุษสูลูกหลาน 20. ขอใดเปนวัฒนธรรมประเภท “สหธรรม” 1. หลักในการดําเนินชีวิตที่สวนใหญไดมาจากศาสนา 2. ขนบธรรมเนียมประเพณี และมารยาททางสังคม 3. ระเบียบขอบังคับตาง ๆ ของสังคมและกฎหมาย 4. สิ่งที่สมาชิกไดคิดประดิษฐ ใหเกิดความสะดวกสบายในการดําเนินชีวิต 21. พระภิกษุละออง สุวรรณโณ เสพเมถุนกับสีกาปุย ทําใหตองปาราชิกแสดงใหเห็นวาเปนเรื่อง เกียวกับวัฒนธรรมดานใด ่ 1. คติธรรม 2. เนติธรรม 3. สหธรรม 4. วัตถุธรรม 22. ปจจัยขอใดสําคัญที่สุด ทีกอใหเกิดวัฒนธรรมในปจจุบัน ่ 1. ดานภูมิศาสตร 2. ลัทธิ-ศาสนา 3. ขนบประเพณี 4. วิทยาการ-เทคโนโลยี สังคมศึกษา อ.สุทศน ภูมิรัตนจรินทร ั 6