SlideShare a Scribd company logo
1 of 46
ส่วนติดต่อผู้ใช้งานเป็นสิ่งสาคัญมากในระบบคอมพิวเตอร์ทุกประเภทส่วน
ติดต่อผู้ใช้งานเพียงส่วนหนึ่งของคอมพิวเตอร์ในแง่ของ Software ที่มนุษย์จะ
สามารถรับรู้ผ่านทางการมองเห็น การได้ยิน การสัมผัส การพูดคุย หรือ
วิธีการใด ๆ ที่ทาให้มนุษย์และคอมพิวเตอร์สามารถสื่อสารกันได้ทั้งทางตรง
และทางอ้อม
การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้
ส่วนติดต่อผู้ใช้งาน เป็นสิ่งที่สาคัญมากในระบบคอมพิวเตอร์ทุกประเภท เป็น
Subset ของ Human-Computer interactive (HCI) ซึ่งเป็นการศึกษาการ
วางแผนและการออกแบบวิธีการที่มนุษย์และคอมพิวเตอร์สามารถทางาน
ร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด นักออกแบบ HCI จะต้องคานึงถึงปัจจัย
หลายอย่าง ได้แก่ มุมมองและสิ่งที่มนุษย์ต้องการ ข้อจากัดเชิงความสามารถ
และเชิงกายภาพของมนุษย์ กระบวนการการจัดการข้อมูลระบบและวิธีที่ดึงดูด
ให้มนุษย์สามารถใช้งานระบบได้ดี ซึ่งแน่นอนว่า HCI จะคานึงถึงข้อจากัดและ
คุณภาพของทั้ง Software และ Hardware ส่วนติดต่อผู้ใช้งานจะประกอบด้วย
ข้อมูล 2 ส่วนหลักคือ ข้อมูลนาเข้า ในข้อมูลนาออก
User Interface (UI)
ส่วนติดต่อผู้ใช้งานประกอบด้วยข้อมูล 2 ส่วนหลักคือ
เป็นข้อมูลที่คอมพิวเตอร์จะต้องนาไปประมวลผล
ซึ่งคอมพิวเตอร์จะรับข้อมูลผ่านวิธีการที่มนุษย์จะ
ติดต่อสื่อสารโดยการแสดงความต้องการของ
ตนเองไปยังคอมพิวเตอร์ตัวอย่างเครื่องมือใน
การรับข้อมูลนาเข้า เช่น Keyboard, Mouse,
Trackball, นิ้วและเสียง
ข้อมูลนาเข้า
Input
คือ ข้อมูลนาออกเป็นข้อมูลที่ได้จากการประมวลผลของ
คอมพิวเตอร์ซึ่งแสดงผลผ่านวิธีการที่คอมพิวเตอร์จะแสดง
ผลลัพธ์ในการประมวลผลออกมา ซึ่งข้อมูลดังกล่าวคือสิ่งที่
มนุษย์ต้องการปัจจุบันวิธีการแสดงผลข้อมูลนาเข้าโดยทั่วไป
คือ หน้าจอ หรือ Display Screen ซึ่งเป็นวิธีการที่มี
ประโยชน์แก่มนุษย์ที่บกพร่องด้านการฟัง
ข้อมูลนาออก
Output
การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้งานที่ดีจะต้องมีการผสมผสานกลไกใน
การรับรู้ข้อมูลนาเข้า แล้วข้อมูลนาออก ที่รองรับความสามารถ และ
ข้อจากัดของผู้ใช้งานได้มากที่สุดเท่าที่จะทาได้ และตรงตามความ
ต้องการของผู้ใช้งานโดยข้อมูลนาเข้าและข้อมูลนาออกจะมีทิศทางการ
ไหลดังรูป
OUTPUT
INPUT
ส่วนติดต่อผู้ใช้งานมีความสาคัญเพราะระบบคอมพิวเตอร์นั้นเป็นการ
ประมวลผลของชุดคาสั่ง (Source Codes) จานวนมากผู้ใช้งานทั่วไปจึง
ไม่สามารถเข้าถึงหรือสั่งการได้ ดังนั้นส่วนติดต่อผู้ใช้งานจึงเป็นส่วนที่
ผู้ช่วยให้ผู้ใช้งานสามารถติดต่อ (ผ่านการมองเห็น การได้ยิน หรือการ
ส่ง-รับข้อมูล) กับระบบคอมพิวเตอร์ได้
จะมีหน้าตาหรือสื่อให้รับรู้อย่างไรเน้นที่ด้าน
การมองเห็น
ส่วนติดต่อผู้ใช้งานจะสามารถทาให้ผู้ใช้งาน
เข้าใจว่าแต่ละส่วนที่ปรากฏในส่วนติดต่อ
ผู้ใช้งานคืออะไรและสื่อว่าอย่างไร
ส่วนติดต่อผู้ใช้งานจะสามารถทาให้ผู้ใช้งานมี
ปฏิสัมพันธ์กับมันได้อย่างไร
ในการพัฒนาส่วนติดต่อผู้ใช้งาน จาเป็นต้องอาศัยหลักการออกแบบโดยพื้นฐานของการ
ออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้งานนั้นต้องทาให้ส่วนผู้ติดต่อผู้ใช้งานสามารถตอบคาถาม 3 ข้อคือ
ถ้าส่วนติดต่อผู้ใช้งานไม่ผ่าน การออกแบบที่ดีจะเกิดปัญหา เช่น ระบบไม่
สามารถแสดงข้อมูลที่ถูกต้องและ/หรือครบถ้วน ผู้ใช้งานสับสน ไม่สามารถ
เข้าใช้งานระบบได้ผู้ใช้งานเกิดความรู้สึกไม่อยากใช้งานระบบอีก
ส่วนติดต่อผู้ใช้งานสามารถแบ่งเป็นยุคได้ 3ยุคหลัก ๆ ได้แก่
ยุคของระบบคอมพิวเตอร์
System
ยุคของเวิลด์ไวด์เว็บ
WWW
ยุคของอุปกรณ์เคลื่อนที่
Mobile
เทรนด์การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้
Material Design
Flat Design
Skeuomorphic
การจาลองของจริง ในยุคแรกผู้ออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้พยายามจาลอง
“โลกจริง” เพื่อให้คนคุ้นเคย เช่น มีถังขยะ เก็บงานไว้ในแฟ้ม
(Folder/Directory) มีพื้นโต๊ะ (Desktop) เอาไว้วางของ คนเลยคุณเคยได้
ว่า จะจัดการไฟล์ต่างๆ อย่างไรจะมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งของต่างๆ อย่างไร แต่
ข้อจากัดในการ “ปฏิสัมพันธ์” กับสิ่งต่างๆ เหล่านั้น เช่น ถ้าเราเห็นปุ่ม
เหมือนจริงเราก็คิดว่ามันควรจะแค่ “กด” ได้อย่างเดียว เพราะปุ่มจริงๆ ไม่
สามารถปรับซ้ายขวาหรือเขย่าหรือเอียง ฯลฯ ได้ทาให้เราไม่สามารถ
พัฒนาการทดสอบแบบใหม่ๆ ได้
เทรนด์การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้
1. Skeuomorphic
เป็นการออกแบบรูปแบบใหม่ที่มาพร้อมการเปิดตัวของ iOS7 เป็นทา
เว็บไซต์แบบสะอาดสะอาดเรียบ ๆ ไม่เน้น Effect มาก ก่อนหน้านี้คนจะ
ชอบแบบ Skeuomorphism หรือในไทยก็ชอบแบบ Web 2.0 ที่เน้นการ
ใส่เงา, Gradient เยอะ ๆ พอมาถึงยุคของ Flat Design เป็นการตัด
รายละเอียดหลายๆ อย่าง เช่น การใช้เงา การไล่ Gradient ออกไปซึ่งจะ
เน้นการใช้สี/รูปทรงเพื่อแสดงว่าส่วนใหญ่สาคัญในเว็บไซต์มากกว่าเมื่อ
ก่อนที่กลุ่มในเว็บต้องไล่ Gradient เด่น ๆ เพื่อให้กลุ่มดูนูนและคน
มองเห็นได้ง่าย
เทรนด์การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้
2. Flat Design
อย่างไรก็ตามบางคนมองว่า Flat Design ดูธรรมดาเกินไปดูไม่มีความลึกในงานดีไซน์จึงมีบางส่วนที่
ดีไซน์เป็นแนว Almost FlatDesign คือไม่ได้เรียบ ๆ ไปหมดแต่บางส่วนมีการใช้ Gradient มาช่วยทา
ให้ดูเด่นขึ้นหรือมีการใช้รูปถ่ายจริงร่วมกับกลุ่มแบบ Flat สร้างความแปลกใหม่
เทรนด์การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้
เทรนด์การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้
ซึ่งเป็นหลักที่ใช้ดีไซน์ผลิตภัณฑ์ (Product) ในเครือ Google ทั้งหมด
โดยเน้นการแสดงความลึกของสิ่งต่าง ๆ ด้วยแสงเงาเลียนแบบเงาของ
จริง
3. Material Design
กูเกิลเรียก MaterialDesign ว่าเป็น ”ภาษาของการออกแบบ” หรือ Visuallanguageที่รวบรวม
“หลักการออกแบบที่ดี” ไว้ด้วยกัน โดยใช้เป็นแนวทางการออกแบบชุดเดียวที่ใช้ได้อุปกรณ์รองรับ
การโอนข้อมูลหลายแบบไม่ว่าจะเป็น จอสัมผัส สั่งงานด้วยเสียง หรือจะเป็นเมาส์และคีย์บอร์ด
เทรนด์การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้
Design principle
หลักการออกแบบ
ของ Materialdesign
ในโลกความเป็นจริงเน้นการใช้พื้นผิว(Surface) และขอบ
(Edge)ใช้แสงเงา-ภาพเคลื่อนไหวเหมือนกับแสงเงา-การ
เคลื่อนไหวของวัตถุเชิงกายภาพ
Knowyouruseror client
การทาความรู้จักผู้ใช้งาน
01
Understandthebusinessfunction
การทาความเข้าใจการทางานของระบบ
02ใช้วิธีการนาเสนอแบบเดียวกับสิ่งพิมพ์กระดาษเช่นฟอนต์ที่ว่าง
สีสันภาพประกอบ
Develop system menu and Navigation
การพัฒนาระบบเมนูและการนาทาง
03บอกความหมาย(Meaning)องค์การกระทา
รูปแบบการโต้ตอบด้วย UI
การโต้ตอบด้วยคาสั่ง
Command Language
Interaction: CLI
การโต้ตอบด้วยกราฟฟิก
GraphicUser interface
: GUI
ส่วนติดต่อผู้ใช้งาน
GraphicsUser interface
: GUI
แบบกราฟิก
การโต้ตอบด้วย
NaturalLanguage
Interaction: NLI
ภาษามนุษย์
การโต้ตอบด้วยภาษามนุษย์
Natural Language Interaction : NLI
รูปแบบการโต้ตอบด้วย UI
การโต้ตอบด้วยภาษามนุษย์เป็นการโต้ตอบโดยผู้ใช้งานจะใช้ภาษา
มนุษย์หรือภาษาธรรมชาติ เช่น ภาษาเขียน หรือเสียงเป็นข้อมูลนาเข้า
(Input) ตัวอย่างระบบและระบบจะประมวลผลกลับมาเป็นข้อมูลแสดงผล
(Output) การโต้ตอบประเภทนี้ส่วนใหญ่จะถูกนามาใช้ในเทคโนโลยีด้าน
ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial intelligent : AI) เช่น Siri ที่สามารถใช้งานใน
ระบบปฏิบัติการ IOS
รูปแบบการโต้ตอบด้วย UI
การโต้ตอบด้วยคาสั่ง
Command Language Interaction : CLI
หรือ Command เป็นการโต้ตอบโดยผู้ใช้งานจะต้องใช้คาสั่งที่เป็นตัวอักษร
(String) ผ่านคีย์บอร์ดสาหรับเป็นข้อมูลนาเข้าสู่ระบบแล้วระบบจะแสดง
ข้อมูลนาออกผ่านหน้าจอ เช่น Command Line Interface
รูปแบบการโต้ตอบด้วย UI
การโต้ตอบด้วยกราฟฟิก
Graphic User interface: GUI
เป็นการโต้ตอบที่ผู้ใช้งานจะมีปฏิสัมพันธ์กับวัตถุ (Objects) ที่สามารถ
มองเห็น ได้ยิน หรือสัมผัสได้ เช่น ภาพกราฟฟิก ไอคอน การเคลื่อนไหว
รูปแบบการโต้ตอบด้วย UI
การจัดการส่วนติดต่อผู้ใช้งานด้วยกราฟิก เป็นการสร้างส่วนติดต่อ
ผู้ใช้งานผ่านทางภาพที่เข้าใจได้ง่ายแทนการพิมพ์คาสั่งโดยตรง เพื่อให้
คอมพิวเตอร์ทางานตามที่ต้องการ การใช้งานผ่านระบบ GUI เช่น การใช้
เมาส์กดเลือกไอคอน (Icon) ปุ่มคาสั่งที่ต้องการหรือการเลือกคาสั่งตาม
รายการที่อยู่ในเมนูประเภทต่าง ๆ ซึ่งซอฟต์แวร์เตรียมไว้ให้แล้ว ข้อดีของ
ส่วนติดต่อผู้ใช้งานแบบกราฟิกภาพที่เป็นสัญลักษณ์สามารถเข้าใจได้ง่าย
กว่าตัวอักษรภาพที่เป็นสัญลักษณ์สามารถทาให้เกิดการเรียนรู้ได้เร็วขึ้น
ส่วนติดต่อผู้ใช้งานแบบกราฟิก
Graphics User interface: GUI
รูปแบบการโต้ตอบด้วย UI
มนุษย์สามารถเรียนรู้และจดจาภาพสัญลักษณ์ได้ดีเนื่องจากภาพ
สัญลักษณ์เป็นการออกแบบรูปภาพที่ใกล้เคียงกับลักษณะจริงของสิ่งที่เรา
ต้องการสื่อ เช่น สัญลักษณ์รูปบ้าน เป็นไอคอนที่สื่อสารถึงหน้าหลัก
(Homepage) เป็นต้น แต่ภาพสัญลักษณ์จะลดทอนรายละเอียดของภาพ
ให้น้อยที่สุดเพื่อง่ายต่อการจดจาและออกแบบนอกจากนี้มนุษย์สามารถ
จดจาภาพได้ดีกว่าตัวอักษร
ลักษณะของส่วนติดต่อผู้ใช้งานแบบกราฟิก
การนาเสนอสิ่งที่มี
Sophisticated Visual
Presentation
ความซับซ้อน
การใช้วัตถุ
ObjectOrientation
การโต้ตอบแบบเลือก
Pick andClick Interaction
หรือคลิก
การนาเสนอสิ่งที่มีความซับซ้อน
Sophisticated Visual Presentation
ลักษณะของส่วนติดต่อผู้ใช้งานแบบกราฟิก
การนาเสนอภาพ คือ การสร้างส่วนติดต่อผู้ใช้งานที่ทาให้ผู้ใช้งาน
สามารถรับรู้ผ่านทางการมองเห็นหน้าจอ โดยการนาเสนอความ
ซับซ้อนของภาพกราฟิกจะต้องใช้เส้น ภาพวาด สัญลักษณ์ ซึ่งอาจใช้
รูปตัวอักษร สี และขนาดที่มีความแตกต่างกัน โดยวัตถุประสงค์ของ
รูปแบบการนาเสนอสิ่งที่มีความซับซ้อนคือเพื่อแสดงภาพให้ผู้ใช้งาน
สามารถรับรู้เข้าใจความหมายได้อย่างถูกต้องชัดเจนและสมจริงที่สุด
การโต้ตอบแบบเลือกหรือคลิก
Pick and Click Interaction
ลักษณะของส่วนติดต่อผู้ใช้งานแบบกราฟิก
ส่วนติดต่อผู้ใช้งานแบบกราฟิกจะต้องคิดถึงถึงปฏิสัมพันธ์ที่ผู้ใช้งาน
จะมีต่อระบบ โดยสิ่งที่ผู้ใช้กล้องแสดงความต้องการใช้งานของตน
อย่างแรก คือ การเลือก (Pick) จากนั้นเมื่อผู้ใช้งานต้องการสื่อสาร
กับระบบที่เขาได้เลือกแล้วจะต้องคลิก (Click) โดยการเลือกและพริก
เป็นปฏิสัมพันธ์พื้นฐานที่ผู้ใช้งานจะต้องกระทากับส่วนติดต่อผู้ใช้งาน
โดยมากจะใช้ผ่านพอยต์เตอร์ (Pointer) เมาส์หรือคีย์บอร์ด
การใช้วัตถุ
Object Orientation
ลักษณะของส่วนติดต่อผู้ใช้งานแบบกราฟิก
ส่วนติดต่อผู้ใช้งานแบบกราฟฟิกจะต้องประกอบด้วยวัตถุ (Object)
และปฏิสัมพันธ์ (Action) โดยวัตถุคือสิ่งที่ผู้ใช้งานสามารถมองเห็นได้
บนหน้าจอ ซึ่งเมื่อถูกต่าง ๆ จะต้องถูกผสมผสานให้กลมกลืนเป็น
หนึ่งเดียว การออกแบบที่ดีจะทาให้ผู้ใช้งานสามารถโฟกัสไปที่วัตถุ
เหล่านั้นได้และจะทาให้สามารถเข้าใจวิธีการมีปฏิสัมพันธ์กับวัตถุ
เหล่านั้นได้
The Web User Interface
ส่วนติดต่อผู้ใช้งานของเว็บไซต์
ส่วนติดต่อผู้ใช้งานสาหรับเว็บเริ่มมีการใช้กราฟิกมากขึ้นเรื่อย ๆ โดย
การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้งานสาหรับเว็บ คือ การออกแบบการนา
ทาง (Navigation) และการนาเสนอข้อมูลในเว็บนั้น ๆ การออกแบบที่ดี
จะต้องออกแบบให้วัตถุแต่ละอย่างในหน้าเว็บเกิดความสมดุล ไม่ว่าจะ
เป็นเมนู เนื้อหา เอกสาร และกราฟิกอื่น ๆ ที่จะต้องมีความกลมกลืน
เป้าหมายของการออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้งานสาหรับเว็บ คือ การ
สร้างระดับชั้นเมนูแต่ละเพจที่เป็นธรรมชาติตามความต้องการดูข้อมูล
ของผู้ใช้งานจริง ๆ
ลักษณะของส่วนติดต่อผู้ใช้งานแบบกราฟิก
ลาดับการกรอกข้อมูลของผู้ใช้งานจะไม่เป็นทิศทาง ดูจากผู้พัฒนาจัด
วางตาแหน่งขององค์ประกอบต่าง ๆ อย่างไม่เป็นระเบียบไม่จัดกลุ่มซึ่ง
แม้ว่าผู้ใช้งานสามารถกรอกข้อมูลได้แต่ทิศทางในการอ่านจะไม่เป็นเชิง
เส้นอาจจะทาให้เกิดความสับสนได้
ประเภทของ UI
Text-based/Textual UI
01
VisualUI
02
TangibleUI
05
Voice/ AudioUI
03
NaturallanguageUI
04
Touch/TactileUI
06
HapticUI
07
BrainUI
08
Multimodal UI
09
ประเภทของ UI
การแบ่งประเภทของ UI นั้นยังไม่มีเกณฑ์ที่แน่ชัด บ้างก็แบ่งเป็นประเภท
ฮาร์ดแวร์และประเภทซอฟต์แวร์ บ้างก็แบ่งตามประเภทของสื่อดิจิทัลที่
เกี่ยวข้องด้านก็แบ่งตามชนิดของประสาทสัมผัสที่ผู้ใช้ใช้รับรู้ ลักษณะนี้
ทาให้ประเภทของ UI มีหลากหลายและซับซ้อนกันอยู่มาก อีกทั้งยังมี UI
ประเภทใหม่ถูกคิดค้นพัฒนาออกมาเรื่อย ๆ
มักหมายความถึง UI ในยุคของ Command Line Interface (CLI)
ก่อนหน้าที่จะเปลี่ยนมาเป็นยุคของ Graphic user Interface : GUI
โดยใน UI ประเภทนี้จะเน้นการสื่อสารและแสดงผลด้วยข้อความ
ตัวอักษร
ประเภทของ UI
1. Text-based/TextualUI
ลักษณะของ UI จะเกี่ยวข้องกับรูปภาพ เช่น ระบบปฏิบัติการที่แสดงผล
แบบ GUI กล่องดิจิทัลที่รับ Input เป็นรูปภาพ 2 มิติหน้าจอสมาร์ทโฟนที่
แสดง Output เป็นรูปภาพ 2 มิติ เทคโนโลยีการแสดงภาพ 3 มิติ
เทคโนโลยี Projection Mapping เทคโนโลยีความเป็นจริงเสมือน (Virtual
Reality) เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม(Augmented Reality) เทคโนโลยี
กล้องวีดีโอ 360 องศา เป็นต้น
ประเภทของ UI
2. Visual UI
ลักษณะของ UI ที่เกี่ยวข้องกับเสียงเช่นฟีเจอร์การสั่งงานด้วยเสียงบน
สมาร์ทโฟน เทคโนโลยีการสร้างเสียงที่สมจริงสาหรับแว่นความเป็น
จริงเสมือนหรือ Visual Reality Headset อย่าง Facebook Oculus
Rift เป็นต้น
ประเภทของ UI
3. Voice/ Audio UI
ลักษณะของ UI ที่อนุญาตให้ผู้ใช้พิมพ์หรือพูดเพื่อตอบโต้หรือส่ง
งานคอมพิวเตอร์ได้ด้วยภาษาธรรมชาติ (Natural Language) ที่
เราใช้ในแชทหรือพูดคุยในชีวิตประจาวันอยู่แล้ว ตัวอย่างของ UI
ประเภทนี้คือ Chatbot ทั้ง Microsoft, Facebook และ Google
ต่างก็ประกาศเป็นฟีเจอร์ใหม่เพื่อให้ผู้ใช้สามารถสนทนาโต้ตอบกับ
Chatbot ได้อย่างเป็นธรรมชาติเสมือนกาลังแชทกับคนจริงๆ
ประเภทของ UI
4. Natural language UI
หมายถึง URL ที่อนุญาตให้ผู้ใช้มีปฏิสัมพันธ์กับข้อมูลเป็นดิจิตอลได้
ผ่านสื่อกลางเป็นวัสดุหรือวัตถุทางกายภาพที่มีตัวตนสามารถจับ
ต้องได้จริงโดยคาดหวังว่ารูปธรรมทางกายภาพเหล่านี้จะช่วย
สนับสนุนการมีปฏิสัมพันธ์การเรียนรู้และการมีส่วนร่วมให้ผู้ใช้ได้
ตัวอย่างเช่น Robotable [64] แผนที่ตัวละครดิจิตอลบางส่วนในเกม
RoboPong ด้วยหุ่นยนต์จึงเคลื่อนไหวอยู่บนโต๊ะเล่นเกมได้ เป็นต้น
ประเภทของ UI
5. Tangible UI
UI ที่มุ่งเน้นประสาทสัมผัสด้านการสัมผัส (Sense of Touch) กล่องนิ้ว
มือผู้ใช้บนพื้นผิวหนึ่ง ๆ ตัวอย่างเช่นหน้าจอสัมผัสของสมาร์ทโฟนและ
แท็บเล็ตคอมพิวเตอร์ที่สามารถแตะจอเพื่อสั่งงานได้ Cicret กาไล
อัจฉริยะที่ฉายภาพหน้าจอสมาร์ทโฟนลงบนท่อนแขนของผู้ใช้เปลี่ยน
ท่อนแขนนั้นให้กลายเป็นเสมือนหน้าจอที่สั่งงานด้วยการสัมผัสได้
ประเภทของ UI
6. Touch /Tactile UI
เป็นประเภทของ UI ที่มุ่งเน้นประสาทสัมผัสด้านการสัมผัสหรือการรู้สึกผ่าน
ผิวสัมผัสคล้ายกับ Tactile UI แต่ Haptic UI จะไม่โฟกัสเฉพาะการสัมผัสแต่
ต้องระหว่างนิ้วมือหรือสัมผัส (Tactile) จะรวมถึงการสัมผัสการเคลื่อนไหว
หรือแรงอื่น ๆ ที่รู้สึกได้ผ่านผิวหนังและกล้ามเนื้อด้วย(Kinesthetic)
ตัวอย่างเช่น ระบบสั่นในโทรศัพท์มือถือ 3D Haptic Controller ทาหน้าที่
คล้ายกับเมาส์ 3 มิติโดยมีการควบคุมตัวละครในเกมเมื่อตัวละครเดินชน
กาแพงคอนเทนเนอร์จะสร้างแรงต้านขึ้นทาให้ไม่สามารถขยับ Controller
ต่อไปข้างหน้าได้เสมือน Controller เองกาลังชนกาแพงอยู่จริง ๆ เป็นต้น
ประเภทของ UI
7. Haptic UI
หรือที่นิยมเรียกว่า Brain computer Interface (BCI) หมายถึง UI ที่มุ่งเน้น
การเชื่อมต่อระหว่างคลื่นไฟฟ้าสมองของผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์ประมวลผล
เช่น อ่านคลื่นสมองของผู้ใช้แล้วนามาแปลงเป็นคาสั่งสาหรับควบคุมไฟใน
บ้านให้เปิดปิดตามที่คิด หรือในทางตรงข้ามก็นาข้อมูลบางอย่างมาแปลงเป็น
คลื่นไฟฟ้าสมองแล้วส่งไปให้ที่สมองของผู้ใช้ เป็นต้น ด้วยความก้าวหน้าและ
พัฒนาการของเครื่องอ่านคลื่นสมองที่ในระยะหลังมีขายเป็นอุปกรณ์สวมใส่
ขนาดเล็กพร้อมชุดพัฒนาซอฟต์แวร์ทาให้ BCI เริ่มเป็นที่นิยมและแพร่หลาย
มากขึ้น
ประเภทของ UI
8. Brain UI
หมายถึง UI ที่เอา UI หลายๆประเภทเข้าด้วยกันตัวอย่างหนึ่งที่เห็นได้ชัดคือ
สมาร์ทโฟนและแท็บเล็ตคอมพิวเตอร์ที่มีหลาย Visual UI ที่ใช้กล้องและจอ
แสดงภาพมี Voice UI ชื่อใช้ไมโครโฟนและลาดับมี Natural language UI
ที่ใช้ App ที่มีคุณสมบัติของ Chatbot และมี Touch UI ของหน้าจอสัมผัส
ประเภทของ UI
9. Multimodal UI
การออกแบบส่วนประสานการใช้งานระหว่าง
ผู้ใช้กับระบบ
มุ่งเน้นถึงการปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับ
คอมพิวเตอร์ควรออกแบบการโต้ตอบเป็น
สาคัญ
เพื่อดึงดูดความสนใจแก่ผู้ใช้และควรเลือกใช้
สื่ออุปกรณ์ที่เหมาะสมกับการปฏิสัมพันธ์
ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์
กระบวนการหลักในการออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้งาน
หลักการออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้งาน คือ
The Design Team
ทีมพัฒนา
จะต้องมีความเชี่ยวชาญด้านต่าง ๆ ดังนี้
มนุษยศาสตร์
Humanfactors
สาหรับใช้ในการวิเคราะห์พฤติกรรมและ
คุณลักษณะของผู้ใช้งาน
การออกแบบ
Visualdesign
เพื่อใช้ออกแบบการจัดวางตาแหน่งของ
องค์ประกอบการใช้กราฟิกและใช้สีที่เหมาะสม
และสวยงาม
การพัฒนา
Development
สาหรับพัฒนาระบบหรือเว็บไซต์ที่ตรงตาม
ส่วนติดต่อผู้ใช้งานที่ออกแบบไว้
The Design Team
ทีมพัฒนา
จะต้องมีความเชี่ยวชาญด้านต่าง ๆ ดังนี้
การประเมินการใช้งาน
Usabilityassessment
เพื่อใช้ในการประเมินความเหมาะสมของส่วน
ติดต่อผู้ใช้ว่าตรงตามความต้องการของ
ผู้ใช้งานและความต้องการของระบบหรือไม่
เพื่อนาไปใช้ในการทดลองใช้งานและส่ง
มอบงานให้แก่ผู้ใช้งาน
การฝึกฝนหรือการนาเสนอ
Training
การใช้งาน
การทาเอกสาร
Documentation
เพื่อจัดทาเอกสารสาหรับใช้เป็นหลักฐานที่แสดง
รายละเอียดในการพัฒนาเพื่อใช้ในการตรวจสอบ
ความถูกต้องของการออกแบบและพัฒนาและเพื่อใช้ใน
การสื่อสารระหว่างทีมงานพัฒนา
กระบวนการออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้งาน
กระบวนการการออกแบบ UI ประกอบด้วย 12 ขั้นตอนคือ
Know youruseror client
การทาความรู้จักผู้ใช้งาน
01
Understandthebusinessfunction
การทาความเข้าใจการทางานของระบบ
02
Develop system menu andnavigation
การพัฒนาระบบเมนูและการนาทาง
03
Select theproperkindsof window
การเลือกหน้าต่างที่เหมาะสม
04
Select theproperdevice-basedcontrols
การเลือกเครื่องมือในการควบคุมการใช้งานที่เหมาะสม
05
06Select theproper screenbasedcontrols
การเลือกเครื่องมือในการควบคุมการแสดงผล
บนหน้าจอที่เหมาะสม
กระบวนการออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้งาน
กระบวนการการออกแบบ UI ประกอบด้วย 12 ขั้นตอนคือ
Whitecleartext andmessage
การเตรียมเนื้อหาหรือข้อความที่ชัดเจน
07
08
CreateMeaningful Graphics,Icons and images
การสร้างกราฟฟิกไอคอนและภาพสื่อความหมาย
09
Choosethepropercolors
การเลือกใช้สีที่เหมาะสม
10
Organizeandlayoutwindowandpages
การจัดการ เลย์เอาท์ หน้าต่าง และเพจ
11
Test and Retest
การทดสอบ
12
Provideeffectivefeedbackandguidance
การสร้างส่วนฟีตแบ็กตอบรับและแนวทางการใช้งาน
assistance
การทาความรู้จักผู้ใช้งานและการทาความเข้าใจการทางานของระบบเป็น
กระบวนการแรกที่ผู้พัฒนาจะต้องนามาปฏิบัติ เนื่องจากเป็นกระบวนการ
วิเคราะห์ว่าส่วนติดต่อผู้ใช้งานที่จะออกแบบนั้นต้องตอบโจทย์อะไร และเพื่อ
นามาใช้ในการสร้างภาพการแสดงผล และตรวจสอบภายหลังเมื่อได้ข้อมูล
หลักในการพัฒนา ถัดมาจะเป็นส่วนของการออกแบบสกรีนหรือหน้าจอซึ่ง
เป็นภาพลักษณ์ที่ผู้ใช้งานจะมองเห็นเมื่อเข้าใช้งานส่วนติดต่อผู้ใช้งาน ใน
กระบวนการส่วนนี้จะประกอบด้วยการพัฒนาระบบเมนูและการนาทางจะ
เรื่องหน้าต่างที่เหมาะสมการเลือกเครื่องมือในการควบคุมการใช้งานและ
การแสดงผลที่เหมาะสม และการเตรียมเนื้อหาหรือข้อความที่ชัดเจน
เมื่อส่วนติดต่อผู้ใช้งานได้รับการออกแบบอุปกรณ์หลักในการแสดงผล
แล้ว ทับมาจะเป็นการออกแบบความสวยงามให้แก่ส่วนติดต่อผู้ใช้งานโดย
ใช้หลักการของการใช้กราฟิกและสีเพื่อทาให้ส่วนติดต่อผู้ใช้งานนี้สวยงาม
และดึงดูดผู้ใช้งาน โดยกระบวนการนี้จะต้องสร้างต้นแบบของส่วนติดต่อ
ผู้ใช้งานออกมาโดยอาจจะมีส่วนตอบรับ ส่วนป้อนกลับ และแนวทาง
ทางการใช้งานเพื่อนาไปใช้ในการทดสอบเบื้องต้นเมื่อผ่านกระบวนการ
ออกแบบแล้วจึงสามารถนาไปพัฒนาเป็นระบบหรือเว็บไซต์ได้

More Related Content

What's hot

การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
หลักพื้นฐานของการออกแบบระบบปฏิสัมพันธ์ (Basic Principle of Interacion)
หลักพื้นฐานของการออกแบบระบบปฏิสัมพันธ์ (Basic Principle of Interacion)หลักพื้นฐานของการออกแบบระบบปฏิสัมพันธ์ (Basic Principle of Interacion)
หลักพื้นฐานของการออกแบบระบบปฏิสัมพันธ์ (Basic Principle of Interacion)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
กระบวนการรับรู้ข้อมูลของมนุษย์ (Human Perception)
กระบวนการรับรู้ข้อมูลของมนุษย์ (Human Perception)กระบวนการรับรู้ข้อมูลของมนุษย์ (Human Perception)
กระบวนการรับรู้ข้อมูลของมนุษย์ (Human Perception)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
คู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkableคู่มือ Thunkable
คู่มือ ThunkableKhunakon Thanatee
 
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซการออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
การถ่ายภาพเร่งเวลา (Time-Lapse)
การถ่ายภาพเร่งเวลา (Time-Lapse)การถ่ายภาพเร่งเวลา (Time-Lapse)
การถ่ายภาพเร่งเวลา (Time-Lapse)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริงAR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริงDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
User Experience UX Design (Thai mixed with English)
User Experience UX Design (Thai mixed with English)User Experience UX Design (Thai mixed with English)
User Experience UX Design (Thai mixed with English)Mayuree Srikulwong
 
ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)
ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)
ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานNuchy Geez
 

What's hot (20)

การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
 
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
 
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
 
หลักพื้นฐานของการออกแบบระบบปฏิสัมพันธ์ (Basic Principle of Interacion)
หลักพื้นฐานของการออกแบบระบบปฏิสัมพันธ์ (Basic Principle of Interacion)หลักพื้นฐานของการออกแบบระบบปฏิสัมพันธ์ (Basic Principle of Interacion)
หลักพื้นฐานของการออกแบบระบบปฏิสัมพันธ์ (Basic Principle of Interacion)
 
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
 
กระบวนการรับรู้ข้อมูลของมนุษย์ (Human Perception)
กระบวนการรับรู้ข้อมูลของมนุษย์ (Human Perception)กระบวนการรับรู้ข้อมูลของมนุษย์ (Human Perception)
กระบวนการรับรู้ข้อมูลของมนุษย์ (Human Perception)
 
คู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkableคู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkable
 
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)
 
แนะนำโปรแกรม Adobe Photoshop
แนะนำโปรแกรม Adobe Photoshopแนะนำโปรแกรม Adobe Photoshop
แนะนำโปรแกรม Adobe Photoshop
 
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซการออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
 
การถ่ายภาพเร่งเวลา (Time-Lapse)
การถ่ายภาพเร่งเวลา (Time-Lapse)การถ่ายภาพเร่งเวลา (Time-Lapse)
การถ่ายภาพเร่งเวลา (Time-Lapse)
 
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริงAR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
 
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
 
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
 
User Experience UX Design (Thai mixed with English)
User Experience UX Design (Thai mixed with English)User Experience UX Design (Thai mixed with English)
User Experience UX Design (Thai mixed with English)
 
ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)
ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)
ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)
 
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internetความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 

Similar to การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)

ความหมายและความสำค ญของโครงงานคอมพ วเตอร_
ความหมายและความสำค ญของโครงงานคอมพ วเตอร_ความหมายและความสำค ญของโครงงานคอมพ วเตอร_
ความหมายและความสำค ญของโครงงานคอมพ วเตอร_Sunligth Yello Patty Za
 
Ict300_3_edit
Ict300_3_editIct300_3_edit
Ict300_3_editNicemooon
 
แผนการเรียนรู้ที่ 2 สื่อประสม
แผนการเรียนรู้ที่ 2 สื่อประสมแผนการเรียนรู้ที่ 2 สื่อประสม
แผนการเรียนรู้ที่ 2 สื่อประสมkrunueng1
 
Ict300_2_edit
Ict300_2_editIct300_2_edit
Ict300_2_editNicemooon
 
Presentation 2 3
Presentation 2 3Presentation 2 3
Presentation 2 3KTPH2348
 
การออกแบบและพัฒนาสื่อประสม
การออกแบบและพัฒนาสื่อประสมการออกแบบและพัฒนาสื่อประสม
การออกแบบและพัฒนาสื่อประสมtelecentreacademy
 
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)tumetr
 
ใบงานที่2 ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่2 ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่2 ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่2 ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์Kanravee Chawalit
 
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารปิยะดนัย วิเคียน
 
9749740330264
97497403302649749740330264
9749740330264CUPress
 

Similar to การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design) (20)

Chap1 updated
Chap1 updatedChap1 updated
Chap1 updated
 
Example
ExampleExample
Example
 
ความหมายและความสำค ญของโครงงานคอมพ วเตอร_
ความหมายและความสำค ญของโครงงานคอมพ วเตอร_ความหมายและความสำค ญของโครงงานคอมพ วเตอร_
ความหมายและความสำค ญของโครงงานคอมพ วเตอร_
 
546656
546656546656
546656
 
546345
546345546345
546345
 
Ict300_3_edit
Ict300_3_editIct300_3_edit
Ict300_3_edit
 
แผนการเรียนรู้ที่ 2 สื่อประสม
แผนการเรียนรู้ที่ 2 สื่อประสมแผนการเรียนรู้ที่ 2 สื่อประสม
แผนการเรียนรู้ที่ 2 สื่อประสม
 
Ict300_2_edit
Ict300_2_editIct300_2_edit
Ict300_2_edit
 
Presentation 3
Presentation 3Presentation 3
Presentation 3
 
User experience design
User experience designUser experience design
User experience design
 
User experience design
User experience designUser experience design
User experience design
 
Multimedia for Education1
Multimedia for Education1Multimedia for Education1
Multimedia for Education1
 
A basic of UX for beginner
A basic of UX for beginnerA basic of UX for beginner
A basic of UX for beginner
 
Presentation 2 3
Presentation 2 3Presentation 2 3
Presentation 2 3
 
การออกแบบและพัฒนาสื่อประสม
การออกแบบและพัฒนาสื่อประสมการออกแบบและพัฒนาสื่อประสม
การออกแบบและพัฒนาสื่อประสม
 
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
 
ใบงานที่2 ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่2 ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่2 ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่2 ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
08
0808
08
 
9749740330264
97497403302649749740330264
9749740330264
 

More from Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai

ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาลAR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาลDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinotiสร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย VidinotiDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขายการเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขายDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheetsการเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google SheetsDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverseการสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial MetaverseDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 

More from Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai (20)

ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
 
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
 
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
 
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
 
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
 
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
 
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
 
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
 
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
 
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาลAR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
 
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinotiสร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
 
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขายการเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
 
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheetsการเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
 
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
 
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverseการสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
 

การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)