SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน
โรคเกลียดเสียง
(misophonia)
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาว ปริญญา บุญเลิศ
เลขที่13 ชั้น ม.6 ห้อง 10
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน
ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1.นางสาว ปริญญา บุญเลิศ เลขที่ 13
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
โรคเกลียดเสียง
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Misophonia
ประเภทโครงงาน
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาว ปริญญา บุญเลิศ
ชื่อที่ปรึกษา
ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน
ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
เคยคิดหรือไม่ว่าปฏิกิริยาของคนเราที่รู้สึกราคาญเสียงเคี้ยวอาหาร เสียงกดคีย์บอร์ด หรือเสียงเจาะเเจ๊ะรอบๆ
กายจนพูดได้เต็มปากว่าเกลียด ได้ยินแล้วเหมือนจะบ้าต้องหงุดหงิดถึงขั้นปิดหูกันเลย ถ้ามีอาการผิดปกติทุกครั้งที่ได้
ยินเสียงน่าราคาญเหล่านี้ เวลาที่เราเข้าใกล้อันตราย สมองจะสั่งให้เรามีอารมณ์ด้านลบเกิดขึ้น เช่นสมองสั่งให้เรา
รังเกียจสิ่งสกปรกก็เพราะมันอาจเป็นอันตรายหากเราสัมผัสหรือรับประทานเข้าไป สั่งให้เรากลัวเมื่อมีใครมาข่มขู่ หรือ
สั่งให้เราโกรธเมื่อมีใครมาทาร้าย ทั้งนี้ทั้งนั้นก็เพราะว่าสมองอยากให้เรารอดพ้นจากอันตรายทั้งปวงนั่นเอง เวลาที่ได้
ยินเสียงกระตุ้นซึ่งสมองตีความว่าเป็นอันตราย ผู้เป็นมีโซโฟเนียจึงมีปฏิกิริยาตอบสนองแบบสู้หรือหนี ส่วนระดับ
อาการของแต่ละคน หรือของคนคนหนึ่งในการถูกกระตุ้นแต่ละครั้งก็จะมีความแตกต่างกันไป ตามแต่สมองของแต่ละ
คนจะประมวลผลเสียงนั้น ๆ และเคยคิดมั้ยว่าโรคเกลียดเสียงหรือมีโซโฟเนียนั้นเกิดจากพันธุกรรมหรือนิสัย แม้
ปัจจุบันนี้จะมีงานวิจัยมากมายเกี่ยวกับมีโซโฟเนีย แต่ยังไม่สามารถยืนยันถึงที่มาของโรคได้ อาจมีหลายสาเหตุที่จะทา
ให้ผู้ป่วยนั้นไวต่อเสียงหรือมีประสาทการได้ยินอ่อนไหวเป็นพิเศษ ข้าพระเจ้าจึงสนใจที่จะศึกษาเพิ่มเติมในเรื่อง โรค
เกลียดเสียง (Misophonia) เพื่อเผยแพร่ข้อมูลให้ผู้ที่สนใจศึกษาต่อไป
3
วัตถุประสงค์
1.เพื่อเป็นการศึกษาเกี่ยวกับโรคเกลียดเสียง
2.เพื่อหาข้อมูลเกี่ยวกับผู้ที่เป็นโรคเกลียดเสียง
3.เพื่อทาความเข้าใจและแก้ไขปัญหากับผู้ที่เป็นโรคเกลียดเสียง
ขอบเขตโครงงาน
ลักษณะของคนที่เกิดอาการ “ มีโซโฟเนีย ” จากผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่ากลุ่มสัตว์ทดลองที่มีการตอบสนอง
แบบมากเกินไปเป็นกลุ่มที่มีแนวโน้มน้อยที่สุดที่จะ “ลืม (unlearn)” การเชื่อมโยงระหว่างตัวกระตุ้นกับปฏิกิริยาทาง
ร่างกาย (สู้หรือหนี)
หลักการและทฤษฎี
โรคเกลียดเสียง ( misophonia ) เป็นอาการที่ผิดปกติของร่างกายชนิดหนึ่ง misophonia เป็นโรคของคนที่
กลัวเสียงต่างๆ ทาให้สมองมีปฏิกิริยาตอบสนองราวกับว่าร่างกายกาลังตกอยู่ในสถานการณ์อันตรายจริง ๆ โดยเมื่อ
เราตกอยู่ในอันตราย ระบบ หยุดนิ่ง/สู้/หนี จะเริ่มทางาน และระบบประสาทอัตโนมัติ ซึ่งหลายๆคนอาจจะเป็นโรคนี้
โดยที่ไม่รู้ตนเอง ถ้าหากคุณรู้สึกหัวเสียอย่างรุนแรงเวลาที่ได้ยินเสียงคนเคี้ยวอาหาร จาม ไอ สูดน้ามูก เคี้ยวหมากฝรั่ง
หรือกระแอม คุณรู้สึกโมโหเวลาได้ยินเสียงที่เกิดขึ้นซ้า ๆ อย่างเสียงเคาะโต๊ะ เสียงกดปากกา เสียงกดแป้นคีย์บอร์ด
หรือเสียงที่ทาให้คุณอยากจะวิ่งหนีหรือฟาดต้นกาเนิดเสียงนั้นอย่างเต็มแรง นั่นอาจจะเป็นภาวะของ "มีโซโฟเนีย"
ที่มา: https://misophoniainthai.wordpress.com/allpostss/

More Related Content

What's hot

นัฐกมล60621
นัฐกมล60621นัฐกมล60621
นัฐกมล60621
Geenpp21
 

What's hot (20)

โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
Project มหัศจรรย์โลมา
Project มหัศจรรย์โลมาProject มหัศจรรย์โลมา
Project มหัศจรรย์โลมา
 
2562 final-project-18
2562 final-project-182562 final-project-18
2562 final-project-18
 
โครงงานเปรม
โครงงานเปรมโครงงานเปรม
โครงงานเปรม
 
การขับขี่อย่างปลอดภัย1
การขับขี่อย่างปลอดภัย1การขับขี่อย่างปลอดภัย1
การขับขี่อย่างปลอดภัย1
 
Influenza
InfluenzaInfluenza
Influenza
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม
 
กากกาแฟ เสร็จ
กากกาแฟ เสร็จกากกาแฟ เสร็จ
กากกาแฟ เสร็จ
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
Diabetes
DiabetesDiabetes
Diabetes
 
โครงงานกล้วยไม้ไทย
โครงงานกล้วยไม้ไทยโครงงานกล้วยไม้ไทย
โครงงานกล้วยไม้ไทย
 
น้องหมา
น้องหมาน้องหมา
น้องหมา
 
Lin
LinLin
Lin
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
Suwadee22
Suwadee22Suwadee22
Suwadee22
 
Project1607
Project1607Project1607
Project1607
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ กิจกรรมที่ 5 โรคอัลไซเมอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ กิจกรรมที่ 5 โรคอัลไซเมอร์โครงงานคอมพิวเตอร์ กิจกรรมที่ 5 โรคอัลไซเมอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ กิจกรรมที่ 5 โรคอัลไซเมอร์
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม
 
นัฐกมล60621
นัฐกมล60621นัฐกมล60621
นัฐกมล60621
 

Similar to 2560 project -1.doc1

2562 final-project 612-33
2562 final-project 612-332562 final-project 612-33
2562 final-project 612-33
fauunutcha
 

Similar to 2560 project -1.doc1 (20)

2560 project (1) ใบงาน5
2560 project  (1) ใบงาน52560 project  (1) ใบงาน5
2560 project (1) ใบงาน5
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
โครงร่างรายงาน(กู้คืนอัตโนมัติ)
โครงร่างรายงาน(กู้คืนอัตโนมัติ)โครงร่างรายงาน(กู้คืนอัตโนมัติ)
โครงร่างรายงาน(กู้คืนอัตโนมัติ)
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
แบบเสนอโครงร่าง โครงงานโรคฟิโลโฟเบีย
แบบเสนอโครงร่าง โครงงานโรคฟิโลโฟเบียแบบเสนอโครงร่าง โครงงานโรคฟิโลโฟเบีย
แบบเสนอโครงร่าง โครงงานโรคฟิโลโฟเบีย
 
09_2560 project
09_2560 project09_2560 project
09_2560 project
 
1
11
1
 
ใบงานที่5
ใบงานที่5ใบงานที่5
ใบงานที่5
 
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
พลาสเตอร์มะลิ
พลาสเตอร์มะลิพลาสเตอร์มะลิ
พลาสเตอร์มะลิ
 
โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้า
 
2560 project -3
2560 project -32560 project -3
2560 project -3
 
โรค Phobia
โรค Phobiaโรค Phobia
โรค Phobia
 
2562 final-project 612-33
2562 final-project 612-332562 final-project 612-33
2562 final-project 612-33
 
2560 project งานชาเขียว
2560 project งานชาเขียว2560 project งานชาเขียว
2560 project งานชาเขียว
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
ภาคิน
ภาคิน ภาคิน
ภาคิน
 
Project
ProjectProject
Project
 

2560 project -1.doc1

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน โรคเกลียดเสียง (misophonia) ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว ปริญญา บุญเลิศ เลขที่13 ชั้น ม.6 ห้อง 10 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1.นางสาว ปริญญา บุญเลิศ เลขที่ 13 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) โรคเกลียดเสียง ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Misophonia ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว ปริญญา บุญเลิศ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน เคยคิดหรือไม่ว่าปฏิกิริยาของคนเราที่รู้สึกราคาญเสียงเคี้ยวอาหาร เสียงกดคีย์บอร์ด หรือเสียงเจาะเเจ๊ะรอบๆ กายจนพูดได้เต็มปากว่าเกลียด ได้ยินแล้วเหมือนจะบ้าต้องหงุดหงิดถึงขั้นปิดหูกันเลย ถ้ามีอาการผิดปกติทุกครั้งที่ได้ ยินเสียงน่าราคาญเหล่านี้ เวลาที่เราเข้าใกล้อันตราย สมองจะสั่งให้เรามีอารมณ์ด้านลบเกิดขึ้น เช่นสมองสั่งให้เรา รังเกียจสิ่งสกปรกก็เพราะมันอาจเป็นอันตรายหากเราสัมผัสหรือรับประทานเข้าไป สั่งให้เรากลัวเมื่อมีใครมาข่มขู่ หรือ สั่งให้เราโกรธเมื่อมีใครมาทาร้าย ทั้งนี้ทั้งนั้นก็เพราะว่าสมองอยากให้เรารอดพ้นจากอันตรายทั้งปวงนั่นเอง เวลาที่ได้ ยินเสียงกระตุ้นซึ่งสมองตีความว่าเป็นอันตราย ผู้เป็นมีโซโฟเนียจึงมีปฏิกิริยาตอบสนองแบบสู้หรือหนี ส่วนระดับ อาการของแต่ละคน หรือของคนคนหนึ่งในการถูกกระตุ้นแต่ละครั้งก็จะมีความแตกต่างกันไป ตามแต่สมองของแต่ละ คนจะประมวลผลเสียงนั้น ๆ และเคยคิดมั้ยว่าโรคเกลียดเสียงหรือมีโซโฟเนียนั้นเกิดจากพันธุกรรมหรือนิสัย แม้ ปัจจุบันนี้จะมีงานวิจัยมากมายเกี่ยวกับมีโซโฟเนีย แต่ยังไม่สามารถยืนยันถึงที่มาของโรคได้ อาจมีหลายสาเหตุที่จะทา ให้ผู้ป่วยนั้นไวต่อเสียงหรือมีประสาทการได้ยินอ่อนไหวเป็นพิเศษ ข้าพระเจ้าจึงสนใจที่จะศึกษาเพิ่มเติมในเรื่อง โรค เกลียดเสียง (Misophonia) เพื่อเผยแพร่ข้อมูลให้ผู้ที่สนใจศึกษาต่อไป
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ 1.เพื่อเป็นการศึกษาเกี่ยวกับโรคเกลียดเสียง 2.เพื่อหาข้อมูลเกี่ยวกับผู้ที่เป็นโรคเกลียดเสียง 3.เพื่อทาความเข้าใจและแก้ไขปัญหากับผู้ที่เป็นโรคเกลียดเสียง ขอบเขตโครงงาน ลักษณะของคนที่เกิดอาการ “ มีโซโฟเนีย ” จากผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่ากลุ่มสัตว์ทดลองที่มีการตอบสนอง แบบมากเกินไปเป็นกลุ่มที่มีแนวโน้มน้อยที่สุดที่จะ “ลืม (unlearn)” การเชื่อมโยงระหว่างตัวกระตุ้นกับปฏิกิริยาทาง ร่างกาย (สู้หรือหนี) หลักการและทฤษฎี โรคเกลียดเสียง ( misophonia ) เป็นอาการที่ผิดปกติของร่างกายชนิดหนึ่ง misophonia เป็นโรคของคนที่ กลัวเสียงต่างๆ ทาให้สมองมีปฏิกิริยาตอบสนองราวกับว่าร่างกายกาลังตกอยู่ในสถานการณ์อันตรายจริง ๆ โดยเมื่อ เราตกอยู่ในอันตราย ระบบ หยุดนิ่ง/สู้/หนี จะเริ่มทางาน และระบบประสาทอัตโนมัติ ซึ่งหลายๆคนอาจจะเป็นโรคนี้ โดยที่ไม่รู้ตนเอง ถ้าหากคุณรู้สึกหัวเสียอย่างรุนแรงเวลาที่ได้ยินเสียงคนเคี้ยวอาหาร จาม ไอ สูดน้ามูก เคี้ยวหมากฝรั่ง หรือกระแอม คุณรู้สึกโมโหเวลาได้ยินเสียงที่เกิดขึ้นซ้า ๆ อย่างเสียงเคาะโต๊ะ เสียงกดปากกา เสียงกดแป้นคีย์บอร์ด หรือเสียงที่ทาให้คุณอยากจะวิ่งหนีหรือฟาดต้นกาเนิดเสียงนั้นอย่างเต็มแรง นั่นอาจจะเป็นภาวะของ "มีโซโฟเนีย" ที่มา: https://misophoniainthai.wordpress.com/allpostss/