SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน ไบโพลาร์ รู้จักสักนิด ก่อนคิดเข้าใจ
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1.นางสาวมนัชญา วิภูสันติ เลขที่ 13 ชั้น ม.6 ห้อง 7
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1.นส.มนัชญา วิภูสันติ เลขที่13
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ไบโพลาร์ รู้จักสักนิด ก่อนคิดเข้าใจ
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Lerning to know Bipolar Disorder
ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว มนัชญา วิภูสันติ
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่อที่ปรึกษาร่วม -
ระยะเวลาดาเนินงาน 2 เดือน
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
เนื่องจากโรคอารมณ์สองขั้วหรือที่คนทั่วไปเรียกว่า “โรคไบโพล่าร์” (Bipolar Disorder) คือความผิดปกติของสมอง
ที่ประชากรประมาณ 60 ล้านคนทั่วโลกกาลังเป็นอยู่ โรคนี้มีอาการพื้นฐานอยู่ทั้งหมด 4 อาการ ซึ่งอาการพื้นฐาน
เหล่านี้จะทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ เรี่ยวแรง และความคล่องตัว และยังส่งผลกระทบต่อสิ่งที่เราต้อง
รับผิดชอบในชีวิตประจาวันรวมทั้งหน้าที่การงาน
โรคอารมณ์สองขั้วเป็นความผิดปกติทางสมอง มิได้เกิดจากจิตใจอ่อนแอหรือคิดมาก พบอาการครั้งแรกในช่วงวัยรุ่น
15-24 ปี ในวัยรุ่นระยะแรกผู้ป่วยอาจมาด้วยอาการโรคจิตเหมือนกับเป็นโรคจิตเภทได้ พบว่าเมื่อติดตามเด็กและ
วัยรุ่นที่ได้รับการวินิจฉัยตอนแรกว่าเป็นโรคจิตเภทไปร้อยละ 50 ของผู้ป่วยจะมีอาการของโรคที่แท้จริงคือ โรค
อารมณ์สองขั้วตามมาภายหลัง ผู้สูงอายุจะมีอัตราการพบโรคนี้ต่ากว่าในวัยหนุ่มสาว 1.4 เท่า หญิงและชายมีโอกาส
พบเท่ากันที่ร้อยละ 1 ปัจจุบันคาดว่า คนไทยป่วยเป็นโรคไบโพลาร์อย่างน้อย 1 ล้านคน ซึ่งองค์การอนามัยโลกระบุ
ว่า โรคอารมณ์สองขั้วทาให้เกิดการสูญเสียเป็นอันดับ 6 ของโลก
ทางผู้จัดทาโครงงานได้เล็งเห็นความสาคัญของโรคไบโพลาร์ จึงอยากที่จะเผยแพร่ความรู้เพื่อเป็นแนวทางในการ
ปฏิบัติให้แก่ผู้ที่สนใจทุกท่าน
3
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อเป็นความรู้ให้แก่ผู้ที่สนใจ
2.เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติให้แก่ผู้ที่สนใจ
3.เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่ผู้ที่มีอาการหรือคนรอบข้างมีอาการ
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
ผู้ที่สนใจเรื่อง โรคไบโพลาร์ หรือผู้ป่วย
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
สาเหตุ
สาเหตุของโรคเกิดได้จากหลายปัจจัยร่วมกัน โรคอารมณ์สองขั้วเป็นโรคที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม จากการศึกษาพบ
ความผิดปกติของโครโมโซมคู่ที่ 18, 21, 22 มีความสัมพันธ์กับโรคอารมณ์สองขั้วอย่างชัดเจน ผู้ป่วยโรคอารมณ์สอง
ขั้วมักมีประวัติญาติป่วยเป็นโรคทางอารมณ์ และลูกของผู้ป่วยมีโอกาสเกิดโรคนี้มากกว่าคนทั่วไปประมาณ 4-8 เท่า
โดยเฉพาะเมื่อพบเหตุกดดันทางจิตใจ เช่น ตกงาน สูญเสียคนรัก การประสบกับวิกฤติชีวิตรุนแรง การติดยาหรือใช้
สารเสพติด รวมทั้งปัญหาบุคลิกภาพล้วนกระตุ้นโรคที่แฝงเร้นให้สาแดงอาการออกมา
อาการของโรค
- อารมณ์ดีในลักษณะที่ผิดปกติ เรียกว่า mania หมายถึงอารมณ์ดีมากเกินกว่าปกติที่ควรจะ เป็น และมักจะไม่มี
เหตุผลหรือไม่สมเหตุสมผล อาจจะมีปัญหากระทบกระเทือนต่อหน้าที่การงาน อารมณ์ดีจนกระทั่งตัดสินใจในสิ่งที่ไม่
ถูกต้อง ช่วงที่มีอารมณ์ดีจะช่างพูดช่างคุย คุยได้ไม่หยุด และ ไม่ชอบให้ใครมาขัดจะเกิดอารมณ์หงุดหงิด แล้วถึงขั้นใช้
อารมณ์ก้าวร้าวได้
- ผู้ป่วยบางคนกลางคืนไม่ยอมหลับ ไม่ยอมนอน อยากเที่ยวกลางคืน ใช้จ่ายเงินมาก มี อารมณ์ทางเพศมากขึ้น สา
ส่อนทางเพศ อารมณ์ดีที่มากเกินปกติและไม่สมเหตุสมผล ที่เป็นมากขึ้น ต่อเนื่องยาวกว่าหนึ่งอาทิตย์ แล้วก่อให้เกิด
ปัญหาคือ จุดที่ควรสงสัยว่าคนนั้นอาจเป็นโรคไบโพลาร์ ความหมายของไบโพลาร์ไม่จาเป็นต้องสลับกับช่วงซึมเศร้า
บางคนเป็นโรคนี้ อยู่ช่วงหนึ่งอาจจะ ประมาณ 4-6 เดือนอาจจะสามารถกลับคืนเป็นปกติได้เองโดยไม่ต้องรักษา ทา
ให้คนรอบข้างจะ ไม่รู้สึกว่าเป็นปัญหา ถ้าไม่สังเกตอย่างใกล้ชิด เมื่อปกติแล้วเขาจะดาเนินชีวิตได้ปกติ พอถึงช่วงหนึ่ง
จะรื่นเริงอีก หรืออาจจะสลับไปขั้วตรงข้าม เป็นแบบซึมเศร้า อาการก็จะเริ่มตั้งแต่ แยกตัว เบื่อหน่าย ไม่อยากทา
อะไร กินไม่ได้ นอนไม่หลับ เบื่อๆเข้าก็รู้สึกว่าตัวเองไม่มีค่า ที่สาคัญที่สุดคือการฆ่าตัว ตาย
- โรคนี้ช่วงซึมเศร้าจะเหมือนกับโรคซึมเศร้า อัตราการฆ่าตัวตายคือ 15-20% เพราะฉะนั้น หนึ่งในห้ามีโอกาสที่จะเกิด
ปัญหาเบื่อเศร้าและฆ่าตัวตาย ช่วงที่รื่นเริงมากๆ ก็จะมีประเด็นการฆ่าตัว ตายได้ด้วยเช่นกัน ไม่ใช่เฉพาะแค่ตอน
ซึมเศร้า คนไข้ที่จะป่วยเป็นโรคนี้ จากการวิจัยพบว่า จะเริ่ม เกิดอาการของโรคนี้ในช่วงวัยรุ่น แต่อาการจะไม่ปรากฏ
ชัด ซึ่งบางทีวัยรุ่นเป็นโรคนี้อยู่แต่ไม่ปรากฏ อาการที่รุนแรง คนรอบข้างจะไม่สามารถสังเกตได้ อาจเริ่มมีพฤติกรรมที่
เปลี่ยนแปลง เช่น อาจจะ เที่ยวกลางคืน อยากไปเตร็ดเตร่ ไม่มีสมาธิในการเรียนทาให้ผลการเรียนตกลง อาจจะมี
ปัญหาเรื่อง ของพฤติกรรมที่สร้างปัญหา เช่น ทะเลาะกับเพื่อนฝูง ถ้าพ่อแม่ไม่ได้ใกล้ชิด เห็นแค่ปรับเปลี่ยนไป นิด
หน่อย เหมือนกับไม่ได้เปลี่ยนอะไรเลย
4
วิธีการรักษาโรคไบโพลาร์
สาหรับการรักษาโรคความผิดปกติทางอารมณ์ เช่น โรคไบโพลาร์นี้ แพทย์จะมีการใช้ยาเป็นวิธีหนึ่งในการรักษา
โดยจะมีการจ่ายยาไปพร้อม ๆ กับการให้ความช่วยเหลือทางด้านจิตใจ เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถปรับตัวและจัดการกับ
ปัญหาต่าง ๆ ได้มากขึ้น
โดยหากผู้ป่วยอยู่ในระยะซึมเศร้าแพทย์จะรักษาอาการโดยให้ยาแก้ซึมเศร้าและยาป้องกันอาการเมเนีย และหาก
ผู้ป่วยมีอาการเมเนีย แพทย์จะให้ยาที่ช่วยควบคุมรักษาอาการทางจิต เช่น ยาลิเทียม คาร์บามาซีปีน วาลโปรเอท
ผู้ป่วยได้รับยาต่อเนื่องในระยะเวลาหนึ่งราว 1-2 ปี หากน้อยกว่านี้อาจจะทาให้มีโอกาสเป็นโรคนี้ซ้าได้ สาหรับผู้ป่วย
บางคนอาจมีความผิดปกติทางอารมณ์มาก ถึงขนาดต้องรับยาตลอดชีวิตก็อาจเป็นได้เช่นกัน
อย่างไรก็ตามในการตรวจพบว่าเป็นโรคไบโพลาร์ ผู้ใกล้ชิดควรสังเกตอาการในระยะเบื้องต้น เพราะโรคนี้ผู้ป่วยเอง
จะไม่รู้ตัวว่ากาลังเป็นโรคไบโพลาร์อยู่ ผู้ใกล้ชิดจะทราบจากการสังเกตว่าลักษณะการแสดงออกทางอารมณ์ที่
เปลี่ยนแปลงไป เป็นซึมเศร้าสลับกับอาการเมเนียไม่ใช่ตัวตนของผู้ป่วย ซึ่งมีโอกาสพบได้ทั้งจากเพศหญิงและเพศชาย
โดยพบได้ในช่วงอาการครั้งแรกอายุระหว่าง 15-24 ปี และอาจพบกับผู้ป่วยที่มีอายุตั้งแต่ 50-60 ปี
และถ้าหากใครที่ทราบว่าตนเองหรือคนใกล้ชิดกาลังเป็นโรคไบโพลาร์ สิ่งสาคัญของการรักษาตัวคือ การปฏิบัติตน
ในการรักษาวินัยในการรับประทานยาอย่างสม่าเสมอ และควรระมัดระวังในการดาเนินชีวิตประจาวันทางด้านอารมณ์
และใส่ใจนอนหลับให้เพียงพอ ไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดเพราะอาจจะทาให้ผู้ป่วยมีอาการหลอนเพิ่มเติม ส่งผลต่อภาวะ
อารมณ์ของผู้ป่วย
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
งบประมาณ
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
__________________________________________________________________
___________________________________________________________________
5
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดั
บ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
1
6
1
7
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
สถานที่ดาเนินการ
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
6
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________

More Related Content

What's hot

2562 final-project -13-610
2562 final-project -13-6102562 final-project -13-610
2562 final-project -13-610guntjetnipat
 
Project มหัศจรรย์โลมา
Project มหัศจรรย์โลมาProject มหัศจรรย์โลมา
Project มหัศจรรย์โลมาmind jirapan
 
2562 final-project -1
2562 final-project -12562 final-project -1
2562 final-project -1mint302544
 
2562 final-project (1) (1)
2562 final-project  (1) (1)2562 final-project  (1) (1)
2562 final-project (1) (1)Thawanongpao
 
2562-final-project_17
2562-final-project_172562-final-project_17
2562-final-project_17ssusera79710
 
2562 final-project 605-11
2562 final-project  605-112562 final-project  605-11
2562 final-project 605-11Thanapohn
 
โครงงานเปรม
โครงงานเปรมโครงงานเปรม
โครงงานเปรมThanakorn Intrarat
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกม
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกมโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกม
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกมRatchasin Poomchor
 
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออกใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออกselenagomezz
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Panpreeya Kawturn
 
โครงงนปลวก
โครงงนปลวกโครงงนปลวก
โครงงนปลวกTai MerLin
 
2561 project (1)
2561 project  (1)2561 project  (1)
2561 project (1)2_PiR
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานkkkkkkamonnat
 
2562 final-project (1)
2562 final-project  (1)2562 final-project  (1)
2562 final-project (1)ssuser6e9093
 

What's hot (20)

2562 final-project -13-610
2562 final-project -13-6102562 final-project -13-610
2562 final-project -13-610
 
Project มหัศจรรย์โลมา
Project มหัศจรรย์โลมาProject มหัศจรรย์โลมา
Project มหัศจรรย์โลมา
 
2562 final-project -1
2562 final-project -12562 final-project -1
2562 final-project -1
 
2562 final-project (1) (1)
2562 final-project  (1) (1)2562 final-project  (1) (1)
2562 final-project (1) (1)
 
2560 project .doc2
2560 project .doc22560 project .doc2
2560 project .doc2
 
2562-final-project_17
2562-final-project_172562-final-project_17
2562-final-project_17
 
2562 final-project 605-11
2562 final-project  605-112562 final-project  605-11
2562 final-project 605-11
 
โครงงานเปรม
โครงงานเปรมโครงงานเปรม
โครงงานเปรม
 
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
 
Good life if no fat
Good life if no fatGood life if no fat
Good life if no fat
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกม
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกมโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกม
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกม
 
Com2561 32
Com2561 32Com2561 32
Com2561 32
 
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออกใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
 
Lin
LinLin
Lin
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงนปลวก
โครงงนปลวกโครงงนปลวก
โครงงนปลวก
 
2561 project (1)
2561 project  (1)2561 project  (1)
2561 project (1)
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
2562 final-project (1)
2562 final-project  (1)2562 final-project  (1)
2562 final-project (1)
 
2562 final-project 1
2562 final-project 12562 final-project 1
2562 final-project 1
 

Similar to 2560 project (1) ใบงาน5

พลาสเตอร์มะลิ
พลาสเตอร์มะลิพลาสเตอร์มะลิ
พลาสเตอร์มะลิchompunutuknow
 
แบบนำเสนอโครงร่างคอมพิวเตอร์
แบบนำเสนอโครงร่างคอมพิวเตอร์แบบนำเสนอโครงร่างคอมพิวเตอร์
แบบนำเสนอโครงร่างคอมพิวเตอร์Thanakorn Intrarat
 
โครงร่างรายงาน(กู้คืนอัตโนมัติ)
โครงร่างรายงาน(กู้คืนอัตโนมัติ)โครงร่างรายงาน(กู้คืนอัตโนมัติ)
โครงร่างรายงาน(กู้คืนอัตโนมัติ)arisa promlar
 
2560 project งานชาเขียว
2560 project งานชาเขียว2560 project งานชาเขียว
2560 project งานชาเขียวNu Beer Yrc
 
โรคไมเกรน
โรคไมเกรนโรคไมเกรน
โรคไมเกรนotakublack1
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานKittinan42
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project Guy Prp
 
2560 project ใบงานที่5
2560 project ใบงานที่52560 project ใบงานที่5
2560 project ใบงานที่5Chanin Monkai
 
โครงงานกัวซา
โครงงานกัวซาโครงงานกัวซา
โครงงานกัวซาPinchanok Muangping
 
2560 project doc.doc doc
2560 project doc.doc doc2560 project doc.doc doc
2560 project doc.doc docAom Nachanok
 
โรค Phobia
โรค Phobiaโรค Phobia
โรค PhobiaDduang07
 
2560 project .doc กี้
2560 project .doc กี้2560 project .doc กี้
2560 project .doc กี้Nattarika Pijan
 

Similar to 2560 project (1) ใบงาน5 (20)

2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
พลาสเตอร์มะลิ
พลาสเตอร์มะลิพลาสเตอร์มะลิ
พลาสเตอร์มะลิ
 
แบบนำเสนอโครงร่างคอมพิวเตอร์
แบบนำเสนอโครงร่างคอมพิวเตอร์แบบนำเสนอโครงร่างคอมพิวเตอร์
แบบนำเสนอโครงร่างคอมพิวเตอร์
 
2560 project -1.doc1
2560 project -1.doc12560 project -1.doc1
2560 project -1.doc1
 
โครงร่างรายงาน(กู้คืนอัตโนมัติ)
โครงร่างรายงาน(กู้คืนอัตโนมัติ)โครงร่างรายงาน(กู้คืนอัตโนมัติ)
โครงร่างรายงาน(กู้คืนอัตโนมัติ)
 
2560 project -3
2560 project -32560 project -3
2560 project -3
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project งานชาเขียว
2560 project งานชาเขียว2560 project งานชาเขียว
2560 project งานชาเขียว
 
โรคไมเกรน
โรคไมเกรนโรคไมเกรน
โรคไมเกรน
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
2560 project ใบงานที่5
2560 project ใบงานที่52560 project ใบงานที่5
2560 project ใบงานที่5
 
2562 final-project 07
2562 final-project 072562 final-project 07
2562 final-project 07
 
โครงงานกัวซา
โครงงานกัวซาโครงงานกัวซา
โครงงานกัวซา
 
2560 project doc.doc doc
2560 project doc.doc doc2560 project doc.doc doc
2560 project doc.doc doc
 
โรค Phobia
โรค Phobiaโรค Phobia
โรค Phobia
 
1
11
1
 
09_2560 project
09_2560 project09_2560 project
09_2560 project
 
2560 project .doc กี้
2560 project .doc กี้2560 project .doc กี้
2560 project .doc กี้
 

2560 project (1) ใบงาน5

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน ไบโพลาร์ รู้จักสักนิด ก่อนคิดเข้าใจ ชื่อผู้ทาโครงงาน 1.นางสาวมนัชญา วิภูสันติ เลขที่ 13 ชั้น ม.6 ห้อง 7 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1.นส.มนัชญา วิภูสันติ เลขที่13 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ไบโพลาร์ รู้จักสักนิด ก่อนคิดเข้าใจ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Lerning to know Bipolar Disorder ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว มนัชญา วิภูสันติ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม - ระยะเวลาดาเนินงาน 2 เดือน ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) เนื่องจากโรคอารมณ์สองขั้วหรือที่คนทั่วไปเรียกว่า “โรคไบโพล่าร์” (Bipolar Disorder) คือความผิดปกติของสมอง ที่ประชากรประมาณ 60 ล้านคนทั่วโลกกาลังเป็นอยู่ โรคนี้มีอาการพื้นฐานอยู่ทั้งหมด 4 อาการ ซึ่งอาการพื้นฐาน เหล่านี้จะทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ เรี่ยวแรง และความคล่องตัว และยังส่งผลกระทบต่อสิ่งที่เราต้อง รับผิดชอบในชีวิตประจาวันรวมทั้งหน้าที่การงาน โรคอารมณ์สองขั้วเป็นความผิดปกติทางสมอง มิได้เกิดจากจิตใจอ่อนแอหรือคิดมาก พบอาการครั้งแรกในช่วงวัยรุ่น 15-24 ปี ในวัยรุ่นระยะแรกผู้ป่วยอาจมาด้วยอาการโรคจิตเหมือนกับเป็นโรคจิตเภทได้ พบว่าเมื่อติดตามเด็กและ วัยรุ่นที่ได้รับการวินิจฉัยตอนแรกว่าเป็นโรคจิตเภทไปร้อยละ 50 ของผู้ป่วยจะมีอาการของโรคที่แท้จริงคือ โรค อารมณ์สองขั้วตามมาภายหลัง ผู้สูงอายุจะมีอัตราการพบโรคนี้ต่ากว่าในวัยหนุ่มสาว 1.4 เท่า หญิงและชายมีโอกาส พบเท่ากันที่ร้อยละ 1 ปัจจุบันคาดว่า คนไทยป่วยเป็นโรคไบโพลาร์อย่างน้อย 1 ล้านคน ซึ่งองค์การอนามัยโลกระบุ ว่า โรคอารมณ์สองขั้วทาให้เกิดการสูญเสียเป็นอันดับ 6 ของโลก ทางผู้จัดทาโครงงานได้เล็งเห็นความสาคัญของโรคไบโพลาร์ จึงอยากที่จะเผยแพร่ความรู้เพื่อเป็นแนวทางในการ ปฏิบัติให้แก่ผู้ที่สนใจทุกท่าน
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อเป็นความรู้ให้แก่ผู้ที่สนใจ 2.เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติให้แก่ผู้ที่สนใจ 3.เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่ผู้ที่มีอาการหรือคนรอบข้างมีอาการ ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) ผู้ที่สนใจเรื่อง โรคไบโพลาร์ หรือผู้ป่วย หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) สาเหตุ สาเหตุของโรคเกิดได้จากหลายปัจจัยร่วมกัน โรคอารมณ์สองขั้วเป็นโรคที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม จากการศึกษาพบ ความผิดปกติของโครโมโซมคู่ที่ 18, 21, 22 มีความสัมพันธ์กับโรคอารมณ์สองขั้วอย่างชัดเจน ผู้ป่วยโรคอารมณ์สอง ขั้วมักมีประวัติญาติป่วยเป็นโรคทางอารมณ์ และลูกของผู้ป่วยมีโอกาสเกิดโรคนี้มากกว่าคนทั่วไปประมาณ 4-8 เท่า โดยเฉพาะเมื่อพบเหตุกดดันทางจิตใจ เช่น ตกงาน สูญเสียคนรัก การประสบกับวิกฤติชีวิตรุนแรง การติดยาหรือใช้ สารเสพติด รวมทั้งปัญหาบุคลิกภาพล้วนกระตุ้นโรคที่แฝงเร้นให้สาแดงอาการออกมา อาการของโรค - อารมณ์ดีในลักษณะที่ผิดปกติ เรียกว่า mania หมายถึงอารมณ์ดีมากเกินกว่าปกติที่ควรจะ เป็น และมักจะไม่มี เหตุผลหรือไม่สมเหตุสมผล อาจจะมีปัญหากระทบกระเทือนต่อหน้าที่การงาน อารมณ์ดีจนกระทั่งตัดสินใจในสิ่งที่ไม่ ถูกต้อง ช่วงที่มีอารมณ์ดีจะช่างพูดช่างคุย คุยได้ไม่หยุด และ ไม่ชอบให้ใครมาขัดจะเกิดอารมณ์หงุดหงิด แล้วถึงขั้นใช้ อารมณ์ก้าวร้าวได้ - ผู้ป่วยบางคนกลางคืนไม่ยอมหลับ ไม่ยอมนอน อยากเที่ยวกลางคืน ใช้จ่ายเงินมาก มี อารมณ์ทางเพศมากขึ้น สา ส่อนทางเพศ อารมณ์ดีที่มากเกินปกติและไม่สมเหตุสมผล ที่เป็นมากขึ้น ต่อเนื่องยาวกว่าหนึ่งอาทิตย์ แล้วก่อให้เกิด ปัญหาคือ จุดที่ควรสงสัยว่าคนนั้นอาจเป็นโรคไบโพลาร์ ความหมายของไบโพลาร์ไม่จาเป็นต้องสลับกับช่วงซึมเศร้า บางคนเป็นโรคนี้ อยู่ช่วงหนึ่งอาจจะ ประมาณ 4-6 เดือนอาจจะสามารถกลับคืนเป็นปกติได้เองโดยไม่ต้องรักษา ทา ให้คนรอบข้างจะ ไม่รู้สึกว่าเป็นปัญหา ถ้าไม่สังเกตอย่างใกล้ชิด เมื่อปกติแล้วเขาจะดาเนินชีวิตได้ปกติ พอถึงช่วงหนึ่ง จะรื่นเริงอีก หรืออาจจะสลับไปขั้วตรงข้าม เป็นแบบซึมเศร้า อาการก็จะเริ่มตั้งแต่ แยกตัว เบื่อหน่าย ไม่อยากทา อะไร กินไม่ได้ นอนไม่หลับ เบื่อๆเข้าก็รู้สึกว่าตัวเองไม่มีค่า ที่สาคัญที่สุดคือการฆ่าตัว ตาย - โรคนี้ช่วงซึมเศร้าจะเหมือนกับโรคซึมเศร้า อัตราการฆ่าตัวตายคือ 15-20% เพราะฉะนั้น หนึ่งในห้ามีโอกาสที่จะเกิด ปัญหาเบื่อเศร้าและฆ่าตัวตาย ช่วงที่รื่นเริงมากๆ ก็จะมีประเด็นการฆ่าตัว ตายได้ด้วยเช่นกัน ไม่ใช่เฉพาะแค่ตอน ซึมเศร้า คนไข้ที่จะป่วยเป็นโรคนี้ จากการวิจัยพบว่า จะเริ่ม เกิดอาการของโรคนี้ในช่วงวัยรุ่น แต่อาการจะไม่ปรากฏ ชัด ซึ่งบางทีวัยรุ่นเป็นโรคนี้อยู่แต่ไม่ปรากฏ อาการที่รุนแรง คนรอบข้างจะไม่สามารถสังเกตได้ อาจเริ่มมีพฤติกรรมที่ เปลี่ยนแปลง เช่น อาจจะ เที่ยวกลางคืน อยากไปเตร็ดเตร่ ไม่มีสมาธิในการเรียนทาให้ผลการเรียนตกลง อาจจะมี ปัญหาเรื่อง ของพฤติกรรมที่สร้างปัญหา เช่น ทะเลาะกับเพื่อนฝูง ถ้าพ่อแม่ไม่ได้ใกล้ชิด เห็นแค่ปรับเปลี่ยนไป นิด หน่อย เหมือนกับไม่ได้เปลี่ยนอะไรเลย
  • 4. 4 วิธีการรักษาโรคไบโพลาร์ สาหรับการรักษาโรคความผิดปกติทางอารมณ์ เช่น โรคไบโพลาร์นี้ แพทย์จะมีการใช้ยาเป็นวิธีหนึ่งในการรักษา โดยจะมีการจ่ายยาไปพร้อม ๆ กับการให้ความช่วยเหลือทางด้านจิตใจ เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถปรับตัวและจัดการกับ ปัญหาต่าง ๆ ได้มากขึ้น โดยหากผู้ป่วยอยู่ในระยะซึมเศร้าแพทย์จะรักษาอาการโดยให้ยาแก้ซึมเศร้าและยาป้องกันอาการเมเนีย และหาก ผู้ป่วยมีอาการเมเนีย แพทย์จะให้ยาที่ช่วยควบคุมรักษาอาการทางจิต เช่น ยาลิเทียม คาร์บามาซีปีน วาลโปรเอท ผู้ป่วยได้รับยาต่อเนื่องในระยะเวลาหนึ่งราว 1-2 ปี หากน้อยกว่านี้อาจจะทาให้มีโอกาสเป็นโรคนี้ซ้าได้ สาหรับผู้ป่วย บางคนอาจมีความผิดปกติทางอารมณ์มาก ถึงขนาดต้องรับยาตลอดชีวิตก็อาจเป็นได้เช่นกัน อย่างไรก็ตามในการตรวจพบว่าเป็นโรคไบโพลาร์ ผู้ใกล้ชิดควรสังเกตอาการในระยะเบื้องต้น เพราะโรคนี้ผู้ป่วยเอง จะไม่รู้ตัวว่ากาลังเป็นโรคไบโพลาร์อยู่ ผู้ใกล้ชิดจะทราบจากการสังเกตว่าลักษณะการแสดงออกทางอารมณ์ที่ เปลี่ยนแปลงไป เป็นซึมเศร้าสลับกับอาการเมเนียไม่ใช่ตัวตนของผู้ป่วย ซึ่งมีโอกาสพบได้ทั้งจากเพศหญิงและเพศชาย โดยพบได้ในช่วงอาการครั้งแรกอายุระหว่าง 15-24 ปี และอาจพบกับผู้ป่วยที่มีอายุตั้งแต่ 50-60 ปี และถ้าหากใครที่ทราบว่าตนเองหรือคนใกล้ชิดกาลังเป็นโรคไบโพลาร์ สิ่งสาคัญของการรักษาตัวคือ การปฏิบัติตน ในการรักษาวินัยในการรับประทานยาอย่างสม่าเสมอ และควรระมัดระวังในการดาเนินชีวิตประจาวันทางด้านอารมณ์ และใส่ใจนอนหลับให้เพียงพอ ไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดเพราะอาจจะทาให้ผู้ป่วยมีอาการหลอนเพิ่มเติม ส่งผลต่อภาวะ อารมณ์ของผู้ป่วย วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ งบประมาณ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ __________________________________________________________________ ___________________________________________________________________
  • 5. 5 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดั บ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 1 6 1 7 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ สถานที่ดาเนินการ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________
  • 6. 6 _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________