SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
แหล่งกำเนิดและกำรเคลื่อนย้ำยของมนุษย์ (1)
อาจารย์ยศพรธ์ วรรชนะ
ภาควิชาภูมิศาสตร์ โปรแกรมวิชาสังคมศึกษา
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
pwanchana@hotmail.com
บทที่ 2
ทฤษฎีกำรกำเนิดมนุษย์
นักโบราณคดีได้ตั้งทฤษฎีการกาเนิดมนุษย์ไว้ 3 ทฤษฎี
1. Homogenesis Theory ---> เชื่อว่ามนุษย์เกิดขึ้นมาในหลายๆ บริเวณ
พร้อมกัน
2. Monogenesis Theory ---> เชื่อว่ามนุษย์สืบเชื้อสายมาจากบรรพบุรุษ
เดียวกัน คือ มนุษย์เผ่าพันธุ์ที่ฉลาด (Wise man) หรือ Homo sapiens
3. Polygenesis Theory ---> เชื่อว่ามนุษย์นั้นมาจากหลายบรรพบุรุษ
แล้วจึงมารวมเป็นบรรพบุรุษเดียวกัน
เรณู หอมหวน (2537:18-19)
ทฤษฎีกำรกำเนิดมนุษย์
Homogenesis Theory
ทฤษฎีนี้ได้รับการเชื่อถือมากที่สุด เนื่องจากมีการขุดพบหลักฐานทาง
โบราณคดี เช่น โครงกระดูก กะโหลกศีรษะของมนุษย์โบราณทางใต้และ
บริเวณตอนล่างของทวีปแอฟริกา และได้อาศัยอยู่กันอย่างหนาแน่น
ต่อมาจึงได้ย้ายออกไปสู่ภูมิภาคต่างๆ ทั่วโลก และได้มีการแบ่งแยก
เชื้อชาติ ตามลักษณะของสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ รวมทั้งการหล่อ
หลอมทางวัฒนธรรม สังคม ภาษา ศาสนา แนวคิดทางการเมือง ที่มี
ลักษณะเดียวกัน
เรณู หอมหวน (2537:18-19)
แหล่งกำเนิดของมนุษย์
 เชื่อกันว่ามนุษย์เกิดขึ้นมาครั้งแรกตอนต้นของยุค Pleistocene (ประมาณ
1 ล้านปีมาแล้ว) นักธรณีวิทยาเชื่อว่าเป็นยุคสุดท้ายที่โลกถูกปกคลุมด้วย
น้าแข็ง (The Last Ice Age)
 มนุษย์เผ่าพันธุ์ที่ฉลาด (Homo Sapiens) เริ่มมีชีวิตอยู่บนโลกเมื่อ
ประมาณ 30,000 ปี คือ ปลายยุคนาแข็งยุคสุดท้าย
แหล่งกำเนิดของมนุษย์
มนุษย์มีลักษณะเด่นทางธรรมชาติที่ทาให้สามารถต่อสู้กับสิ่งแวดล้อมได้
ดีกว่าสัตว์ ได้แก่
1. มันสมอง : แม้แต่มนุษย์วานร (Sub-men) ก็มีมันสมองมากกว่าสัตว์
อื่น มันสมองทาให้มนุษย์รู้จักคิดหาเหตุผล วิธีแก้ไข ประดิษฐ์สิ่งต่างๆ
2. กล่องเสียง : สามารถออกเสียงได้มากกว่าสัตว์ทุกชนิด เกิดภาษาพูด
ถ่ายทอดความรู้และแสวงหาความรู้ใหม่ๆ
3. รู้จักประดิษฐ์เครื่องมือเครื่องใช้ (Tools) อาวุธต่างๆ สร้างที่อยู่อาศัย
เลือกใช้เครื่องมือให้เหมาะสมกับความต้องการ ----> มีความสามารถปรับตัว
ได้มากกว่าสัตว์
สายบรรพบุรุษของมนุษย์
ต้นไม้วิวัฒนำกำรของมนุษย์
Source: http://activity.ntsec.gov.tw/space/EN/show.asp?XH03
ออสตราโลพิเธคัส
พาเรนโธรปัส
ออสตราโลพิเธคัส (พัฒนา)
พิเธแคนโทรปัส อิเร็กตัส
โฮโมเซเปียนส์
นีอัลเดอร์ธัล
โครมันยอง มนุษย์สมัยใหม่วรรณา วงษ์วานิช อ้างถึงใน เรณู หอมหวน (2537: 22)
สายบรรพบุรุษของมนุษย์
บรรพบุรุษของมนุษย์แบ่งออกเป็น 3 ลำดับขั้น
1. Australopithecus
2. Pethecanthropus Erectus
3. Homo Sapiens
สวาท เสนาณรงค์ อ้างถึงใน เรณู หอมหวน (2537: 21)
ต้นไม้วิวัฒนำกำรของมนุษย์
ออสตราโลพิเธคัส : Australopithecus
 เป็นสัตว์ที่คล้ายมนุษย์มากที่สุด อาศัยอยู่
ในทวีปแอฟริกา
 มีลักษณะต่างจากพวกลิง คือ ฟัน มี
ลักษณะคล้ายฟันของมนุษย์ในยุคแรกๆ
 ไม่ใช่สัตว์ที่กินเนื้อโดยตรง ไม่ชานาญใน
การล่าสัตว์เท่ากับวิธีการหาอาหาร
 รูปร่างเล็ก (สูงประมาณ 1.2 ม. หนัก
ประมาณ 20 กก.) เดินตัวตรง
 ขนาดสมองเท่ากับมันสมองของกอริลล่า
มีลักษณะที่อาจจะวิวัฒนาการเป็นมนุษย์ใน
สมัยแรกได้
Source:http://scienceblogs.com/afarensis/2006/12/18/australopithecus
_afarensis_and/
พิเธแคนโทรปัส อิเร็คตัส : Pithecanthropus Erectus
 เป็นขั้นมนุษย์วานร มีลักษณะคล้ายมนุษย์
มากขึ้น คือ เดิน 2 ขา มือและแขนเคลื่อนไหว
อย่างอิสระ มีสมองฉลาดกว่า ตาตรงมอง
ชัดเจน สามารถพูดได้
 Pithecanthropus Erectus = Walking
Ape Man
 จากการสารวจดินแดนต่างๆ ทั่วโลก พบใน
2 บริเวณ และเรียกชื่อตามแหล่งที่พบ คือ
1. มนุษย์ชวา (Java Man)
2. มนุษย์ปักกิ่ง (Peking Man)
Source: http://travellinginindonesia.com/history.html
พิเธแคนโทรปัส อิเร็คตัส : Pithecanthropus Erectus
มนุษย์ชวำ (Java Man)
 อูจีน ดูบัว (Eugene Dubois) นักฟิสิกส์ชาว
ฮอลันดาขุดพบหัวกะโหลกส่วนบน ชิ้นส่วนขากรรไกร
ล่าง ฟัน 2-3 ซี่ และกระดูกขาบางส่วน
 สันนิษฐานว่าน่าจะมีอายุมากกว่า 5 แสนปีมาแล้ว
 ขนาดของมันสมองใหญ่กว่าลิงทั่วไป ความจุ
ประมาณ 750-940 ลบ.ซม.
 กะโหลกหนา เบ้าตาลึก โหนกคิ้วสูงกว่ามนุษย์
ปัจจุบัน
 ขากรรไกรกว้างและเป็นกระดูกที่แข็งแรง คงใช้
ประโยชน์ในการเคี้ยวเนื้อสัตว์
 เดิน 2 ขา
พิเธแคนโทรปัส อิเร็คตัส : Pithecanthropus Erectus
มนุษย์ปักกิ่ง (Peking Man หรือ Sinanthropus Pekinesis )
 พบกะโหลกศีรษะ ฟัน ทับถมกันอยู่ใน
ถ้า ห่างจากกรุงปักกิ่งเล็กน้อย
 มีความเจริญกว่ามนุษย์ชวา เพราะ
มันสมองมีขนาดใหญ่กว่า ความจุ
ประมาณ 1,000-1,250 ลบ.ซม.
 ฟันคล้ายกับฟันของมนุษย์
 สูงประมาณ 1.50 ม.
Source:http://www.uiowa.edu/~bioanth/courses/Peking1.htm
โฮโมเซเปียนส์ : Homosapiens
 ขั้นเป็นมนุษย์ หมายถึง มนุษย์ที่
ฉลาด มีลักษณะคล้ายกับมนุษย์
ปัจจุบันมาก แบ่งออกเป็น
1. มนุษย์นีแอนเดอร์ธัล
(Neanderthal)
2. มนุษย์โครมันยอง
(Cro-Magnon)
Source: http://verapong.files.wordpress.com/2011/07/imaginative.gif
โฮโมเซเปียนส์ : Homosapiens
มนุษย์นีแอนเดอร์ธัล (Neanderthal)
 พบโครงกระดูก และชิ้นส่วนของร่างกาย ในถ้า
แห่งหนึ่งของประเทศเยอรมันใกล้กับแม่น้านีอันดรา
(Neadra)
 พบเครื่องมือเครื่องใช้ที่ทาจากหินในถ้าของ
ประเทศฝรั่งเศส
 รูปร่างเตี้ยล่า มือและน่องสั้น ขนาดมันสมอง
ใกล้เคียงกับมนุษย์ทั่วไป รูปหน้าไม่ค่อยได้สัดส่วน
หน้าผากสูง สันคิ้วโปน
 ภูมิประเทศปกคลุมด้วยหิมะ ไม่สามารถติดต่อกับ
มนุษย์เผ่าอื่นได้ จึงอาจมีการผสมผสานกันในระหว่าง
พวกเดียวกัน จึงเกิดลักษณะพิเศษทางเชื้อชาติ
Source: http://www.learners.in.th/media/files/29525
Source: http://www.crystalinks.com/neanderthal.html
โฮโมเซเปียนส์ : Homosapiens
โฮโมเซเปียนส์ : Homosapiens
Source: http://gawker.com/5533192/you-are-part-neanderthal-probably
มนุษย์นีแอนเดอร์ธัล (Neanderthal)
โฮโมเซเปียนส์ : Homosapiens
มนุษย์โครมันยอง (Cro-Magnon)
 มีลักษณะคล้ายมนุษย์ปัจจุบันมาก อายุประมาณ 35,000 ปี
มาแล้ว อาศัยอยู่ในแถบเอเชียไมเนอร์และยุโรป
 พบโครงกระดูกครั้งแรกที่ถ้าโครมันยอง (Cro-magnon) ทาง
ตอนกลางของประเทศฝรั่งเศส
 รูปร่างตั้งตรง ไม่ล่าจนเกินไป หน้าผากไม่สูงมาก ขากรรไกร
และฟันเล็ก กะโหลกศีรษะใหญ่กว่ามนุษย์ชวามาก กะโหลกมี
ลักษณะแตกต่างจากมนุษย์ชวา และนีแอนเดอร์ธัล มีขนาด
มันสมองประมาณ 1,661 ลบ.ซม.
 เริ่มเข้าสู่มนุษย์สมัยใหม่
 วาดภาพ สลักภาพเกี่ยวกับสัตว์ การล่าสัตว์
 มีความสามารถในการทาเครื่องมือ เช่น เข็มเย็บผ้า เบ็ดตก
ปลาจากกระดูกสัตว์ เครื่องนุ่งห่มจากหนังสัตว์ ฯลฯ
Source: http://neuro.sofiatopia.org/brainmind_brain.htm
โฮโมเซเปียนส์ : Homosapiens
Modern man in the form of Homo sapiens arose in Africa some 160,000 years
ago from Homo erectus. Homo sapiens were distinguished by lighter skeletons
and bigger brains than earlier Homo groups, whom they eventually displaced in
populating the globe.
Homo erectus arose approximately 1.6 million years ago and populated
Africa, Asia and Europe. They were supplemented about 40,000 years ago
by archaic Homo species, although a Javanese group may have been a
contemporary of Homo sapiens.
The first known pre-historic man has been given the name Homo
ergaster who arose in Africa some 1.9 million years ago. He is linked to
Homo erectus who developed from, and eventually replaced Homa
ergaster, in Africa and Asia. Homo ergaster has been identified with early
stone tool technology.
Source: http://www.janesoceania.com/melanesia_origins/index.htm
โฮโมเซเปียนส์ : Homosapiens
มนุษย์โครมันยอง (Cro-Magnon)
Source: http://www.sciencephoto.com/media
โฮโมเซเปียนส์ : Homosapiens
มนุษย์โครมันยอง (Cro-Magnon)
Source: http://s6.zetaboards.com/man/topic/528356/2/
แบบฝึกหัด
1. ทฤษฎีการกาเนิดมนุษย์มีกี่ทฤษฎี อะไรบ้าง และทฤษฎีใดเป็นทฤษฎีที่
น่าเชื่อถือที่สุด จงอธิบายและให้เหตุผลประกอบ
2. จงอธิบายวิวัฒนาการมาสายบรรพบุรุษของมนุษย์ และยกตัวอย่าง
ประกอบ

More Related Content

What's hot

อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียToey Songwatcharachai
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์thnaporn999
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์Padvee Academy
 
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทยกิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทยwittawat_name
 
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการบท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมProud N. Boonrak
 
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยา
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยารวมสรุปเนื้อหาชีววิทยา
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยาwisita42
 
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรบทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรPadvee Academy
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์สำเร็จ นางสีคุณ
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะkrupornpana55
 
สมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมสมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมWan Ngamwongwan
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3 วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3 sudchaleom
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงWan Wan
 
แบบทดสอบประชากร
แบบทดสอบประชากรแบบทดสอบประชากร
แบบทดสอบประชากรWichai Likitponrak
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียKran Sirikran
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์Phattarawan Wai
 
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือrungnapa4523
 
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิดสัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิดSani Satjachaliao
 

What's hot (20)

อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทยกิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
 
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการบท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการ
 
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
 
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคนเล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
 
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยา
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยารวมสรุปเนื้อหาชีววิทยา
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยา
 
การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรบทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
 
สมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมสมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรม
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3 วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
 
แบบทดสอบประชากร
แบบทดสอบประชากรแบบทดสอบประชากร
แบบทดสอบประชากร
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
 
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิดสัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
 

Similar to แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (1)

แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการแผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการSumalee Khvamsuk
 
ระบบสืบพันธุ์ สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอนระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์ สอนNokko Bio
 
ระบบสืบพันธุ์ สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอนระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์ สอนnokbiology
 
มรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลกมรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลกHeritagecivil Kasetsart
 
มรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลก มรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลก Heritagecivil Kasetsart
 
Evolution human
Evolution humanEvolution human
Evolution humanBio Teach
 

Similar to แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (1) (8)

แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.2
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.2แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.2
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.2
 
Evolution Plan : การคัดเลือกตามธรรมชาติ
Evolution Plan : การคัดเลือกตามธรรมชาติEvolution Plan : การคัดเลือกตามธรรมชาติ
Evolution Plan : การคัดเลือกตามธรรมชาติ
 
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการแผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
 
ระบบสืบพันธุ์ สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอนระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์ สอน
 
ระบบสืบพันธุ์ สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอนระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์ สอน
 
มรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลกมรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลก
 
มรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลก มรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลก
 
Evolution human
Evolution humanEvolution human
Evolution human
 

More from Nakhon Pathom Rajabhat University

การดำรงชีวิตของมนุษย์ในเขตภูมิศาสตร์กายภาพ
การดำรงชีวิตของมนุษย์ในเขตภูมิศาสตร์กายภาพการดำรงชีวิตของมนุษย์ในเขตภูมิศาสตร์กายภาพ
การดำรงชีวิตของมนุษย์ในเขตภูมิศาสตร์กายภาพNakhon Pathom Rajabhat University
 
การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัย
การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัยการตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัย
การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัยNakhon Pathom Rajabhat University
 
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของมนุษย์
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของมนุษย์กิจกรรมทางเศรษฐกิจของมนุษย์
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของมนุษย์Nakhon Pathom Rajabhat University
 
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (3)
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (3)เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (3)
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (3)Nakhon Pathom Rajabhat University
 
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (1)
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (1)เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (1)
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (1)Nakhon Pathom Rajabhat University
 
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนาเชื้อชาติ ภาษา และศาสนา
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนาNakhon Pathom Rajabhat University
 
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (2)
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (2)เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (2)
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (2)Nakhon Pathom Rajabhat University
 
แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (3)
แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (3)แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (3)
แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (3)Nakhon Pathom Rajabhat University
 
แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (2)
แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (2)แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (2)
แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (2)Nakhon Pathom Rajabhat University
 

More from Nakhon Pathom Rajabhat University (9)

การดำรงชีวิตของมนุษย์ในเขตภูมิศาสตร์กายภาพ
การดำรงชีวิตของมนุษย์ในเขตภูมิศาสตร์กายภาพการดำรงชีวิตของมนุษย์ในเขตภูมิศาสตร์กายภาพ
การดำรงชีวิตของมนุษย์ในเขตภูมิศาสตร์กายภาพ
 
การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัย
การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัยการตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัย
การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัย
 
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของมนุษย์
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของมนุษย์กิจกรรมทางเศรษฐกิจของมนุษย์
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของมนุษย์
 
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (3)
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (3)เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (3)
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (3)
 
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (1)
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (1)เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (1)
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (1)
 
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนาเชื้อชาติ ภาษา และศาสนา
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา
 
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (2)
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (2)เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (2)
เชื้อชาติ ภาษา และศาสนา (2)
 
แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (3)
แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (3)แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (3)
แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (3)
 
แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (2)
แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (2)แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (2)
แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (2)
 

แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (1)

  • 1. แหล่งกำเนิดและกำรเคลื่อนย้ำยของมนุษย์ (1) อาจารย์ยศพรธ์ วรรชนะ ภาควิชาภูมิศาสตร์ โปรแกรมวิชาสังคมศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ pwanchana@hotmail.com บทที่ 2
  • 2. ทฤษฎีกำรกำเนิดมนุษย์ นักโบราณคดีได้ตั้งทฤษฎีการกาเนิดมนุษย์ไว้ 3 ทฤษฎี 1. Homogenesis Theory ---> เชื่อว่ามนุษย์เกิดขึ้นมาในหลายๆ บริเวณ พร้อมกัน 2. Monogenesis Theory ---> เชื่อว่ามนุษย์สืบเชื้อสายมาจากบรรพบุรุษ เดียวกัน คือ มนุษย์เผ่าพันธุ์ที่ฉลาด (Wise man) หรือ Homo sapiens 3. Polygenesis Theory ---> เชื่อว่ามนุษย์นั้นมาจากหลายบรรพบุรุษ แล้วจึงมารวมเป็นบรรพบุรุษเดียวกัน เรณู หอมหวน (2537:18-19)
  • 3. ทฤษฎีกำรกำเนิดมนุษย์ Homogenesis Theory ทฤษฎีนี้ได้รับการเชื่อถือมากที่สุด เนื่องจากมีการขุดพบหลักฐานทาง โบราณคดี เช่น โครงกระดูก กะโหลกศีรษะของมนุษย์โบราณทางใต้และ บริเวณตอนล่างของทวีปแอฟริกา และได้อาศัยอยู่กันอย่างหนาแน่น ต่อมาจึงได้ย้ายออกไปสู่ภูมิภาคต่างๆ ทั่วโลก และได้มีการแบ่งแยก เชื้อชาติ ตามลักษณะของสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ รวมทั้งการหล่อ หลอมทางวัฒนธรรม สังคม ภาษา ศาสนา แนวคิดทางการเมือง ที่มี ลักษณะเดียวกัน เรณู หอมหวน (2537:18-19)
  • 4. แหล่งกำเนิดของมนุษย์  เชื่อกันว่ามนุษย์เกิดขึ้นมาครั้งแรกตอนต้นของยุค Pleistocene (ประมาณ 1 ล้านปีมาแล้ว) นักธรณีวิทยาเชื่อว่าเป็นยุคสุดท้ายที่โลกถูกปกคลุมด้วย น้าแข็ง (The Last Ice Age)  มนุษย์เผ่าพันธุ์ที่ฉลาด (Homo Sapiens) เริ่มมีชีวิตอยู่บนโลกเมื่อ ประมาณ 30,000 ปี คือ ปลายยุคนาแข็งยุคสุดท้าย
  • 5. แหล่งกำเนิดของมนุษย์ มนุษย์มีลักษณะเด่นทางธรรมชาติที่ทาให้สามารถต่อสู้กับสิ่งแวดล้อมได้ ดีกว่าสัตว์ ได้แก่ 1. มันสมอง : แม้แต่มนุษย์วานร (Sub-men) ก็มีมันสมองมากกว่าสัตว์ อื่น มันสมองทาให้มนุษย์รู้จักคิดหาเหตุผล วิธีแก้ไข ประดิษฐ์สิ่งต่างๆ 2. กล่องเสียง : สามารถออกเสียงได้มากกว่าสัตว์ทุกชนิด เกิดภาษาพูด ถ่ายทอดความรู้และแสวงหาความรู้ใหม่ๆ 3. รู้จักประดิษฐ์เครื่องมือเครื่องใช้ (Tools) อาวุธต่างๆ สร้างที่อยู่อาศัย เลือกใช้เครื่องมือให้เหมาะสมกับความต้องการ ----> มีความสามารถปรับตัว ได้มากกว่าสัตว์
  • 6. สายบรรพบุรุษของมนุษย์ ต้นไม้วิวัฒนำกำรของมนุษย์ Source: http://activity.ntsec.gov.tw/space/EN/show.asp?XH03 ออสตราโลพิเธคัส พาเรนโธรปัส ออสตราโลพิเธคัส (พัฒนา) พิเธแคนโทรปัส อิเร็กตัส โฮโมเซเปียนส์ นีอัลเดอร์ธัล โครมันยอง มนุษย์สมัยใหม่วรรณา วงษ์วานิช อ้างถึงใน เรณู หอมหวน (2537: 22)
  • 7. สายบรรพบุรุษของมนุษย์ บรรพบุรุษของมนุษย์แบ่งออกเป็น 3 ลำดับขั้น 1. Australopithecus 2. Pethecanthropus Erectus 3. Homo Sapiens สวาท เสนาณรงค์ อ้างถึงใน เรณู หอมหวน (2537: 21) ต้นไม้วิวัฒนำกำรของมนุษย์
  • 8. ออสตราโลพิเธคัส : Australopithecus  เป็นสัตว์ที่คล้ายมนุษย์มากที่สุด อาศัยอยู่ ในทวีปแอฟริกา  มีลักษณะต่างจากพวกลิง คือ ฟัน มี ลักษณะคล้ายฟันของมนุษย์ในยุคแรกๆ  ไม่ใช่สัตว์ที่กินเนื้อโดยตรง ไม่ชานาญใน การล่าสัตว์เท่ากับวิธีการหาอาหาร  รูปร่างเล็ก (สูงประมาณ 1.2 ม. หนัก ประมาณ 20 กก.) เดินตัวตรง  ขนาดสมองเท่ากับมันสมองของกอริลล่า มีลักษณะที่อาจจะวิวัฒนาการเป็นมนุษย์ใน สมัยแรกได้ Source:http://scienceblogs.com/afarensis/2006/12/18/australopithecus _afarensis_and/
  • 9. พิเธแคนโทรปัส อิเร็คตัส : Pithecanthropus Erectus  เป็นขั้นมนุษย์วานร มีลักษณะคล้ายมนุษย์ มากขึ้น คือ เดิน 2 ขา มือและแขนเคลื่อนไหว อย่างอิสระ มีสมองฉลาดกว่า ตาตรงมอง ชัดเจน สามารถพูดได้  Pithecanthropus Erectus = Walking Ape Man  จากการสารวจดินแดนต่างๆ ทั่วโลก พบใน 2 บริเวณ และเรียกชื่อตามแหล่งที่พบ คือ 1. มนุษย์ชวา (Java Man) 2. มนุษย์ปักกิ่ง (Peking Man) Source: http://travellinginindonesia.com/history.html
  • 10. พิเธแคนโทรปัส อิเร็คตัส : Pithecanthropus Erectus มนุษย์ชวำ (Java Man)  อูจีน ดูบัว (Eugene Dubois) นักฟิสิกส์ชาว ฮอลันดาขุดพบหัวกะโหลกส่วนบน ชิ้นส่วนขากรรไกร ล่าง ฟัน 2-3 ซี่ และกระดูกขาบางส่วน  สันนิษฐานว่าน่าจะมีอายุมากกว่า 5 แสนปีมาแล้ว  ขนาดของมันสมองใหญ่กว่าลิงทั่วไป ความจุ ประมาณ 750-940 ลบ.ซม.  กะโหลกหนา เบ้าตาลึก โหนกคิ้วสูงกว่ามนุษย์ ปัจจุบัน  ขากรรไกรกว้างและเป็นกระดูกที่แข็งแรง คงใช้ ประโยชน์ในการเคี้ยวเนื้อสัตว์  เดิน 2 ขา
  • 11. พิเธแคนโทรปัส อิเร็คตัส : Pithecanthropus Erectus มนุษย์ปักกิ่ง (Peking Man หรือ Sinanthropus Pekinesis )  พบกะโหลกศีรษะ ฟัน ทับถมกันอยู่ใน ถ้า ห่างจากกรุงปักกิ่งเล็กน้อย  มีความเจริญกว่ามนุษย์ชวา เพราะ มันสมองมีขนาดใหญ่กว่า ความจุ ประมาณ 1,000-1,250 ลบ.ซม.  ฟันคล้ายกับฟันของมนุษย์  สูงประมาณ 1.50 ม. Source:http://www.uiowa.edu/~bioanth/courses/Peking1.htm
  • 12. โฮโมเซเปียนส์ : Homosapiens  ขั้นเป็นมนุษย์ หมายถึง มนุษย์ที่ ฉลาด มีลักษณะคล้ายกับมนุษย์ ปัจจุบันมาก แบ่งออกเป็น 1. มนุษย์นีแอนเดอร์ธัล (Neanderthal) 2. มนุษย์โครมันยอง (Cro-Magnon) Source: http://verapong.files.wordpress.com/2011/07/imaginative.gif
  • 13. โฮโมเซเปียนส์ : Homosapiens มนุษย์นีแอนเดอร์ธัล (Neanderthal)  พบโครงกระดูก และชิ้นส่วนของร่างกาย ในถ้า แห่งหนึ่งของประเทศเยอรมันใกล้กับแม่น้านีอันดรา (Neadra)  พบเครื่องมือเครื่องใช้ที่ทาจากหินในถ้าของ ประเทศฝรั่งเศส  รูปร่างเตี้ยล่า มือและน่องสั้น ขนาดมันสมอง ใกล้เคียงกับมนุษย์ทั่วไป รูปหน้าไม่ค่อยได้สัดส่วน หน้าผากสูง สันคิ้วโปน  ภูมิประเทศปกคลุมด้วยหิมะ ไม่สามารถติดต่อกับ มนุษย์เผ่าอื่นได้ จึงอาจมีการผสมผสานกันในระหว่าง พวกเดียวกัน จึงเกิดลักษณะพิเศษทางเชื้อชาติ Source: http://www.learners.in.th/media/files/29525 Source: http://www.crystalinks.com/neanderthal.html
  • 15. โฮโมเซเปียนส์ : Homosapiens Source: http://gawker.com/5533192/you-are-part-neanderthal-probably มนุษย์นีแอนเดอร์ธัล (Neanderthal)
  • 16. โฮโมเซเปียนส์ : Homosapiens มนุษย์โครมันยอง (Cro-Magnon)  มีลักษณะคล้ายมนุษย์ปัจจุบันมาก อายุประมาณ 35,000 ปี มาแล้ว อาศัยอยู่ในแถบเอเชียไมเนอร์และยุโรป  พบโครงกระดูกครั้งแรกที่ถ้าโครมันยอง (Cro-magnon) ทาง ตอนกลางของประเทศฝรั่งเศส  รูปร่างตั้งตรง ไม่ล่าจนเกินไป หน้าผากไม่สูงมาก ขากรรไกร และฟันเล็ก กะโหลกศีรษะใหญ่กว่ามนุษย์ชวามาก กะโหลกมี ลักษณะแตกต่างจากมนุษย์ชวา และนีแอนเดอร์ธัล มีขนาด มันสมองประมาณ 1,661 ลบ.ซม.  เริ่มเข้าสู่มนุษย์สมัยใหม่  วาดภาพ สลักภาพเกี่ยวกับสัตว์ การล่าสัตว์  มีความสามารถในการทาเครื่องมือ เช่น เข็มเย็บผ้า เบ็ดตก ปลาจากกระดูกสัตว์ เครื่องนุ่งห่มจากหนังสัตว์ ฯลฯ Source: http://neuro.sofiatopia.org/brainmind_brain.htm
  • 17. โฮโมเซเปียนส์ : Homosapiens Modern man in the form of Homo sapiens arose in Africa some 160,000 years ago from Homo erectus. Homo sapiens were distinguished by lighter skeletons and bigger brains than earlier Homo groups, whom they eventually displaced in populating the globe. Homo erectus arose approximately 1.6 million years ago and populated Africa, Asia and Europe. They were supplemented about 40,000 years ago by archaic Homo species, although a Javanese group may have been a contemporary of Homo sapiens. The first known pre-historic man has been given the name Homo ergaster who arose in Africa some 1.9 million years ago. He is linked to Homo erectus who developed from, and eventually replaced Homa ergaster, in Africa and Asia. Homo ergaster has been identified with early stone tool technology. Source: http://www.janesoceania.com/melanesia_origins/index.htm
  • 19. โฮโมเซเปียนส์ : Homosapiens มนุษย์โครมันยอง (Cro-Magnon) Source: http://s6.zetaboards.com/man/topic/528356/2/
  • 20. แบบฝึกหัด 1. ทฤษฎีการกาเนิดมนุษย์มีกี่ทฤษฎี อะไรบ้าง และทฤษฎีใดเป็นทฤษฎีที่ น่าเชื่อถือที่สุด จงอธิบายและให้เหตุผลประกอบ 2. จงอธิบายวิวัฒนาการมาสายบรรพบุรุษของมนุษย์ และยกตัวอย่าง ประกอบ