SlideShare a Scribd company logo
1 of 43
ภาษาต่างประเทศใน
ภาษาไทย
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของ
ภาษา
การใช้ความรู้ทางด้านภาษาศาสตร์มาช่วยใน
การศึกษา
ความหลากหลายของภาษา (LanguageVariety)
• แบ่งตามเชื้อชาติของผู้พูดหรือเจ้าของภาษา (The race of
Native Speakers)
• แบ่งตามรูปลักษณะของภาษา (Language Structure)
• แบ่งตามตระกูลของภาษา (Language Families)
แบ่งตามเชื้อชาติของผู้พูดหรือเจ้าของภาษา
• การแบ่งตามวิธีนี้ถือเอาเป็นแบบอย่างที่แน่นอนไม่ได้ เนื่องจาก
มนุษย์มีการแต่งงานหรือผสมกันในเชื้อชาติ คนชาติหนึ่ง
สามารถใช้ภาษาของคนอีกชาติหนึ่งได้
ตัวอย่าง
ชาวสวิสพูดภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอิตาเลียน
ชาวเบลเยี่ยมพูดภาษาดัตช์ ภาษาฝรั่งเศส และภาษาเยอรมัน
แบ่งตามรูปลักษณะของภาษา
• การแบ่งตามวิธีนี้อาศัยความสาคัญอยู่ที่ลักษณะของการ
ประกอบคาและการวางตาแหน่งคาของประโยคเป็นเกณฑ์ ถ้า
ลักษณะของภาษามีส่วนเหมือนกันหรือคล้ายคลึงกันก็สามารถ
รวมเข้าเป็นประเภทเดียวกันได้
แบ่งตามตระกูลภาษา
ภาษามีวิภัติปัจจัย (Inflectional Language)
ภาษาคาติดต่อ (Agglutinative Language)
ภาษาคามากพยางค์ (Polysyntatic Language)
ภาษาคาโดด (Isolating Language)
ตัวอย่าง
ภาษาบาลี สันสกฤต กรีก ละติน อาหรับ ตระกูลอินโด-ยูโรเปียน
เป็นต้น
ธาตุ (root) รากศัพท์หรือคาดั้งเดิมในภาษา
ปัจจัย (suffix) เป็นหน่วยคาที่ประกอบหลังคาศัพท์เพื่อปรุงแต่ง
คาศัพท์ เพื่อบ่งบอกพจน์ (Number) ลิงค์ (Gender) บุรุษ (Person)
วิภัตติ (ending) เป็นคาลงท้ายที่ทาให้รู้ว่าคานั้นทาหน้าที่อะไรใน
ประโยค และบอกรายละเอียดอื่นๆ ในประโยค รูปวิภัตติจะบอกพจน์
(Number) เพศ (และการก
ภาษามีวิภัติปัจจัย (Inflectional Language)
ธาตุ (root) รากศัพท์หรือคาดั้งเดิมในภาษา
คมฺ ธาตุ แปลว่า ไป
นมฺ ธาตุ แปลว่า ไหว้
ภุชฺ ธาตุ แปลว่า กิน
ปัจจัย (suffix) เป็นหน่วยคาที่ประกอบหลังคาศัพท์เพื่อปรุงแต่ง
คาศัพท์ เพื่อบ่งบอกพจน์ (Number) ลิงค์ (Gender) บุรุษ (Person)
คมฺ + อน คมน การไป
คมฺ + อ คจฺฉ ย่อมไป, ไปอยู่
คมฺ + ต คต ไปแล้ว
คมฺ + ตฺวา คนฺตฺวา ไปแล้ว
วิภัตติ (ending)
คจฺฉ + ติ (วิภัตติกริยา) คจฺฉติ แปลว่า ท่าน (คนเดียว) ไป
อยู่ (จักไป)
คต เป็นกริยากิตก์ ที่ต้องแจกตามวิภัตตินาม เช่น
นโร คโต แปลว่า คน (คนเดียว) ไปแล้ว
นารี คตา แปลว่า ผู้หญิง (คนเดียว) ไปแล้ว
• การนาคาเติม (Affix) ซึ่งเป็นหน่วยคาไม่อิสระ มาต่อเข้ากับคาตั้ง หรือคา
มูล (Word base) เพื่อแปลงความหมายหรือเปลี่ยนชนิดของคา ทาให้เกิด
เป็นคาต่างๆ ขึ้นใช้ในภาษามากขึ้น
• คาเติม (Affix) มี ๓ ประเภท ได้แก่
– คาเติมหน้า หรือ อุปสรรค (Prefix)
– คาเติมกลาง หรือ อาคม (Infix)
– คาเติมหลัง หรือ ปัจจัย (Suffix)
ภาษาคาติดต่อ (Agglutinative Language)
คาเติมหน้า หรือ อุปสรรค (Prefix)
kind unkind
like unlike
polite impolite
เกีด (เกิด) บงฺเกีด (บังเกิด)
ลาญ ผฺลาญ (ผลาญ)
คาเติมกลาง หรือ อาคม (Infix)
เกีด กํเณีด (กําเนิด)
รํา รบํา (รบํา)
คาเติมหลัง หรือ ปัจจัย (Suffix)
unkind (a.) unkindly (a. Adv.)
care (n. vi.) careful (a.)
carefully (Adv.)
carefullness (n.)
careless (a. ไม่-)
• การนาคาหลายคามาต่อกันให้ยาวมากเหมือนเป็นคาเดียวกัน
ภาษาคามากพยางค์ (Polysyntatic Language)
• คาเดิมเรียกว่า คาตั้ง หรือคามูล (word base)
• คาแต่ละคาเป็นคาสาเร็จรูปไม่ต้องเปลี่ยนแปลงรูปคา
• คาแต่ละคาไม่ต้องบ่งบอกหน้าที่ของคา
• โครงสร้างของประโยค (syntax) ตามปกติจะขึ้นต้นด้วยประธานของ
ประโยค ตามด้วยกริยาและกรรม
• เดิมเป็นคาพยางค์เดียว
– ภาษาคาพยางค์เดียว (Monosylabic Language)
– ภาษาคาโดด (Isolating)
ภาษาคาโดด (Isolating Language)
• คาที่อยู่ในประโยคทุกคาเป็นหน่วยคาอิสระ (boundless form) ซึ่งไม่
ผูกพันกับคาอื่น แยกออกได้เป็นคาๆ
• นาคาธรรมดาที่ใช้พูดกันอยู่เป็นปกติประกอบเพิ่มเติมลงไป เพื่อบอกเพศ
พจน์ กาล ตามความหมาย
• ชนิดของคาไม่แน่นอนตายตัวเพราะชนิดของคาขึ้นอยู่กับปริบท
• เสียงสูง-ต่ากาหนดความหมาย
ภาษาคาโดด (Isolating Language)
ขอบข่ายของการศึกษาภาษาศาสตร์
ภาษาศาสตร์วรรณนา
Descriptive linguistics
ภาษาศาสตร์เชิงประวัติ
Historical linguistics
ภาษาศาสตร์เชิงเปรียบเทียบ
Comparative linguistics
• เป็นการบรรยายหรือวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆ
• ข้อมูลที่ใช้ศึกษาอยู่ในช่วงเวลาหนึ่ง ในอดีตหรือปัจจุบันก็ได้
• ศึกษาเฉพาะการใช้ภาษาช่วงเวลาหนึ่งโดยไม่เปรียบเทียบกับช่วงเวลาที่
ผ่านมาหรืออนาคต
ภาษาศาสตร์วรรณนา
Descriptive linguistics
• การศึกษาภาษาโดยดูลักษณะการพัฒนาจากอดีตไปยังอีกช่วงเวลาหนึ่ง
• พิจารณาสาเหตุและผลของการเปลี่ยนแปลงนั้น
• ใช้การบรรยายภาษาในเชิงวรรณนาอย่างน้อย ๒ ช่วงเวลาขึ้นไป แล้ว
นามาพิจารณาการเปลี่ยนแปลงของภาษา
ภาษาศาสตร์เชิงประวัติ
Historical linguistics
• การเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงการใช้ภาษาตั้งแต่ ๒ ภาษาขึ้นไป
• การเปรียบเทียบดูความเปลี่ยนแปลงการใช้ภาษาของบุคคลต่างๆ ใน ๒
ช่วงเวลา หรือมากกว่านั้น
ภาษาศาสตร์เชิงเปรียบเทียบ
Comparative linguistics
Diachronic
Syncronic
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
สาเหตุการเปลี่ยนแปลงภาษา
• การเปลี่ยนแปลงภายใน (Internal Change)
– เกิดจากการทาให้สะดวกในการใช้ภาษา
– เกิดจากตัวผู้ใช้ภาษา
• ออกเสียงบกพร่อง
• ใช้ภาษาตามใจตนเองทาให้ภาษาผิดแบบแผน
• มีค่านิยมบางประการเกี่ยวกับภาษา
• การเปลี่ยนแปลงภายนอก (External Change)
– การติดต่อกันทางวัฒนธรรม
– การติดต่อทางการเมือง
– การติดต่อกันทางการค้า
– การติดต่อกันทางด้านศาสนา
– การศึกษา
การเปลี่ยนแปลงด้านเสียง
การเปลี่ยนแปลงด้านคํา
การเปลี่ยนแปลงด้าน
ไวยากรณ์
การเปลี่ยนแปลงด้านเสียง
การกลมกลืนเสียง (Assimilation)
การตัดเสียง (Deletion)
การเติมเสียง (Addition)
การสับเสียง (Metathesis)
การเปลี่ยนเสียง (Sound Change)
การผลักเสียง (Dissimilation)
การกลมกลืนเสียง (Assimilation)
คือการที่เสียงหนึ่งเปลี่ยนไปเหมือนหรือคล้ายคลึงกับเสียงที่
แวดล้อมโดยทั่วไปเกิดขึ้นที่ช่วงต่อระหว่างพยางค์ซึ่งการ
กลมกลืนเสียงจะช่วยให้สะดวกในการออกเสียง
การกลมกลืนเสียงตามเสียงหน้า (Progressive Assimilation)
คือหน่วยเสียงที่ปรากฏอยู่ข้างหลังเปลี่ยนแปลงเสียงไปเหมือน
หรือคล้ายคลึงกับหน่วยเสียงที่มาข้างหน้า
สิบเอ็ด สิบเบ็ด
อย่างไร ยังไง
อย่างนี้ อย่างงี้
จักษุ จักขุ
การกลมกลืนเสียงตามเสียงหลัง (Regressive Assimilation)
คือหน่วยเสียงที่ปรากฏอยู่ข้างหน้าเปลี่ยนแปลงเสียงไปเหมือน
หรือคล้ายคลึงกับหน่วยเสียงที่ตามมาข้างหลัง
เต้าเจี้ยว เจ้าเจี้ยว
อมาตย อามาตย์
อมฤต อามฤต
การกลมกลืนเสียงร่วมกัน (Reciprocal Assimilation)
คือการเปลี่ยนแปลงเสียงทั้งหน่วยเสียงที่อยู่ข้างหน้าและหน่วย
เสียงที่ตามมาข้างหลังต่างมีอิทธิพลร่วมกันที่ทาให้เสียง
เปลี่ยนแปลง
ทีเดียว เชียว
หรือไม่ ไหม
ฉันใด ไฉน
การตัดเสียง (Deletaion)
• การเปลี่ยนแปลงเสียงที่หน่วยเสียงใดหน่วยเสียงหนึ่งหรือหลายหน่วย
เสียงถูกตัดออกไปจากคาหรือพยางค์ มักเกิดในกรณ๊ที่เป็นหน่วยเสียงใน
พยางค์ไม่เน้น หรือไม่ลงน้าหนัก หรือมีหน่วยเสียงซ้ากัน
อันหนึ่ง อนึ่ง
ตัวขาบ ตะขาบ
มหาวิทยาลัย มหาลัย
หอพระไตรปิ ฎก หอไตร
การเติมเสียง (Addition)
การเปลี่ยนแปลงเสียงโดยการเพิ่มหน่วยเสียงหรือกลุ่มหน่วยเสียงเข้าไป
ในคาเพื่อความสะดวกในการออกเสียง
เหยี่ยว อีเหยี่ยว
สุกใส อีสุกอีใส
เสื้อ เสื้อแสง
นกจาบ นกกระจาบ
การสับเสียง (Metathesis)
การเปลี่ยนแปลงเสียงที่เกิดขึ้นโดยหน่วยเสียงในคาสับเปลี่ยนตาแหน่งกัน
ตะกรุด กะตุด
ตะกร้า กะต้า
กาจัด จากัด
การเปลี่ยนเสียง (Sound Change)
การเปลี่ยนแปลงเสียงที่เกิดขึ้นโดยหน่วยเสียงใดหน่วยเสียงหนึ่งในคา
หรือพยางค์ถูกแทนที่ด้วยหน่วยเสียงอื่นๆ
ข้าเศิก ข้าศึก
โสง สอง
โนน นอน
สีน สิน
การผลักเสียง (Dissimilation)
การเปลี่ยนเสียงที่เกิดขึ้นโดยหน่วยเสียงที่อยู่ใกล้กันเดิมมีลักษณะ
เหมือนกันหรือคล้ายคลึง แล้วหน่วยเสียงใดหน่วยเสียงหนึ่งเปลี่ยนไปมี
ลักษณะที่แตกต่างออกไป
เรื่อยๆ ระเรื่อย
ลิ่วลิ่ว ละลิ่ว
จริงจริง จริงจัง
การเปลี่ยนแปลงด้านคา
การเปลี่ยนแปลงในคลังคา
การเปลี่ยนแปลงรูปคา
การเปลี่ยนแปลงในคลังคา
• จานวนในคลังคาลดลง
• จานวนในคลังคาเพิ่มขึ้น
การเปลี่ยนแปลงรูปคา
• การเปลี่ยนแปลงการเรียงลาดับในการประกอบคา
– กลุ้มกลัด กลัดกลุ้ม
– ตั้งแต่ง แต่งตั้ง
– อ่อนใจ ใจอ่อน
• การเปลี่ยนแปลงหน้าที่และการประกอบคา
– จด(กริยา) หมาย(นาม) จดหมาย (นาม)
– ชอบ (กริยา) กล (นาม) ชอบกล (คุณศัพท์)
การเปลี่ยนแปลงด้านไวยากรณ์
• เป็นการเปลี่ยนแปลงตาแหน่งของคาในวลีหรือการเปลี่ยนแปลงการ
เรียงคา หรืออาจมีหน่วยไวยากรณ์ใหม่เกิดขึ้นหรือมีหน่วยไวยากรณ์เดิม
ลดลง
จับได้ตัว จับตัวได้
ยิงระดม ระดมยิง
ตารวจ 3 นาย 3 ตารวจ
การเปลี่ยนแปลงด้านความหมาย
• ความหมายกว้างออก
ไทยดั้งเดิม ไทยกรุงเทพฯ
ขาน “พูด,กล่าว” พูด, กล่าว
ตอบรับชื่อ
รักษา “ดูแล” ดูแล
เยียวยา
• ความหมายแคบเข้า
ไทยดั้งเดิม ไทยกรุงเทพฯ
บ้าน “หมู่บ้าน” เรือน 1 หลัง
ขี่ “ม้า, รถ, เรือ,แคร่” ม้า, รถจักรยาน
• ความหมายย้ายที่
ไทยดั้งเดิม ไทยกรุงเทพฯ
สาส่อน “มาจากที่ต่างๆ” ยุ่งเกี่ยวทางเพศกับใคร
หลายๆ คนในระยะเวลา
เดียวกัน

More Related Content

What's hot

ภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียน
monnawan
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
ณัฐพล แสงทวี
 
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
กชนุช คำเวียง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
Sokoy_jj
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
dnavaroj
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
wangasom
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
Benjapron Seesukong
 

What's hot (20)

บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
หน่วยที่ 2 สาเหตุการยืมภาษาต่างประเทศ
หน่วยที่ 2 สาเหตุการยืมภาษาต่างประเทศหน่วยที่ 2 สาเหตุการยืมภาษาต่างประเทศ
หน่วยที่ 2 สาเหตุการยืมภาษาต่างประเทศ
 
ภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียน
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยม
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
 
ใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อนใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อน
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
 
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
 
แบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรปแบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรป
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
 
1111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111
 

Similar to หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา

ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
wattanaka
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
wattanaka
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
nootsaree
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
itnogkamix
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
Itnog Kamix
 

Similar to หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา (20)

Week 2 of WS4T
Week 2 of WS4T Week 2 of WS4T
Week 2 of WS4T
 
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมดภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมด
 
9789740335610
97897403356109789740335610
9789740335610
 
บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆ
บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆบทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆ
บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆ
 
สรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติวสรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติว
 
Tha203 3
Tha203 3Tha203 3
Tha203 3
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
พจนานุกรม
พจนานุกรมพจนานุกรม
พจนานุกรม
 
ระดับภาษา
ระดับภาษาระดับภาษา
ระดับภาษา
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 
คำวิเศษณ์
คำวิเศษณ์คำวิเศษณ์
คำวิเศษณ์
 
บทที่ 2 ภาษาศาสตร์
บทที่ 2 ภาษาศาสตร์บทที่ 2 ภาษาศาสตร์
บทที่ 2 ภาษาศาสตร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
Chapter 2 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 2   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...Chapter 2   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 2 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
 
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 1
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 1หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 1
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 1
 
Introto ling
Introto lingIntroto ling
Introto ling
 

More from Wilawun Wisanuvekin

More from Wilawun Wisanuvekin (10)

พยางค์
พยางค์พยางค์
พยางค์
 
บทที่ 5 ระบบเสียง
บทที่ 5 ระบบเสียงบทที่ 5 ระบบเสียง
บทที่ 5 ระบบเสียง
 
บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์
บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์
บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์
 
บทที่ 1 ภาษาศาสตร์คืออะไร
บทที่ 1 ภาษาศาสตร์คืออะไรบทที่ 1 ภาษาศาสตร์คืออะไร
บทที่ 1 ภาษาศาสตร์คืออะไร
 
การพูดในสังคม
การพูดในสังคมการพูดในสังคม
การพูดในสังคม
 
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูดกระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
 
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 2
หน่วยที่ 4  ภาษาเขมรในภาษาไทย 2หน่วยที่ 4  ภาษาเขมรในภาษาไทย 2
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 2
 
หน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทย
หน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทยหน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทย
หน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทย
 
การนำเสนอสารด้วยการเขียน
การนำเสนอสารด้วยการเขียนการนำเสนอสารด้วยการเขียน
การนำเสนอสารด้วยการเขียน
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสาร
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสารความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสาร
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสาร
 

หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา