SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน โรคฟิโลโฟเบีย (Philophobia)
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1. นางสาว จิราภา คาสม เลขที่ 2 ชั้น ม.6 ห้อง 15
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1. นางสาวจิราภา คาสม เลขที่ 2
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อปปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาปทย)
โรคฟิโลโฟเบีย
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Philophobia
ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวจิราภา คาสม
ชื่อที่ปรึกษา คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
มนุษย์เราทุกคนนั้นล้วนมีความรักไม่ว่าจะเป็นความรักในสิ่งของต่างๆ ในสัตว์หรือในมนุษย์ด้วยกันเอง
ความรักในสิ่งต่างๆเหล่านี้ย่อมเป็นสิ่งที่สวยงาม และมนุษย์เราเกือบทุกคนก็ต้องการความรัก แต่ถ้าหากว่าเรา
ไม่อาจมองความรักเป็นสิ่งสวยงามได้อีก หรือไม่ต้องการความรักในเพื่อนมนุษย์ด้วยกันเอง อาจจะดูเป็นปัญหา
ที่เล็กน้อย แต่มนุษย์เรานั้นอยู่ร่วมกันเป็นสังคม คอยช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน หากมีคนใดคนหนึ่งแปลก
แยกไปก็ย่อมเป็นสิ่งที่เป็นปัญหา และโรคนี้หากเป็นหนักมากเข้าก็อาจจะเป็นโรคซึมเศร้าตามมา ซึ่งเมื่อถึงตอน
นั้นก็จะกลายเป็นปัญหาใหญ่ได้ จึงได้จัดทาโครงงานนี้ขึ้นเพื่อให้ทุกคนได้ตระหนักรู้ถึงอาการของโรคนี้และ
ชี้แจงแนวทางแก้ไขหากเข้าข่ายว่าจะเป็นโรคนี้ผู้ที่เป็นโรคนี้จะได้รู้ว่าควรที่จะทาอะไร ควรจะไปปรึกษาใครได้
บ้างและควรจะวางตัวอย่างไรในสังคม เพื่อให้ตนเองไม่เป็นโรคซึมเศร้าซึ่งเป็นผลที่ตามมาของโรคนี้
3
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อให้ได้รู้ถึงลักษณะของโรคนี้
2.เพื่อให้คนที่เป็นโรคได้รู้แนวทางการแก้ไข
3.เพื่อให้รู้ถึงต้นเหตุของปัญหาและแก้ไขที่ต้นเหตุ
4.เพื่อให้คนได้รู้ถึงโรคนี้มากขึ้นและช่วยกันหาทางแก้ไข
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
ขอบเขตของโครงงานนี้คือผู้ที่เป็นโรคและยังไม่เป็นโรคนี้เพื่อให้ตระหนักถึงโรคนี้ ปัญหาที่อาจตามมา
หากเป็นโรคนี้ และแนวทางการแก้ไขปัญหา
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
- โรคฟิโลโฟเบียคืออะไร?
- รู้จัก "โฟเบีย" ขั้นกว่าของความกลัว ที่หลายคนอาจเป็นอยู่โดยไม่รู้ตัว
โรค Philophobia หรือโรคกลัวการตกหลุมรัก เรียกง่าย ๆ ว่าโรคกลัวความรัก โดยจากสถิติในบรรดา
โรคกลัวชนิดต่าง ๆ Philophobia ถือว่ารั้งอันดับโรคกลัวที่มีผู้ป่วยมากที่สุด ซึ่งจากการวิเคราะห์ของเหล่า
นักจิตวิทยาก็พากันสันนิษฐานว่า ปัจจัยที่เป็นต้นเหตุของโรคกลัวความรักอาจมาจากเรื่องใกล้ตัว ที่ส่งผลให้
ผู้ป่วยโรค Philophobia พยายามจะหนีความรู้สึกรัก หรือไม่อยากเข้าใกล้ความรู้สึกพิเศษกับใครอย่างจริงจัง
เลยสักคน และแม้จะเกิดความรู้สึกพิเศษกับใครขึ้นมาบ้าง ทว่าสุดท้ายแล้วก็มักจะไม่กล้าเปิดใจให้กับความรัก
เนื่องจากเหตุผลอะไรบางอย่าง
สาเหตุของการเกิดโรคฟิโลโฟเบีย (Philophobia)
โรคนี้ จัดเป็นโฟเบียชนิดเฉพาะเจาะจง ซึ่งพบเป็นอันดับต้นๆ และก็มาจากหลากหลายปัจจัยด้วยกัน ทั้งจาก
สิ่งแวดล้อมและประสบการณ์ แยกได้ดังต่อไปนี้...
1. เหตุการณ์ในแง่ลบที่ฝังใจมาตั้งแต่ตอนเด็ก
โดยเฉพาะหากเติบโตมาในครอบครัวที่มีปัญหาหย่าร้าง พ่อแม่ คนใกล้ตัวมีชีวิตรักในแง่ลบ เช่น ทะเลาะ
ตบตีกันประจา หรือแสดงความรุนแรงต่อกันบ่อย ๆ เป็นต้น
2. วัฒนธรรม ประเพณี หรือศาสนาที่มีกฎข้อห้ามเกี่ยวกับเรื่องความรักอย่างเข้มงวด
บางศาสนา วัฒนธรรม หรือประเพณีของบางที่อาจมีข้อห้ามหรือกฎเกณฑ์ที่ควรระวังหากหญิงและ
ชายจะรัก หรือแสดงความรักต่อกัน ซึ่งอาจจะสร้างความรู้สึกเกรงกลัวฝังรากลึกในใจบางคนได้ ส่งผลให้ไม่
อยากเสี่ยงกับการมีความรักนั่นเอง
3. ประสบการณ์ความรักที่ล้มเหลวครั้งแล้วครั้งเล่า
โดยเฉพาะกับคนที่มีประสบการณ์อกหักอย่างโชกโชน ความรู้สึกผิดหวัง ความเจ็บปวดที่เกิดจากการ
กระทาของคนเคยรัก อดีตเหล่านั้นจะตามหลอกหลอนให้รู้สึกเจ็บมากจนไม่กล้าจะเอาหัวใจตัวเองไปลอง เสี่ยง
อีกครั้ง ซึ่งอาจทาให้เกิดความระแวงระวังเกินเหตุ ไม่กล้าที่จะมีรักครั้งใหม่อีกต่อไป
4
อาการของผู้ป่วยเป็นโรคฟิโลโฟเบีย (Philophobia)
1. มีความกังวลทุกครั้งที่เริ่มต้นความสัมพันธ์ฉันคนรัก หรือแม้แต่รู้ใจตัวเองว่าเริ่มหวั่นไหว ก็คล้ายจะทนรับ
ความรู้สึกนั้น ๆ ไม่ได้ จนอาจก่อให้เกิดความเครียด
2. ปิดโอกาส ไม่เปิดใจกับใคร มักห้ามใจตัวเอง และปฏิเสธความสัมพันธ์ที่จริงจังกับใคร
3. รักสันโดษ ชอบอยู่คนเดียว และชอบสร้างกาแพงกับผู้อื่น จนอาจถูกมองว่าเป็นพวกโลกส่วนตัวสูง เพื่อ
ปกป้องตัวเอง
4.หวาดระแวง และระแวดระวังกับรูปแบบความสัมพันธ์ลึกซึ้งที่เข้ามา
5.มักจะประเมินความรู้สึกของคนใกล้ตัวว่าจริงใจ หรือรักตัวเองมากแค่ไหน แล้วจึงค่อยตัดสินใจมอบ
ความรู้สึกในระดับที่เท่าเทียมกันกลับไป เพราะกลัวว่าหากตัวเองรักหรือจริงใจต่อคนอื่นมากกว่า อาจทาให้เจอ
กับความผิดหวังได้
6.เมื่อต้องเจอกับสถานการณ์หวาน ๆ หรือโดนรุกจีบ อาจมีอาการทางกายภาพอย่างเหงื่อแตก ร้องไห้ ใจสั่น
หัวใจเต้นรัวเร็ว หายใจแรง ชามือ-เท้า อาเจียน หรือเป็นลม
แนวทางการรักษาโรคกลัวความรัก อาจทาปด้ดัง 3 วิธีนี้
1. ความคิดและพฤติกรรมบาบัด (Cognitive Behavioral Therapy)
นักจิตวิทยาและจิตแพทย์จะเข้ามาทาความเข้าใจกับคนไข้ ชวนคุยในประเด็นที่คนไข้รู้สึกกลัว หรือ
อาจมีรูปภาพและคลิปวิดีโอคนรัก การตกหลุมรัก มาประกอบการรักษา ทั้งนี้ก็เพื่อให้คนไข้มีทัศนคติที่ดีกับ
ความรักมากขึ้น เป็นการกาจัดความรู้สึกกลัวในเรื่องที่ไม่น่ากลัวที่ค่อนข้างได้ผลดีต่อผู้ป่วย
2.เผชิญหน้ากับสิ่งที่กลัว (Exposure Therapy)
นับเป็นอีกวิธีการรักษาที่ได้ผลค่อนข้างมาก โดยผู้เชี่ยวชาญจะจัดให้ผู้ป่วยเจอกับสถานการณ์หวาน ๆ
ให้เพศตรงข้ามชวนพูดคุย หรือให้ดูหนังโรแมนติก ซีนสุดซึ้ง เพื่อฝึกให้คนไข้มีแรงต้านทานต่อความกลัวของ
ตัวเองเพิ่มมากขึ้น และลดแรงกดดัน ความวิตกกังวลเมื่อเจอสถานการณ์รัก ๆ ลงไปบ้าง
3.รักษาด้วยยา
การรักษาด้วยยาจะเป็นแนวทางเสริมสาหรับผู้ป่วยที่มีความเครียดสูง หรือมีความรู้สึกกังวลทุกครั้ง
เมื่อเจอกับความกลัว โดยวิธีนี้จะช่วยให้ผู้ป่วยควบคุมอารมณ์และการแสดงออกของตัวเองได้ดีขึ้น

More Related Content

What's hot

Influenza
InfluenzaInfluenza
InfluenzaNutvipa
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์wasavaros
 
2562 final-project 34-610
2562 final-project 34-6102562 final-project 34-610
2562 final-project 34-610ssuser015151
 
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์Sendai' Toktak
 
2562 final-project 30
2562 final-project 302562 final-project 30
2562 final-project 30teerathai
 
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อก
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อกแบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อก
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อกSendai' Toktak
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมeyecosmomo
 
2560 project .pdf1
2560 project .pdf12560 project .pdf1
2560 project .pdf1achirayaRchi
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์isaka123
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์Manatchariyaa Thongmuangsak
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์Akira Adulyanubhap
 

What's hot (20)

Influenza
InfluenzaInfluenza
Influenza
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project 34-610
2562 final-project 34-6102562 final-project 34-610
2562 final-project 34-610
 
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project 30
2562 final-project 302562 final-project 30
2562 final-project 30
 
Rice soup 604
Rice soup 604Rice soup 604
Rice soup 604
 
Lin
LinLin
Lin
 
มม
มมมม
มม
 
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อก
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อกแบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อก
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อก
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
2560 project .pdf1
2560 project .pdf12560 project .pdf1
2560 project .pdf1
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2560 project 20
2560 project 202560 project 20
2560 project 20
 
2559 project -1
2559 project -12559 project -1
2559 project -1
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่6 พชรพร
ใบงานที่6 พชรพรใบงานที่6 พชรพร
ใบงานที่6 พชรพร
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
 

Similar to แบบเสนอโครงร่าง โครงงานโรคฟิโลโฟเบีย

2560 project
2560 project 2560 project
2560 project Dduang07
 
ใบงานที่5
ใบงานที่5ใบงานที่5
ใบงานที่5hazama02
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมmind jirapan
 
โครงร่างรายงาน(กู้คืนอัตโนมัติ)
โครงร่างรายงาน(กู้คืนอัตโนมัติ)โครงร่างรายงาน(กู้คืนอัตโนมัติ)
โครงร่างรายงาน(กู้คืนอัตโนมัติ)arisa promlar
 
2562 final-project 41
2562 final-project 412562 final-project 41
2562 final-project 41Napisa22
 
2561 project idiopathic hypersomnia
2561 project idiopathic hypersomnia2561 project idiopathic hypersomnia
2561 project idiopathic hypersomniaPichsineeDaewtakoon
 
2560 project (1) ใบงาน5
2560 project  (1) ใบงาน52560 project  (1) ใบงาน5
2560 project (1) ใบงาน5Wanwisa Ngoennoi
 
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์KrataeBenjarat
 
คิตตี้
คิตตี้คิตตี้
คิตตี้Tai MerLin
 
2562 final-project 49766
2562 final-project  497662562 final-project  49766
2562 final-project 49766Tanita49766
 
2562 final-project 49766
2562 final-project  497662562 final-project  49766
2562 final-project 49766Tanita49766
 
โครงร่างโครงงานเรื่องไมเกรน
โครงร่างโครงงานเรื่องไมเกรนโครงร่างโครงงานเรื่องไมเกรน
โครงร่างโครงงานเรื่องไมเกรนพีพี ปฐพี
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้าโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้าธนัชพร ส่งงาน
 

Similar to แบบเสนอโครงร่าง โครงงานโรคฟิโลโฟเบีย (20)

2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
ใบงานที่5
ใบงานที่5ใบงานที่5
ใบงานที่5
 
2560 project -1.doc1
2560 project -1.doc12560 project -1.doc1
2560 project -1.doc1
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงร่างรายงาน(กู้คืนอัตโนมัติ)
โครงร่างรายงาน(กู้คืนอัตโนมัติ)โครงร่างรายงาน(กู้คืนอัตโนมัติ)
โครงร่างรายงาน(กู้คืนอัตโนมัติ)
 
2560 project 34
2560 project 342560 project 34
2560 project 34
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2562 final-project 41
2562 final-project 412562 final-project 41
2562 final-project 41
 
2561 project idiopathic hypersomnia
2561 project idiopathic hypersomnia2561 project idiopathic hypersomnia
2561 project idiopathic hypersomnia
 
2560 project (1) ใบงาน5
2560 project  (1) ใบงาน52560 project  (1) ใบงาน5
2560 project (1) ใบงาน5
 
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Thiraphat60305
Thiraphat60305Thiraphat60305
Thiraphat60305
 
Rabies
RabiesRabies
Rabies
 
Project1
Project1Project1
Project1
 
คิตตี้
คิตตี้คิตตี้
คิตตี้
 
2562 final-project 49766
2562 final-project  497662562 final-project  49766
2562 final-project 49766
 
2562 final-project 49766
2562 final-project  497662562 final-project  49766
2562 final-project 49766
 
โครงร่างโครงงานเรื่องไมเกรน
โครงร่างโครงงานเรื่องไมเกรนโครงร่างโครงงานเรื่องไมเกรน
โครงร่างโครงงานเรื่องไมเกรน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้าโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
 

แบบเสนอโครงร่าง โครงงานโรคฟิโลโฟเบีย

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน โรคฟิโลโฟเบีย (Philophobia) ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. นางสาว จิราภา คาสม เลขที่ 2 ชั้น ม.6 ห้อง 15 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1. นางสาวจิราภา คาสม เลขที่ 2 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อปปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาปทย) โรคฟิโลโฟเบีย ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Philophobia ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวจิราภา คาสม ชื่อที่ปรึกษา คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) มนุษย์เราทุกคนนั้นล้วนมีความรักไม่ว่าจะเป็นความรักในสิ่งของต่างๆ ในสัตว์หรือในมนุษย์ด้วยกันเอง ความรักในสิ่งต่างๆเหล่านี้ย่อมเป็นสิ่งที่สวยงาม และมนุษย์เราเกือบทุกคนก็ต้องการความรัก แต่ถ้าหากว่าเรา ไม่อาจมองความรักเป็นสิ่งสวยงามได้อีก หรือไม่ต้องการความรักในเพื่อนมนุษย์ด้วยกันเอง อาจจะดูเป็นปัญหา ที่เล็กน้อย แต่มนุษย์เรานั้นอยู่ร่วมกันเป็นสังคม คอยช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน หากมีคนใดคนหนึ่งแปลก แยกไปก็ย่อมเป็นสิ่งที่เป็นปัญหา และโรคนี้หากเป็นหนักมากเข้าก็อาจจะเป็นโรคซึมเศร้าตามมา ซึ่งเมื่อถึงตอน นั้นก็จะกลายเป็นปัญหาใหญ่ได้ จึงได้จัดทาโครงงานนี้ขึ้นเพื่อให้ทุกคนได้ตระหนักรู้ถึงอาการของโรคนี้และ ชี้แจงแนวทางแก้ไขหากเข้าข่ายว่าจะเป็นโรคนี้ผู้ที่เป็นโรคนี้จะได้รู้ว่าควรที่จะทาอะไร ควรจะไปปรึกษาใครได้ บ้างและควรจะวางตัวอย่างไรในสังคม เพื่อให้ตนเองไม่เป็นโรคซึมเศร้าซึ่งเป็นผลที่ตามมาของโรคนี้
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อให้ได้รู้ถึงลักษณะของโรคนี้ 2.เพื่อให้คนที่เป็นโรคได้รู้แนวทางการแก้ไข 3.เพื่อให้รู้ถึงต้นเหตุของปัญหาและแก้ไขที่ต้นเหตุ 4.เพื่อให้คนได้รู้ถึงโรคนี้มากขึ้นและช่วยกันหาทางแก้ไข ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) ขอบเขตของโครงงานนี้คือผู้ที่เป็นโรคและยังไม่เป็นโรคนี้เพื่อให้ตระหนักถึงโรคนี้ ปัญหาที่อาจตามมา หากเป็นโรคนี้ และแนวทางการแก้ไขปัญหา หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) - โรคฟิโลโฟเบียคืออะไร? - รู้จัก "โฟเบีย" ขั้นกว่าของความกลัว ที่หลายคนอาจเป็นอยู่โดยไม่รู้ตัว โรค Philophobia หรือโรคกลัวการตกหลุมรัก เรียกง่าย ๆ ว่าโรคกลัวความรัก โดยจากสถิติในบรรดา โรคกลัวชนิดต่าง ๆ Philophobia ถือว่ารั้งอันดับโรคกลัวที่มีผู้ป่วยมากที่สุด ซึ่งจากการวิเคราะห์ของเหล่า นักจิตวิทยาก็พากันสันนิษฐานว่า ปัจจัยที่เป็นต้นเหตุของโรคกลัวความรักอาจมาจากเรื่องใกล้ตัว ที่ส่งผลให้ ผู้ป่วยโรค Philophobia พยายามจะหนีความรู้สึกรัก หรือไม่อยากเข้าใกล้ความรู้สึกพิเศษกับใครอย่างจริงจัง เลยสักคน และแม้จะเกิดความรู้สึกพิเศษกับใครขึ้นมาบ้าง ทว่าสุดท้ายแล้วก็มักจะไม่กล้าเปิดใจให้กับความรัก เนื่องจากเหตุผลอะไรบางอย่าง สาเหตุของการเกิดโรคฟิโลโฟเบีย (Philophobia) โรคนี้ จัดเป็นโฟเบียชนิดเฉพาะเจาะจง ซึ่งพบเป็นอันดับต้นๆ และก็มาจากหลากหลายปัจจัยด้วยกัน ทั้งจาก สิ่งแวดล้อมและประสบการณ์ แยกได้ดังต่อไปนี้... 1. เหตุการณ์ในแง่ลบที่ฝังใจมาตั้งแต่ตอนเด็ก โดยเฉพาะหากเติบโตมาในครอบครัวที่มีปัญหาหย่าร้าง พ่อแม่ คนใกล้ตัวมีชีวิตรักในแง่ลบ เช่น ทะเลาะ ตบตีกันประจา หรือแสดงความรุนแรงต่อกันบ่อย ๆ เป็นต้น 2. วัฒนธรรม ประเพณี หรือศาสนาที่มีกฎข้อห้ามเกี่ยวกับเรื่องความรักอย่างเข้มงวด บางศาสนา วัฒนธรรม หรือประเพณีของบางที่อาจมีข้อห้ามหรือกฎเกณฑ์ที่ควรระวังหากหญิงและ ชายจะรัก หรือแสดงความรักต่อกัน ซึ่งอาจจะสร้างความรู้สึกเกรงกลัวฝังรากลึกในใจบางคนได้ ส่งผลให้ไม่ อยากเสี่ยงกับการมีความรักนั่นเอง 3. ประสบการณ์ความรักที่ล้มเหลวครั้งแล้วครั้งเล่า โดยเฉพาะกับคนที่มีประสบการณ์อกหักอย่างโชกโชน ความรู้สึกผิดหวัง ความเจ็บปวดที่เกิดจากการ กระทาของคนเคยรัก อดีตเหล่านั้นจะตามหลอกหลอนให้รู้สึกเจ็บมากจนไม่กล้าจะเอาหัวใจตัวเองไปลอง เสี่ยง อีกครั้ง ซึ่งอาจทาให้เกิดความระแวงระวังเกินเหตุ ไม่กล้าที่จะมีรักครั้งใหม่อีกต่อไป
  • 4. 4 อาการของผู้ป่วยเป็นโรคฟิโลโฟเบีย (Philophobia) 1. มีความกังวลทุกครั้งที่เริ่มต้นความสัมพันธ์ฉันคนรัก หรือแม้แต่รู้ใจตัวเองว่าเริ่มหวั่นไหว ก็คล้ายจะทนรับ ความรู้สึกนั้น ๆ ไม่ได้ จนอาจก่อให้เกิดความเครียด 2. ปิดโอกาส ไม่เปิดใจกับใคร มักห้ามใจตัวเอง และปฏิเสธความสัมพันธ์ที่จริงจังกับใคร 3. รักสันโดษ ชอบอยู่คนเดียว และชอบสร้างกาแพงกับผู้อื่น จนอาจถูกมองว่าเป็นพวกโลกส่วนตัวสูง เพื่อ ปกป้องตัวเอง 4.หวาดระแวง และระแวดระวังกับรูปแบบความสัมพันธ์ลึกซึ้งที่เข้ามา 5.มักจะประเมินความรู้สึกของคนใกล้ตัวว่าจริงใจ หรือรักตัวเองมากแค่ไหน แล้วจึงค่อยตัดสินใจมอบ ความรู้สึกในระดับที่เท่าเทียมกันกลับไป เพราะกลัวว่าหากตัวเองรักหรือจริงใจต่อคนอื่นมากกว่า อาจทาให้เจอ กับความผิดหวังได้ 6.เมื่อต้องเจอกับสถานการณ์หวาน ๆ หรือโดนรุกจีบ อาจมีอาการทางกายภาพอย่างเหงื่อแตก ร้องไห้ ใจสั่น หัวใจเต้นรัวเร็ว หายใจแรง ชามือ-เท้า อาเจียน หรือเป็นลม แนวทางการรักษาโรคกลัวความรัก อาจทาปด้ดัง 3 วิธีนี้ 1. ความคิดและพฤติกรรมบาบัด (Cognitive Behavioral Therapy) นักจิตวิทยาและจิตแพทย์จะเข้ามาทาความเข้าใจกับคนไข้ ชวนคุยในประเด็นที่คนไข้รู้สึกกลัว หรือ อาจมีรูปภาพและคลิปวิดีโอคนรัก การตกหลุมรัก มาประกอบการรักษา ทั้งนี้ก็เพื่อให้คนไข้มีทัศนคติที่ดีกับ ความรักมากขึ้น เป็นการกาจัดความรู้สึกกลัวในเรื่องที่ไม่น่ากลัวที่ค่อนข้างได้ผลดีต่อผู้ป่วย 2.เผชิญหน้ากับสิ่งที่กลัว (Exposure Therapy) นับเป็นอีกวิธีการรักษาที่ได้ผลค่อนข้างมาก โดยผู้เชี่ยวชาญจะจัดให้ผู้ป่วยเจอกับสถานการณ์หวาน ๆ ให้เพศตรงข้ามชวนพูดคุย หรือให้ดูหนังโรแมนติก ซีนสุดซึ้ง เพื่อฝึกให้คนไข้มีแรงต้านทานต่อความกลัวของ ตัวเองเพิ่มมากขึ้น และลดแรงกดดัน ความวิตกกังวลเมื่อเจอสถานการณ์รัก ๆ ลงไปบ้าง 3.รักษาด้วยยา การรักษาด้วยยาจะเป็นแนวทางเสริมสาหรับผู้ป่วยที่มีความเครียดสูง หรือมีความรู้สึกกังวลทุกครั้ง เมื่อเจอกับความกลัว โดยวิธีนี้จะช่วยให้ผู้ป่วยควบคุมอารมณ์และการแสดงออกของตัวเองได้ดีขึ้น