SlideShare a Scribd company logo
1 of 32
Download to read offline
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๑
รหัสวิชา ส ๓๒๑๐๑ รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑
หน่วยการเรียนรู้ ที่ ๔ เรื่อง มารยาทชาวพุทธ เวลา ๓ ชั่วโมง
แผนการเรียนรู้ที่ ๑๑ เรื่อง มารยาทชาวพุทธ เวลา ๓ ชั่วโมง
ครูผู้สอน นางรุ่งภาณี ปิติยะ โรงเรียนโกสัมพีวิทยา
...................................................................................................................................................................
๑. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
พระสงฆ์เป็นผู้ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ ปฏิบัติถูกต้องตามพระธรรมวินัย และเป็นศาสนทายาทผู้สืบทอด
พระพุทธศาสนา เราเป็นชาวพุทธจึงควรปฏิบัติต่อท่านให้ถูกต้องเหมาะสมทั้งทางกาย ทางวาจา และทางใจ
และตามหลักปฏิสันถาร ทั้งในเรื่องการไปพบ การลุกขึ้นต้อนรับ การให้ที่นั่ง การหลีกทางให้ การสนทนา และ
การคิดที่จะสนับสนุนท่านด้วยปัจจัย ๔ ตามสมควร
๒. มาตรฐานการเรียนรู้ /ตัวชี้วัด
๒.๑ มาตรฐานการเรียนรู้ ส ๑.๒ เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธำรงรักษา
พระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ
๒.๒ ตัวชี้วัด ส ๑.๒ ม. ๕/๑ รู้ และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือ
ศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรมเพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติ
สุข
๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๑. ด้านความรู้ (K) เพื่อให้นักเรียน
๑) อธิบายวิธีปฏิบัติตนและปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องเหมาะสมต่อพระสงฆ์ทั้งทางกาย ทางวาจา และ
ทางใจ
๒) อธิบายความหมายและประเภทของปฏิสันถารได้ถูกต้อง
๒. ด้านทักษะ/กระบวนการ(P)เพื่อให้นักเรียน
-. ต้อนรับพระสงฆ์ตามหลักปฏิสันถารได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
๓. ด้านเจตคติ(A)เพื่อให้นักเรียน
- เห็นคุณค่าของมารยาทชาวพุทธและนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสมในสถานการณ์ต่าง
ๆ
๔. สาระการเรียนรู้
- มารยาทชาวพุทธ
๑. การปฏิบัติตนต่อพระสงฆ์ทางกาย ทางวาจา และทางใจ
๒. การปฏิบัติที่เหมาะสมต่อพระสงฆ์ตามหลักปฏิสันถาร ๒
๕. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
๕.๑ ความสามารถในการคิด
๕.๒ ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๖.๑ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
๖.๒ รักความเป็นไทย
๗. ทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ (๓R ,๘C)
๗.๑ ทักษะของคนในศตวรรษที่ ๒๑ คือการเรียนรู้ ๓R ๘C
/ Reading (อ่านออก)
/ (W) Riting (เขียนได้)
 (A) Rithemetics (คิดเลขเป็น)
 ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ไขปัญหา(Critical Thinking and
Problem Solving)
/ ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation)
 ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural
Understanding)
/ ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีมและภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and
Leadership)
/ ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศและรู้เท่าทันสื่อ (Communications, Information, and Media
Literacy)
/ ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT
Literacy)
 ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning)
/ มีคุณธรรม มีเมตตา กรุณา มีระเบียบวินัย ซึ่งเป็นคุณลักษณะพื้นฐานสำคัญของทักษะขั้นต้น
ทั้งหมด และเป็นคุณลักษณะที่เด็กไทยจำเป็นต้องมี (Compassion)
๗.๒ ทักษะด้านชีวิตและอาชีพ ของคนในศตวรรษที่ ๒๑
 ความยืดหยุ่นและการปรับตัว
/ การริเริ่มสร้างสรรค์และเป็นตัวของตัวเอง
 ทักษะสังคมและสังคมข้ามวัฒนธรรม
/ การเป็นผู้สร้างหรือผู้ผลิต (Productivity) และความรับผิดชอบเชื่อถือได้
(Accountability)
/ ภาวะผู้นำและความรับผิดชอบ (Responsibility)
๗.๓ คุณลักษณะของคนในศตวรรษที่ ๒๑
/ คุณลักษณะด้านการทำงาน ได้แก่ การปรับตัว ความเป็นผู้นำ
/ คุณลักษณะด้านการเรียนรู้ ได้แก่ การชี้นำตนเอง การตรวจสอบการเรียนรู้ของตนเอง
/ คุณลักษณะด้านศีลธรรม ได้แก่ ความเคารพผู้อื่น ความซื่อสัตย์ ความสำนึกพลเมืองดี
๗.๔ การบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๗.๔.๑ ความพอเพียง
๑) ความพอประมาณ การปฏิบัติงานได้เป็นระเบียบขั้นตอน การวางแผนในการทำงานที่มี
ความพอดี เหมาะสม ไม่มากเกินไป ไม่น้อยเกินไป ไม่เบียดเบียนต่อตนเองและไม่เบียดเบียนผู้อื่น
๒) ความมีเหตุผล รอบคอบ มีเหตุผลในการคิดและตัดสินใจ
๓) การมีภูมิคุ้มกันที่ดี มีการจัดองค์ประกอบของการดำเนินงานให้มีสภาพพร้อมรองรับต่อ
ผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายในได้เป็นอย่างดี
๗.๔.๒ คุณธรรมกำกับความรู้
๑) เงื่อนไขคุณธรรม การมีสติ ปัญญา ปฏิบัติแต่สิ่งที่จะทำให้เกิดผลดี
๒) เงื่อนไขความรู้ รอบรู้เรื่องและมีความชำนาญเรื่องมารยาทชาวพุทธ
๘. กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (GPAS ๕ STEP)
STEP ๑
ขั้น Gathering : รวบรวมข้อมูล
๑. ให้นักเรียนดูวีดิทัศน์จาก Link ที่ครูส่งให้เกี่ยวกับการปฏิบัติตนต่อพระสงฆ์ของชาวพุทธในเรื่องต่าง
ๆ เช่น การกราบพระสงฆ์ การไหว้พระสงฆ์ https://www.youtube.com/watch?v=f1zKvudI81g
การสนทนากับพระสงฆ์https://www.youtube.com/watch?v=OPwR_qSlVfE การลุกขึ้นต้อนรับเมื่อ
พระสงฆ์เดินมายังสถานที่พิธี https://www.youtube.com/watch?v=0wLT2MYppUQ
แล้วสนทนากับนักเรียนในประเด็นต่าง ๆ นักเรียนร่วมกันตอบคำถามในประเด็นต่อไปนี้ โดยครูใช้คำถาม
กระตุ้นการคิด เช่น
1) วีดิทัศน์ที่ดูเป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร
2) นักเรียนดูแล้วรู้สึกอย่างไร
3) นักเรียนได้ความรู้อะไรบ้าง
4) เมื่อพระสงฆ์เดินเข้ามาในงานพิธีผ่านหน้าเรา เราควรปฏิบัติตนอย่างไร
5) มารยาทในการต้อนรับพระสงฆ์ควรทำอย่างไร
6) ความรู้นั้นสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้หรือไม่ เพราะอะไร
๒. ครูกล่าวชมเชยนักเรียนที่ช่วยกันตอบคำถาม
๓. นักเรียนร่วมกันศึกษาวีดิทัศน์การปฏิสันถารที่เหมาะสมต่อพระภิกษุสงฆ์ในโอกาสต่างๆ จาก Link
ที่ครูส่งให้ https://www.youtube.com/watch?v=Qcz4AtcQ2mg พร้อมสนทนาและซักถามนักเรียนเป็น
ระยะ ๆ ประเด็นคำถาม เช่น
๑) ปฏิสันถารคืออะไร มีอะไรบ้าง
๒) อามิสปฏิสันถาร (wordly hospitality/material or canal greeting) กับธรรมปฏิสันถาร
(doctrinal hospitality/spiritual greeting)
๓) ชาวพุทธในฐานะที่เป็นเจ้าของบ้านเมื่อพระสงฆ์มาที่บ้านควรต้อนรับท่านอย่างไรจึงจะได้ชื่อ
ว่าเป็นเจ้าของบ้านที่ดี
๔) การต้อนรับกันตามหลักปฏิสันถาร ๒ มีผลดีอย่างไร
๔. ครูกล่าวชมเชยนักเรียนที่ช่วยกันตอบคำถาม
๕. เลือกตัวแทนนักเรียนออกมาหน้าชั้นเรียน ๑๒ คน จับคู่กันเพื่อสาธิตการปฏิสันถารที่เหมาะสมต่อ
พระภิกษุในโอกาสต่าง ๆ ดังนี้
• คู่ที่ ๑ การลุกขึ้นต้อนรับ
• คู่ที่ ๒ การให้ที่นั่งพระภิกษุ
• คู่ที่ ๓ การรับรอง
• คู่ที่ ๔ การเข้าพบพระภิกษุ
• คู่ที่ ๕ การประเคนของพระภิกษุ
• คู่ที่ ๖ การปฏิสันถารเมื่อพบพระภิกษุในที่สาธารณะ
๖. นักเรียนทำใบงานที่ ๑ เรื่อง การปฏิบัติตนต่อพระสงฆ์ และทำใบงานที่ ๒ เรื่อง
STEP ๒
ขั้น Processing: วิเคราะห์และสรุปความรู้
๗. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น แล้ว สรุปเป็นความคิดรวบยอด โดยครูใช้คำถาม ดังนี้
• เพราะเหตุใดจึงต้องปฏิบัติตนให้ ถูกต้องเหมาะสมต่อพระภิกษุ (ตัวอย่าง คำตอบเพราะ
พระภิกษุเป็นผู้ปฏิบัติชอบ ตามคำสอนของพระพุทธเจ้า เป็นผู้ควรแก่การ เคารพนับถือ)
• นักเรียนจะสามารถปฏิบัติการปฏิสันถารที่เหมาะสมต่อพระภิกษุได้อย่างไรบ้าง ครูเลือกตัวแทน
นักเรียนออกมาบันทึก คำตอบเป็นแผนภาพความคิดบนกระดาน ดังตัวอย่าง
๘. ให้นักเรียนร่วมกันคิดประเมินเพื่อเพิ่มคุณค่า แล้วสรุปเป็นความคิดรวบยอด โดยครูใช้ คำถาม ดังนี้
• หากนักเรียนปฏิบัติตนเหมาะสมต่อ พระภิกษุจะก่อให้เกิดประโยชน์อย่างไร (ตัวอย่างคำตอบ
ได้รับการยกย่องชื่นชมในฐานะเป็นพุทธศาสนิกชนที่ดี)
๙. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น ๖ กลุ่ม กลุ่มละ เท่า ๆ กันคละเด็กเก่ง ปานกลาง อ่อน ให้แต่ละกลุ่ม
เลือกประธาน เลขานุการกลุ่ม ทุกกลุ่มร่วมกันสรุปขั้นตอนการปฏิบัติที่เหมาะสมต่อพระภิกษุ ดังนี้
กลุ่มที่ ๑ การลุกขึ้นต้อนรับ
กลุ่มที่ ๒ การให้ที่นั่งพระภิกษุ
กลุ่มที่ ๓ การรับรอง
กลุ่มที่ ๔ การเข้าพบพระภิกษุ
กลุ่มที่ ๕ การประเคนของพระภิกษุ
กลุ่มที่ ๖ การปฏิสันถารเมื่อพบ พระภิกษุในที่สาธารณะ
STEP ๓
ขั้น Applying ๑ (Applying and Constructing the Knowledge) : การปฏิบัติและสรุปความรู้
๑๐. จากนั้นให้นักเรียนทุกกลุ่มฝึกการปฏิบัติตน ที่เหมาะสมต่อพระภิกษุในโอกาส ต่าง ๆ ให้นักเรียน
แต่ละกลุ่มออกมาแสดงบทบาทสมมุติการปฏิบัติตนที่เหมาะสมต่อพระภิกษุในโอกาสต่าง ๆ หน้าชั้นเรียน แล้ว
บันทึกและประเมินผลการปฏิบัติลงในแบบบันทึกแบบประเมิน แล้วสรุปเป็นความคิดรวบยอด
๑๑. ให้นักเรียนนำความรู้ที่ได้จากการศึกษาและปฏิบัติมาสร้างเป็นนวัตกรรมชิ้นงานตามความสนใจ
โดยให้นักเรียนออกแบบตามความคิดอย่างสร้างสรรค์ชิ้นงาน
STEP ๔
ขั้น Applying ๒ (Applying and Communication Skill) : การสื่อสารและนำเสนอ
๑๒. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอนวัตกรรมชิ้นงานของกลุ่มของนักเรียนจากการปฏิบัติตน
ตามมารยาทชาวพุทธเกี่ยวกับการปฏิสันถารที่เหมาะสมต่อพระภิกษุสงฆ์ หน้าชั้นเรียน
๑๓. ให้นักเรียนกลุ่มอื่นสลับกับวิพากษ์การนำเสนอนวัตกรรมชิ้นงานของกลุ่มที่กำลังนำเสนอ
STEP ๕
ขั้น Self – regulating : การประเมินเพื่อเพิ่มคุณค่า บริการสังคมและจิตสาธารณะ
๑๔. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น ว่านักเรียนจะมีแนวทางเผยแพร่ แนวทางการปฏิบัติตนที่
เหมาะสมต่อพระภิกษุได้อย่างไร ตัวอย่างการแสดงความคิดเห็นของนักเรียน เช่น ๑) นักเรียนบอกว่าจะนำ
นวัตกรรมชิ้นงานในรูปแบบแผ่นพับ ,โปสเตอร์,หนังสือเล่มเล็ก,กรอบภาพอินโฟกราฟฟิกและการแต่งเพลงร้อง
เพลง นำแผ่นพับ ,โปสเตอร์,หนังสือเล่มเล็ก,กรอบภาพอินโฟกราฟฟิกไปแจกในชุมชนเช่นที่วัด,ที่การประชุม
หมู่บ้าน,ที่ตลาดใกล้บ้านและแจกเพื่อนพี่,น้องนักเรียนในโรงเรียนโกสัมพีวิทยาและการร้องเพลงนำเสนอ
เผยแพร่ผ่านช่องทางYoutube,Facebookและร้องเพลงในงานกิจกรรมต่างๆที่ทางโรงเรียนจัดขึ้นเช่นงานวัน
โลกวิชาการโรงเรียนโกสัมพีวิทยา
๑๕. ประเมินการทำใบงาน ๑ เรื่อง การปฏิบัติตนต่อพระสงฆ์ และทำใบงานที่ ๒ เรื่อง
เรียนรู้วิธีต้อนรับตามหลักปฏิสันถาร ๒ ในขั้น Gathering
๑๖. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันประเมิน นวัตกรรมชิ้นงาน (โปสเตอร์ อินโฟกราฟฟิก แผ่นพับและการ
แต่งเพลงร้องเพลง) ของเพื่อนในแต่ละกลุ่ม ในขั้น Applying 2
๑๗. ให้นักเรียนประเมินนวัตกรรมชิ้นงานของกลุ่มตนเอง ในขั้น Applying 2
๑๘. ครูประเมินนวัตกรรมชิ้นงานของนักเรียน ในขั้น Applying 2
๑๙. นักเรียนนำนวัตกรรมชิ้นงานไปให้ผู้ปกครองประเมินนวัตกรรมชิ้นงานของกลุ่มตนเอง ในขั้น
Applying 2
๒๐. ให้นักเรียนและครูร่วมกันสรุป หลักการ ดังนี้
• การปฏิบัติตนที่เหมาะสมต่อพระภิกษุ เป็นการแสดงออกถึง การเคารพต่อพระภิกษุผู้ปฏิบัติดี
เป็นการสืบทอดรักษาขนบธรรมเนียม วัฒนธรรมที่ดีงามของไทย โดย ผู้ปฏิบัติจะได้รับคำ ยกย่องชื่นชม ใน
ฐานะเป็นพุทธศาสนิกชนที่ดี
๒๑. นักเรียนร่วมกันถอดบทเรียนจากกิจกรรม จากผลการปฏิบัติแสดงบทบาทสมมุติ เรื่อง มารยาท
ชาวพุทธเกี่ยวกับการปฏิสันถารที่เหมาะสมต่อพระภิกษุ โดยแบ่งเป็น I learn (สิ่งที่ได้เรียนรู้), I like (สิ่งที่ชอบ
ในกิจกรรมนี้), I wish (สิ่งที่คาดหวังในคาบต่อไป) และ I wonder (สิ่งที่สงสัย)
๙. สื่อการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้
๙.๑. สื่อการเรียนรู้
๙.๑.๑ วีดิทัศน์เกี่ยวกับการกราบพระสงฆ์ การไหว้พระสงฆ์
https://www.youtube.com/watch?v=f1zKvudI81g
๙.๑.๒ วีดิทัศน์เกี่ยวกับการสนทนากับ
พระสงฆ์https://www.youtube.com/watch?v=OPwR_qSlVfE
๙.๑.๓ วีดิทัศน์เกี่ยวกับการลุกขึ้นต้อนรับเมื่อพระสงฆ์เดินมายังสถานที่พิธี
https://www.youtube.com/watch?v=0wLT2MYppUQ
๙.๑.๔วีดิทัศน์เกี่ยวกับการปฏิสันถารที่เหมาะสมต่อพระภิกษุสงฆ์ในโอกาสต่างๆ จาก Link ที่ครูส่งให้
https://www.youtube.com/watch?v=Qcz4AtcQ2mg
๙.๑.๕ ใบงานที่ ๑ เรื่อง การปฏิบัติตนต่อพระสงฆ์
๙.๑.๖ ใบงานที่ ๒ เรื่อง เรียนรู้วิธีต้อนรับตามหลักปฏิสันถาร ๒
๙.๑.๗ แบบประเมินใบงาน
๙.๑.๘ แบบประเมินการสาธิตการปฏิสันถารที่เหมาะสมต่อพระภิกษุสงฆ์ในโอกาสต่างๆ
๙.๑.๙ แบบประเมินผลการปฏิบัติการแสดงบทบาทสมมุติ
๙.๑.๑๐ แบบประเมินการนำเสนอผลงานเป็นรายกลุ่ม
๙.๑.๑๑ แบบประเมินเจตคติเห็นคุณค่าของมารยาทชาวพุทธและนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้อย่าง
เหมาะสม
๙.๑.๑๒ แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ด้านคุณธรรมการมีสติ ปัญญา ปฏิบัติแต่สิ่งที่จะทำให้เกิดผล
ดี
๙.๑.๑๓ แบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
๙.๑.๑๔ แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน
๙.๑.๑๕ หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. ๕ บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท.จำกัด
๙.๒ แหล่งเรียนรู้
๙.๒.๑ อินเทอร์เน็ต
๙.๒.๒ การกราบพระสงฆ์ การไหว้พระสงฆ์ https://www.youtube.com/watch?v=f1zKvudI81g
๙.๒.๓ การสนทนากับพระสงฆ์https://www.youtube.com/watch?v=OPwR_qSlVfE
๙.๒.๔ การลุกขึ้นต้อนรับเมื่อพระสงฆ์เดินมายังสถานที่พิธี
https://www.youtube.com/watch?v=0wLT2MYppUQ
๙.๒.๕ การปฏิสันถารที่เหมาะสมต่อพระภิกษุสงฆ์ในโอกาสต่างๆ
https://www.youtube.com/watch?v=Qcz4AtcQ2mg
๑๐. การวัดผลและประเมินผล
วิธีวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์การวัดและประเมินผล
ด้านความรู้ (K)
1. ประเมินการตอบคำถาม
2. ประเมินใบงานที่ ๑ และใบงานที่ ๒
1.แบบประเมินการตอบคำถาม
๒. แบบประเมินใบงาน
๑.ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
๒.ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
๑. ประเมินการสาธิตการปฏิสันถารที่
เหมาะสมต่อพระภิกษุสงฆ์ในโอกาส
ต่างๆ
๒. ประเมินการปฏิบัติการแสดงบทบาท
สมมุติ
๓. ประเมินการนำเสนอผลงานเป็นราย
กลุ่ม
๑. แบบประเมินการสาธิตการปฏิสันถาร
ที่เหมาะสมต่อพระภิกษุสงฆ์ในโอกาส
ต่างๆ
๒. แบบประเมินการปฏิบัติการแสดง
บทบาทสมมุติ
๓. แบบประเมินการนำเสนอผลงานเป็น
รายกลุ่ม
๑.ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
๒.ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
๓.นักเรียนต้องมีพฤติกรรมใน
แต่ละรายการอย่างน้อยระดับ
๓ ขึ้นไป จำนวน ๔ ใน ๖
รายการ
ด้านเจตคติ(A)
- ประเมินการเห็นคุณค่าของมารยาท
ชาวพุทธและนำไปปฏิบัติใน
ชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
-แบบประเมินเจตคติ
เห็นคุณค่าของมารยาทชาวพุทธและ
นำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้อย่าง
เหมาะสม
-ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
ด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม
-ประเมินการมีสติ ปัญญา ปฏิบัติแต่สิ่ง
ที่จะทำให้เกิดผลดี
-แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม
การมีสติ ปัญญา ปฏิบัติแต่สิ่งที่จะทำให้
เกิดผลดี
ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
ด้านสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
๑. ความสามารถในการคิด
๒. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
-แบบประเมินสมรรถนะสำคัญของ
ผู้เรียน
๑. ความสามารถในการคิด
-ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
-ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
๒. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
๒. รักความเป็นไทย
-แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
๒. รักความเป็นไทย
-ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
-ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
๑๑. กิจกรรมเสนอแนะ
- ครูให้นักเรียนไปวัดหรือไปร่วมงานศาสนพิธีในโอกาสต่าง ๆ เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติใน
สถานการณ์จริงอย่างสม่ำเสมอ
๑๒. บันทึกหลังกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
๑๒.๑ ด้านความรู้ (K)
...............................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
ด้านทักษะกระบวนการ(P)
...........................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
ด้านเจตคติ(A)
...........................................................................................................................................................
๑2.๒ ปัญหาอุปสรรค/แนวทางการแก้ไข
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
๑๒.๓ ข้อเสนอแนะ
...........................................................................................................................................................
ลงชื่อ................................................ครูผู้สอน
(นางรุ่งภาณี ปิติยะ)
ครู คศ.๓ โรงเรียนโกสัมพีวิทยา
.........../............................../...............
ใบงานที่ ๑
เรื่อง ฝึกปฏิบัติมารยาทชาวพุทธ
คำชี้แจง ศึกษามารยาทชาวพุทธในเรื่องต่าง ๆ แล้วทำกิจกรรมที่กำหนดให้
๑. ดูภาพแล้วอภิปรายตามประเด็นที่กำหนดให้
1. นักเรียนรู้เรื่องอะไรบ้างเกี่ยวกับ
พระสงฆ์
...............................................................
...............................................................
...............................................................
...............................................................
...............................................................
..
2. พระสงฆ์กับนักเรียนมีความสัมพันธ์
กันบ้างหรือไม่อย่างไร
...............................................................
...............................................................
...............................................................
...............................................................
...............................................................
...............................................................
3. นักเรียนควรปฏิบัติตนต่อพระสงฆ์อย่างไร
.....................................................................................................................................
.....................................................................................................................................
....
เฉลยใบงานที่ ๑
เรื่อง ฝึกปฏิบัติมารยาทชาวพุทธ
คำชี้แจง ศึกษามารยาทชาวพุทธในเรื่องต่าง ๆ แล้วทำกิจกรรมที่กำหนดให้
๑. ดูภาพแล้วอภิปรายตามประเด็นที่กำหนดให้
1. นักเรียนรู้เรื่องอะไรบ้างเกี่ยวกับ
พระสงฆ์
แนวคำตอบพระสงฆ์เป็นผู้ปฏิบัติดี
ปฏิบัติชอบ ปฏิบัติถูกต้องตามพระธรรม
วินัย และเป็นศาสนทายาทผู้สืบทอด
พระพุทธศาสนา รักษาศีล 227 อาศัย
อยู่ในวัดหรือปฏิบัติอยู่ตามป่าเขา
2. พระสงฆ์กับนักเรียนมีความสัมพันธ์
กันบ้างหรือไม่อย่างไร
แนวคำตอบสัมพันธ์กันในฐานะที่เป็น
ชาวพุทธโดยพระสงฆ์ถือว่าเป็นปฏิคาหก
ผู้สมควรรับสิ่งของที่นักเรียนนำมาถวาย
หรือเป็นพระนักเทศน์และพระวิทยากร
ที่นำหลักธรรมคำสั่งสอนทาง
พระพุทธศาสนามาสั่งสอนเรา
3. นักเรียนควรปฏิบัติตนต่อพระสงฆ์อย่างไร
แนวคำตอบ ควรปฏิบัติต่อพระสงฆ์ให้ถูกต้องเหมาะสมทั้งทางกาย ทางวาจา และ
ทางใจที่ประกอบด้วยเมตตา
ใบงานที่ ๒
เรื่อง เรียนรู้วิธีต้อนรับตามหลักปฏิสันถาร ๒
คำชี้แจง สรุปวิธีปฏิบัติตนในการตักบาตรและหลักการประเคนของถวายพระ
.................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
ชื่อ..............................................................นามสกุล..........................................เลขที่.................
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕/..........โรงเรียนโกสัมพีวิทยา
เฉลยใบงานที่ ๒
เรื่อง เรียนรู้วิธีต้อนรับตามหลักปฏิสันถาร ๒
คำชี้แจง สรุปวิธีปฏิบัติตนในการตักบาตรและหลักการประเคนของถวายพระ
แนวคำตอบ
๑. วิธีปฏิบัติตนในการตักบาตรมีดังนี้
๑) ผู้ตักบาตรควรทำความสะอาดร่างกายและแต่งกายให้เรียบร้อย
๒) ควรจัดเตรียมอาหารคาวหวานตามอัตภาพ ตามคติชาวพุทธนิยมนำส่วนที่เลิศ เช่น ข้าวแกงที่ยัง
ไม่ได้ตักไปเพื่อประโยชน์อย่างอื่นที่เรียกกันว่า ข้าวปากหม้อ แกงปากหม้อ นำไปตักบาตรหรือถวายพระก่อน
ซึ่งถือเป็นการแสดงความเคารพบูชาพระสงฆ์วิธีหนึ่ง
๓) เมื่อพระสงฆ์เดินผ่านมาควรนิมนต์ท่าน ควรถอดรองเท้าและไหว้ท่านก่อนตักบาตร
๔) ขณะที่ตักพึงระมัดระวังกิริยามารยาทให้เรียบร้อย ไม่ชวนท่านพูดคุยหรือซักถามเรื่องอาหารว่าชอบ
หรือไม่ หรือต้องการอาหารชนิดใด
๕) หากมีการถวายดอกไม้และธูปเทียน ถ้าเป็นผู้ชายให้ส่งด้วยมือได้โดยตรง ถ้าเป็นผู้หญิงต้องรอให้ท่าน
ปิดฝาบาตรก่อน แล้วจึงวางดอกไม้และธูปเทียนบนฝาบาตร
๖) เมื่อตักบาตรเสร็จควรแสดงความเคารพท่านด้ไหว้อีกครั้งหนึ่ง
๒. หลักการประเคนถวายของพระ
ประเคนของพระ คือ ถวายสิ่งของแด่พระสงฆ์ด้วยกิริยาอาการอ่อนน้อม ซึ่งเป็นการแสดงออกถึงความ
เลื่อมใสศรัทธา
๑) สิ่งของที่ควรประเคน ได้แก่ เครื่องรับรองพระสงฆ์ เครื่องไทยธรรม ภัตตาหาร
๒) ในการประเคนวินัยของพระสงฆ์ได้บัญญัติไว้ว่า ผู้ประเคนต้องอยู่ห่างจากพระสงฆ์ประมาณ ๑ ศอก
ขณะที่ประเคนต้องน้อมสิ่งของให้พระสงฆ์ด้วยอาการที่เคารพ หากเป็นผู้ชายประเคนด้วยมือได้ หากเป็นผู้หญิง
ให้นำสิ่งของวางบนผ้าหรือภาชนะที่พระท่านทอดรับ
ชื่อ..............................................................นามสกุล..........................................เลขที่.................
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕/..........โรงเรียนโกสัมพีวิทยา
แบบประเมินการตอบคำถาม
เรื่อง......................................................................
ชื่อ..........................................................สกุล.....................................................ชั้น...........เลขที่..........
รายการประเมิน ดี (๓) พอใช้ (๒) ปรับปรุง (๑)
๑. การคิดวิเคราะห์
๒. การตอบคำถามสื่อความ
๓. มีความคิดสร้างสรรค์
๔. ประโยชน์ของการนำข้อมูลไปใช้
คะแนน ๑๒ คะแนน ได้.................คะแนน
เกณฑ์การให้คะแนน
- การคิดวิเคราะห์
๓ คะแนน = มีการจับประเด็นสำคัญ ขยายความ ยกตัวอย่าง เปรียบเทียบและสรุปความคิดรวบยอด
ได้ดี
๒ คะแนน = มีการจับประเด็นสำคัญได้ แต่ขยายความหรือยกตัวอย่างไม่ได้
๑ คะแนน = มีการจับประเด็นสำคัญได้น้อย
- การเขียนสื่อความ
๓ คะแนน = ตอบสื่อความได้ถูกต้องตามอักขรวิธี ตรงประเด็นและ เข้าใจง่าย
๒ คะแนน = ตอบสื่อความไม่ถูกต้องตามอักขรวิธี ๒-๓ แห่ง ตรงประเด็น
๑ คะแนน = ตอบสื่อความได้น้อย ไม่ตรงประเด็น
- มีความคิดสร้างสรรค์
๓ คะแนน = ผลงานมีรูปแบบน่าสนใจ มีความสัมพันธ์กับหัวข้อที่กำหนด ระบายสีได้สวยงาม
๒ คะแนน = ผลงานมีความสัมพันธ์กับหัวข้อที่กำหนด แต่ไม่ดึงดูดความสนใจ
๑ คะแนน = ผลงานมีความสัมพันธ์กับหัวข้อที่กำหนดน้อยมาก
- ประโยชน์ของการนำข้อมูลไปใช้
๓ คะแนน = สามารถนำไปประยุกต์กับสถานการณ์ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
๒ คะแนน = สามารถนำไปประยุกต์กับสถานการณ์ในชีวิตประจำวันได้บ้าง
๑ คะแนน = สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้น้อยมาก
การประเมินผล
คะแนน ๑๒ - ๙ = ดี (๓)
คะแนน ๘ - ๕ = พอใช้ (๒)
คะแนน ๔ - ๐ = ควรปรับปรุง (๑)
เกณฑ์การตัดสินใบงาน
ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
ลงชื่อผู้ประเมิน................................................... ครู
นักเรียน
เพื่อนนักเรียน
แบบประเมินใบงาน
เรื่อง......................................................................
ชื่อ..........................................................สกุล.....................................................ชั้น...........เลขที่..........
รายการประเมิน ดี (๓) พอใช้ (๒) ปรับปรุง (๑)
๑. การคิดวิเคราะห์
๒. การเขียนสื่อความ
๓. มีความคิดสร้างสรรค์
๔. ประโยชน์ของการนำข้อมูลไปใช้
คะแนน ๑๒ คะแนน ได้.................คะแนน
เกณฑ์การให้คะแนน
- การคิดวิเคราะห์
๓ คะแนน = มีการจับประเด็นสำคัญ ขยายความ ยกตัวอย่าง เปรียบเทียบและสรุปความคิดรวบยอด
ได้ดี
๒ คะแนน = มีการจับประเด็นสำคัญได้ แต่ขยายความหรือยกตัวอย่างไม่ได้
๑ คะแนน = มีการจับประเด็นสำคัญได้น้อย
- การเขียนสื่อความ
๓ คะแนน = เขียนสื่อความได้ถูกต้องตามอักขรวิธี ตรงประเด็นและ เข้าใจง่าย
๒ คะแนน = เขียนสื่อความไม่ถูกต้องตามอักขรวิธี ๒-๓ แห่ง ตรงประเด็น
๑ คะแนน = เขียนสื่อความได้น้อย ไม่ตรงประเด็น
- มีความคิดสร้างสรรค์
๓ คะแนน = ผลงานมีรูปแบบน่าสนใจ มีความสัมพันธ์กับหัวข้อที่กำหนด ระบายสีได้สวยงาม
๒ คะแนน = ผลงานมีความสัมพันธ์กับหัวข้อที่กำหนด แต่ไม่ดึงดูดความสนใจ
๑ คะแนน = ผลงานมีความสัมพันธ์กับหัวข้อที่กำหนดน้อยมาก
- ประโยชน์ของการนำข้อมูลไปใช้
๓ คะแนน = สามารถนำไปประยุกต์กับสถานการณ์ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
๒ คะแนน = สามารถนำไปประยุกต์กับสถานการณ์ในชีวิตประจำวันได้บ้าง
๑ คะแนน = สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้น้อยมาก
การประเมินผล
คะแนน ๑๒ - ๙ = ดี (ระดับคุณภาพ ๓)
คะแนน ๘ - ๕ = พอใช้ (ระดับคุณภาพ ๒)
คะแนน ๔ - ๐ = ควรปรับปรุง (ระดับคุณภาพ ๑)
เกณฑ์การตัดสินใบงาน
ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
ลงชื่อผู้ประเมิน................................................... ครู
นักเรียน
เพื่อนนักเรียน
ผู้ปกครอง
แบบประเมินการสาธิตการปฏิสันถารที่เหมาะสมต่อพระภิกษุสงฆ์ในโอกาสต่างๆ
รายการประเมิน
คะแนน
ระดับการฝึกปฏิบัติ ข้อเสนอแนะ
๓ ๒ ๑
๑. การไปพบพระสงฆ์
๒. การลุกขึ้นต้อนรับพระสงฆ์
๓. การให้ที่นั่งแก่พระสงฆ์
๔. การตามส่งพระสงฆ์
๕. การหลีกทางให้พระสงฆ์
กรณีท่านเดินสวนทางมา
๖. การเดินตามหลังพระสงฆ์
๗. การเดินผ่านพระสงฆ์
กรณีท่ายืนอยู่
๘. การเดินผ่านพระสงฆ์
กรณีท่านนั่งอยู่กับพื้น
๙. การสนทนากับพระสงฆ์
๑๐. การใช้คำพูดกับพระสงฆ์
คะแนนรวม
คะแนนเฉลี่ย
การประเมินผล
คะแนน ๓๐-๒๕ = ดี (ระดับคุณภาพ ๓)
คะแนน ๒๔-๑๖ = พอใช้ (ระดับคุณภาพ ๒)
คะแนน ๑๕-๐ = ควรปรับปรุง (ระดับคุณภาพ ๑)
เกณฑ์การตัดสิน
ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
ลงชื่อผู้ประเมิน................................................... ครู
นักเรียน
เพื่อนนักเรียน
แบบประเมินผลการปฏิบัติการแสดงบทบาทสมมุติ
รายการปฏิบัติ ระดับการปฏิบัติ
๓ ๒ ๑
๑. การลุกขึ้นต้อนรับ
๒. การให้ที่นั่งพระภิกษุ
๓. การรับของจากพระภิกษุ
๔. การเข้าพบพระภิกษุ
๕. การประเคนของพระภิกษุ
๖. การปฏิสันถารเมื่อพบพระภิกษุในที่สาธารณะ
รวม
เกณฑ์การประเมิน
๑๘-๑๕ นักเรียนอยู่ในระดับ ดี (ระดับคุณภาพ ๓)
๑๔-๑๐ นักเรียนอยู่ในระดับ พอใช้ (ระดับคุณภาพ ๒)
๙-๐ นักเรียนอยู่ในระดับควรปรับปรุง (ระดับคุณภาพ ๑)
เกณฑ์การตัดสิน
ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
ลงชื่อผู้ประเมิน...................................................
จากนั้นให้นักเรียนตรวจสอบว่ามีแนวทางการปฏิบัติใดที่ตนเองควรปรับปรุงแก้ไข และประเมินตนเอง
ว่านักเรียนจะนำ แนวทางการปฏิบัติดังกล่าวไปปฏิบัติในชีวิตประจำ วันหรือไม่ อย่างไร
ครู
นักเรียน
เพื่อนนักเรียน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานกลุ่มที่............
คำชี้แจง : ประเมินการนำเสนอผลงานของนักเรียนตามรายการที่กำหนด แล้วขีด ✓ ลงในช่องที่
ตรงกับระดับคะแนน
ลำดับที่ รายการประเมิน
ระดับคะแนน
๔ ๓ ๒ ๑
๑
นำเสนอผลงานที่มีเนื้อหาสาระ
ครบถ้วนตรงตามประเด็น
2
นำเสนอผลงานที่มีความถูกต้อง
ของเนื้อหาสาระ
3
การนำเสนอใช้ภาษาถูกต้อง
เหมาะสม
4
เนื้อหาสาระมีการค้นคว้าจากแหล่ง
เรียนรู้ที่หลากหลาย
5 รูปแบบการนำเสนอน่าสนใจ
๖
ปรับปรุง และแสดงความรู้สึกต่อ
ชิ้นงาน
รวม
ลงชื่อ.................................................... ผู้ประเมิน
................ /................ /................
เกณฑ์การประเมิน
๑. การให้คะแนน ✓ ให้ ๑ คะแนน
๒. การสรุปผลการประเมินให้เป็นระดับคุณภาพ ๔, ๓, ๒,๑ กำหนดเกณฑ์ได้ตามความเหมาะสม
หรืออาจใช้เกณฑ์ดังนี้
๙–๑๐ คะแนน = ๔ (ดีมาก)
๗–๘ คะแนน = ๓ (ดี)
๕–๖ คะแนน = ๒ (พอใช้)
๐–๔ คะแนน = ๑ (ควรปรับปรุง)
เกณฑ์การประเมิน แยกตามองค์ประกอบย่อย ๖ ด้าน
รายการที่ ๑ เนื้อหาสาระครบถ้วนตรงตามประเด็น
๔ หมายถึง มีเนื้อหาสาระครบถ้วนตามประเด็นที่กำหนดทั้งหมด
๓ หมายถึง มีเนื้อหาสาระค่อนข้างครบถ้วนตามประเด็นที่กำหนดทั้งหมด
๒ หมายถึง มีเนื้อหาสาระไม่ครบถ้วนตามประเด็นแต่ภาพรวมของสาระทั้งหมดอยู่ในเกณฑ์พอใช้
๑ หมายถึง มีเนื้อหาสาระไม่ครบถ้วน ภาพรวมของสาระทั้งหมดอยู่ในเกณฑ์ต้องปรับปรุง
รายการที่ ๒ ความถูกต้องของเนื้อหาสาระ
๔ หมายถึง เนื้อหาสาระทั้งหมดถูกต้องตามข้อเท็จจริงและหลักวิชา
๓ หมายถึง เนื้อหาสาระเกือบทั้งหมดถูกต้องตามข้อเท็จจริงและหลักวิชา
๒ หมายถึง เนื้อหาสาระบางส่วนถูกต้องตามข้อเท็จจริงและหลักวิชาต้องแก้ไขบางส่วน
๑ หมายถึง เนื้อหาสาระส่วนใหญ่ไม่ถูกต้องตามข้อเท็จจริง หลักวิชาต้องแก้ไขเป็นส่วนใหญ่
รายการที่ ๓ ภาษาถูกต้องเหมาะสม
๔ หมายถึง สะกด การันต์ถูกต้อง ถ้อยคำสำนวนเหมาะสมดีมาก ลำดับความได้ชัดเจนเข้าใจง่าย
๓ หมายถึง สะกด การันต์ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ถ้อยคำสำนวนเหมาะสมดี ลำดับความได้ดีพอใช้
๒ หมายถึง สะกด การันต์มีผิดอยู่บ้าง ถ้อยคำสำนวนเหมาะสมพอใช้ ลำดับความพอเข้าใจ
๑ หมายถึง สะกด การันต์ผิดมาก ถ้อยคำสำนวนไม่เหมาะสม สำดับความได้ไม่ชัดเจน
รายการที่ ๔ ค้นคว้าจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย
๔ หมายถึง ค้นคว้าจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายตั้งแต่ ๔ แหล่งขึ้นไป
๓ หมายถึง ค้นคว้าจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายตั้งแต่ ๓ แหล่งขึ้นไป
๒ หมายถึง ค้นคว้าจากแหล่งเรียนรู้ ๒ แหล่ง
๑ หมายถึง ใช้ความรู้เพียงแหล่งเรียนรู้เดียว
รายการที่ ๕ รูปแบบการนำเสนอน่าสนใจ
๔ หมายถึง รูปแบบการนำเสนองานแปลกใหม่ น่าสนใจดี ลำดับเรื่องราวได้ดีมาก
๓ หมายถึง รูปแบบการนำเสนองานน่าสนใจ ลำดับเรื่องราวได้ดี
๒ หมายถึง รูปแบบการนำเสนองานน่าสนใจพอใช้ ลำดับเรื่องราวได้พอใช้
๑ หมายถึง รูปแบบการนำเสนอผลงานไม่น่าสนใจ ลำดับเรื่องราวได้ไม่ดี
รายการที่ ๖ ประเมิน ปรับปรุง และแสดงความรู้สึกต่อชิ้นงาน
๔ หมายถึง วิเคราะห์ข้อเด่น ข้อด้อยของงานได้ชัดเจน ปรับปรุงพัฒนางานได้เหมาะสม และแสดง
ความรู้สึกต่องานทั้งกระบวนการทำงานและผลงานได้อย่างชัดเจน
๓ หมายถึง วิเคราะห์ข้อเด่น ข้อด้อยของงานได้บางส่วน ปรับปรุงพัฒนางานได้บ้าง แสดงความรู้สึกต่อ
งานได้แต่ไม่ครบถ้วน
๒ หมายถึง วิเคราะห์ข้อเด่น ข้อด้อยของงานได้เล็กน้อย ปรับปรุงพัฒนางานด้วยตนเองไม่ได้ต้องได้รับ
คำแนะนำจากผู้อื่น แสดงความรู้สึกต่องานได้แต่ไม่ครบถ้วน
๑ หมายถึง วิเคราะห์ข้อเด่น ข้อด้อยของงานไม่ได้ ไม่ปรับปรุงพัฒนางาน แสดงความรู้สึกต่องานได้
เล็กน้อยหรือไม่แสดงความรู้สึกต่องาน
เกณฑ์การตัดสินผลการเรียน
นักเรียนต้องมีพฤติกรรมในแต่ละรายการอย่างน้อยระดับ ๓ ขึ้นไป จำนวน ๔ ใน ๖ รายการ
ลงชื่อ ........................................... ผู้ประเมิน
(นางรุ่งภาณี ปิติยะ)
............/................................/.................
แบบประเมินเจตคติเห็นคุณค่าของมารยาทชาวพุทธและนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
เลขที่ ชื่อ-สกุล เจตคติเห็นคุณค่าของมารยาทชาวพุทธและ
นำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้อย่าง
เหมาะสม
รวม
๓ ๒ ๑
๑
๒
๓
๔
๕
๖
๗
๘
๙
๑๐
๑๑
๑๒
๑๓
๑๔
๑๕
๑๖
๑๗
๑๘
๑๙
๒๐
๒๑
๒๒
๒๓
๒๔
๒๕
๒๖
๒๗
๒๘
๒๙
เกณฑ์การประเมินเจตคติเห็นคุณค่าของมารยาทชาวพุทธและนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
รายการประเมิน
คำอธิบายคุณภาพ
๓ คะแนน ๒ คะแนน ๑ คะแนน
๑. เห็นคุณค่าของมารยาท
ชาวพุทธและนำไปปฏิบัติ
ในชีวิตประจำวันได้อย่าง
เหมาะสม
ทุกครั้งเห็นคุณค่าของ
มารยาทชาวพุทธและ
นำไปปฏิบัติใน
ชีวิตประจำวันได้อย่าง
เหมาะสม
เห็นคุณค่าของมารยาท
ชาวพุทธและนำไป
ปฏิบัติใน
ชีวิตประจำวันได้อย่าง
เหมาะสมเป็นส่วนใหญ่
เห็นคุณค่าของมารยาท
ชาวพุทธและนำไป
ปฏิบัติใน
ชีวิตประจำวันได้อย่าง
เหมาะสมเป็นบางครั้ง
เกณฑ์การให้คะแนน
คะแนน ๓ คือ ดี (ระดับคุณภาพ ๓)
คะแนน ๒ คือ ปานกลาง (ระดับคุณภาพ ๒)
คะแนน ๑ คือ ปรับปรุง (ระดับคุณภาพ ๑)
เกณฑ์การตัดสินผ่าน
ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
ลงชื่อ..............................................ผู้ประเมิน
(.............................................)
แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ด้านคุณธรรมการมีสติ ปัญญา ปฏิบัติแต่สิ่งที่จะทำให้เกิดผลดี
ลำดับที่ ชื่อ-สกุล
รายการ
รวม
คุณธรรมการมีสติ ปัญญา
ปฏิบัติแต่สิ่งที่จะทำให้
เกิดผลดี
๓ ๒ ๑
๑
๒
๓
๔
๕
๖
๗
๘
๙
๑๐
๑๑
๑๒
๑๓
๑๔
๑๕
๑๖
๑๗
๑๘
๑๙
๒๐
๒๑
๒๒
๒๓
๒๔
๒๕
๒๖
๒๗
๒๘
๒๙
เกณฑ์การประเมินคุณธรรม จริยธรรม ด้านคุณธรรมการมีสติ ปัญญา ปฏิบัติแต่สิ่งที่จะทำให้เกิดผลดี
รายการประเมิน
คำอธิบายคุณภาพ
๓ คะแนน ๒ คะแนน ๑ คะแนน
๑. คุณธรรมการมีสติ
ปัญญา ปฏิบัติแต่สิ่งที่จะ
ทำให้เกิดผลดี
ทุกครั้งสามารถปฏิบัติแต่
สิ่งที่ดีมีประโยชน์อยู่
เสมอ
สามารถปฏิบัติแต่สิ่งที่ดี
มีประโยชน์ได้เป็นส่วน
ใหญ่
สามารถปฏิบัติแต่สิ่งที่ดี
มีประโยชน์ได้เป็น
บางครั้ง
เกณฑ์การประเมิน
คะแนน ๓ หมายถึง ดี (ระดับคุณภาพ ๓)
คะแนน ๒ หมายถึง ปานกลาง (ระดับคุณภาพ ๒)
คะแนน ๑ หมายถึง ปรับปรุง (ระดับคุณภาพ ๑)
เกณฑ์การตัดสินผ่าน
ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
ลงชื่อ ………………………………………. ผู้ประเมิน
( ………………………………………………)
แบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
ชื่อ-สกุลนักเรียน.....................................................................ห้อง..............................เลขที่…….
คำชี้แจง : ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ ลงในช่องว่าง
ที่ตรงกับระดับคะแนน
สมรรถนะที่ประเมิน ระดับคะแนน
๓ ๒ ๑
๑. ความสามารถในการคิด
๑.๑ มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์
๑.๒ มีความสามารถในการสร้างองค์ความรู้
๒. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
๒.๑ เรียนรู้ด้วยตนเองได้เหมาะสมตามวัย
๒.๒ สามารถทำงานกลุ่มร่วมกับผู้อื่นได้
๒.๓ นำความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน
๒.๔ จัดการแก้ปัญหาและความขัดแย้งได้เหมาะสม
๒.๕ หลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเอง
๓ หมายถึงนักเรียนแสดงพฤติกรรมนั้นอย่างสม่ำเสมอ
๒ หมายถึงนักเรียนแสดงพฤติกรรมนั้น เป็นครั้งคราว
๑ หมายถึงนักเรียนแสดงพฤติกรรมนั้นน้อยครั้ง
หมายเหตุ การหาคะแนนเฉลี่ยหาได้จากการนำเอาคะแนนรวมในแต่ละช่องมาบวกกัน แล้วหารด้วย
จำนวนข้อ จากนั้นนำคะแนนเฉลี่ย ที่ได้มาเทียบกับเกณฑ์การตัดสินคุณภาพและสรุปผลการประเมิน
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนนเฉลี่ย ๒.๓๔–๓.๐๐ ๑.๖๗–๒.๓๓ ๑.๐๐–๑.๖๖
ระดับคุณภาพ ๓ = ดีมาก, ดี ๒ = พอใช้ ๑ = ควรปรับปรุง
สรุปผลการประเมิน (เขียนเครื่องหมาย ✓ ลงใน )
ระดับคุณภาพที่ได้
๓ ๒ ๑
  
เกณฑ์การตัดสินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
ลงชื่อ ………………………………………. ผู้ประเมิน
( ………………………………………………)
แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน
ชื่อ-สกุลนักเรียน.....................................................................ห้อง..............................เลขที่…….
คำชี้แจง : สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ ลงในช่องว่างที่ตรง
กับระดับคะแนน
คุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
ด้าน
รายการประเมิน ระดับคะแนน
๓ ๒ ๑
๑. รักชาติ ศาสน์
กษัตริย์
๑.๑ ยืนตรงเมื่อได้ยินเพลงชาติ ร้อง
เพลงชาติได้ และบอกความหมาย
ของเพลงชาติ
๑.๒ ปฏิบัติตนตามสิทธิและหน้าที่
ของนักเรียน ให้ความร่วมมือ ร่วม
ใจในการทำงานกับสมาชิกใน
ห้องเรียน
๑.๓ เข้าร่วมกิจกรรมที่สร้างความ
สามัคคี ปรองดอง และเป็น
ประโยชน์ต่อโรงเรียนและชุมชน
๑.๔ เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาที่
ตนนับถือ ปฏิบัติตนตามหลักของ
ศาสนาและเป็นตัวอย่างที่ดีของ
ศาสนิกชน
๑.๕ เข้าร่วมกิจกรรมและมีส่วน
ร่วมในการจัดกิจกรรมที่เกี่ยวกับ
สถาบันพระมหากษัตริย์ตามที่
โรงเรียนและชุมชนจัดขึ้น ชื่นชม
ในพระราชกรณียกิจพระปรีชา
สามารถของพระมหากษัตริย์
และพระราชวงศ์
๒. รักความเป็น
ไทย
๒.๑ มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์
วัฒนธรรมและ
ภูมิปัญญาไทย
๒.๒ เห็นคุณค่าและปฏิบัติตน
ตามวัฒนธรรมไทย
๓ หมายถึงนักเรียนแสดงพฤติกรรมนั้นอย่างสม่ำเสมอ
๒ หมายถึงนักเรียนแสดงพฤติกรรมนั้น เป็นครั้งคราว
๑ หมายถึงนักเรียนแสดงพฤติกรรมนั้นน้อยครั้ง
หมายเหตุ การหาคะแนนเฉลี่ยหาได้จากการนำเอาคะแนนรวมในแต่ละช่องมาบวกกัน แล้วหารด้วย
จำนวนข้อ จากนั้นนำคะแนนเฉลี่ย ที่ได้มาเทียบกับเกณฑ์การตัดสินคุณภาพและสรุปผลการประเมิน
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วง
คะแนนเฉลี่ย
๒.๓๔
–๓.๐๐
๑.๖
๗–๒.๓๓
๑.๐๐–
๑.๖๖
ระดับ
คุณภาพ
๓ = ดี
มาก, ดี
๒ =
พอใช้
๑ = ควร
ปรับปรุง
สรุปผลการประเมิน (เขียนเครื่องหมาย ✓ ลงใน )
ระดับคุณภาพที่ได้
๓ ๒ ๑
  
เกณฑ์การตัดสินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน
ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
ลงชื่อ ………………………………………. ผู้ประเมิน
( ………………………………………………)
แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdf

More Related Content

What's hot

โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...Suricha Phichan
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ป.5ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ป.5Khunnawang Khunnawang
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบssuserf8d051
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465YingZaa TK
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามพัน พัน
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3O'Orh ChatmaNee
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบworapanthewaha
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์แวมไพร์ แวมไพร์
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกพัน พัน
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตsripayom
 

What's hot (20)

โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ป.5ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ป.5
 
แบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรปแบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรป
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
หน่วย 2
หน่วย 2หน่วย 2
หน่วย 2
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
 

Similar to แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdf

แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdfแผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdfssuser6a0d4f
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1suchinmam
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2hadradchai7515
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2hadradchai
 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางkorakate
 
พุทธประวัติ 56540117
พุทธประวัติ 56540117พุทธประวัติ 56540117
พุทธประวัติ 56540117Cake Kingkan
 
ความสำคัญของแหล่งการเรียนรู้ พุทธประวัติ 423213
ความสำคัญของแหล่งการเรียนรู้ พุทธประวัติ 423213ความสำคัญของแหล่งการเรียนรู้ พุทธประวัติ 423213
ความสำคัญของแหล่งการเรียนรู้ พุทธประวัติ 423213Jintananicha
 
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)yana54
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Net'Net Zii
 
โควตา มช สังคมศึกษา
โควตา มช  สังคมศึกษาโควตา มช  สังคมศึกษา
โควตา มช สังคมศึกษาChalinee Tonsing
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 

Similar to แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdf (20)

แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdfแผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
 
ปริวาสกรรม ของ สมัชชาสงฆ์ไทยฯ ๒๕๕๔
ปริวาสกรรม ของ สมัชชาสงฆ์ไทยฯ ๒๕๕๔ปริวาสกรรม ของ สมัชชาสงฆ์ไทยฯ ๒๕๕๔
ปริวาสกรรม ของ สมัชชาสงฆ์ไทยฯ ๒๕๕๔
 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
 
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
 
Seang Dhamma Vol. 36 No. 433 May, 2011
Seang Dhamma Vol. 36 No. 433 May, 2011Seang Dhamma Vol. 36 No. 433 May, 2011
Seang Dhamma Vol. 36 No. 433 May, 2011
 
พุทธประวัติ 56540117
พุทธประวัติ 56540117พุทธประวัติ 56540117
พุทธประวัติ 56540117
 
ความสำคัญของแหล่งการเรียนรู้ พุทธประวัติ 423213
ความสำคัญของแหล่งการเรียนรู้ พุทธประวัติ 423213ความสำคัญของแหล่งการเรียนรู้ พุทธประวัติ 423213
ความสำคัญของแหล่งการเรียนรู้ พุทธประวัติ 423213
 
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
 
ชุดการสอน
ชุดการสอนชุดการสอน
ชุดการสอน
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
สังคมศึกษา ปลาย
สังคมศึกษา ปลายสังคมศึกษา ปลาย
สังคมศึกษา ปลาย
 
อังกฤษ ปลาย
อังกฤษ ปลายอังกฤษ ปลาย
อังกฤษ ปลาย
 
โควตา มช สังคมศึกษา
โควตา มช  สังคมศึกษาโควตา มช  สังคมศึกษา
โควตา มช สังคมศึกษา
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
Saeng Dhamma Vol 35 No. 419 March, 2010
Saeng Dhamma Vol 35 No. 419 March, 2010Saeng Dhamma Vol 35 No. 419 March, 2010
Saeng Dhamma Vol 35 No. 419 March, 2010
 

แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdf

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๑ รหัสวิชา ส ๓๒๑๐๑ รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ หน่วยการเรียนรู้ ที่ ๔ เรื่อง มารยาทชาวพุทธ เวลา ๓ ชั่วโมง แผนการเรียนรู้ที่ ๑๑ เรื่อง มารยาทชาวพุทธ เวลา ๓ ชั่วโมง ครูผู้สอน นางรุ่งภาณี ปิติยะ โรงเรียนโกสัมพีวิทยา ................................................................................................................................................................... ๑. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด พระสงฆ์เป็นผู้ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ ปฏิบัติถูกต้องตามพระธรรมวินัย และเป็นศาสนทายาทผู้สืบทอด พระพุทธศาสนา เราเป็นชาวพุทธจึงควรปฏิบัติต่อท่านให้ถูกต้องเหมาะสมทั้งทางกาย ทางวาจา และทางใจ และตามหลักปฏิสันถาร ทั้งในเรื่องการไปพบ การลุกขึ้นต้อนรับ การให้ที่นั่ง การหลีกทางให้ การสนทนา และ การคิดที่จะสนับสนุนท่านด้วยปัจจัย ๔ ตามสมควร ๒. มาตรฐานการเรียนรู้ /ตัวชี้วัด ๒.๑ มาตรฐานการเรียนรู้ ส ๑.๒ เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธำรงรักษา พระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ๒.๒ ตัวชี้วัด ส ๑.๒ ม. ๕/๑ รู้ และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือ ศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรมเพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติ สุข ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. ด้านความรู้ (K) เพื่อให้นักเรียน ๑) อธิบายวิธีปฏิบัติตนและปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องเหมาะสมต่อพระสงฆ์ทั้งทางกาย ทางวาจา และ ทางใจ ๒) อธิบายความหมายและประเภทของปฏิสันถารได้ถูกต้อง ๒. ด้านทักษะ/กระบวนการ(P)เพื่อให้นักเรียน -. ต้อนรับพระสงฆ์ตามหลักปฏิสันถารได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ๓. ด้านเจตคติ(A)เพื่อให้นักเรียน - เห็นคุณค่าของมารยาทชาวพุทธและนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสมในสถานการณ์ต่าง ๆ ๔. สาระการเรียนรู้ - มารยาทชาวพุทธ ๑. การปฏิบัติตนต่อพระสงฆ์ทางกาย ทางวาจา และทางใจ ๒. การปฏิบัติที่เหมาะสมต่อพระสงฆ์ตามหลักปฏิสันถาร ๒
  • 2. ๕. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ๕.๑ ความสามารถในการคิด ๕.๒ ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๖.๑ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๖.๒ รักความเป็นไทย ๗. ทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ (๓R ,๘C) ๗.๑ ทักษะของคนในศตวรรษที่ ๒๑ คือการเรียนรู้ ๓R ๘C / Reading (อ่านออก) / (W) Riting (เขียนได้)  (A) Rithemetics (คิดเลขเป็น)  ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ไขปัญหา(Critical Thinking and Problem Solving) / ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation)  ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding) / ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีมและภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and Leadership) / ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศและรู้เท่าทันสื่อ (Communications, Information, and Media Literacy) / ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT Literacy)  ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning) / มีคุณธรรม มีเมตตา กรุณา มีระเบียบวินัย ซึ่งเป็นคุณลักษณะพื้นฐานสำคัญของทักษะขั้นต้น ทั้งหมด และเป็นคุณลักษณะที่เด็กไทยจำเป็นต้องมี (Compassion) ๗.๒ ทักษะด้านชีวิตและอาชีพ ของคนในศตวรรษที่ ๒๑  ความยืดหยุ่นและการปรับตัว / การริเริ่มสร้างสรรค์และเป็นตัวของตัวเอง  ทักษะสังคมและสังคมข้ามวัฒนธรรม / การเป็นผู้สร้างหรือผู้ผลิต (Productivity) และความรับผิดชอบเชื่อถือได้ (Accountability) / ภาวะผู้นำและความรับผิดชอบ (Responsibility) ๗.๓ คุณลักษณะของคนในศตวรรษที่ ๒๑ / คุณลักษณะด้านการทำงาน ได้แก่ การปรับตัว ความเป็นผู้นำ
  • 3. / คุณลักษณะด้านการเรียนรู้ ได้แก่ การชี้นำตนเอง การตรวจสอบการเรียนรู้ของตนเอง / คุณลักษณะด้านศีลธรรม ได้แก่ ความเคารพผู้อื่น ความซื่อสัตย์ ความสำนึกพลเมืองดี ๗.๔ การบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๗.๔.๑ ความพอเพียง ๑) ความพอประมาณ การปฏิบัติงานได้เป็นระเบียบขั้นตอน การวางแผนในการทำงานที่มี ความพอดี เหมาะสม ไม่มากเกินไป ไม่น้อยเกินไป ไม่เบียดเบียนต่อตนเองและไม่เบียดเบียนผู้อื่น ๒) ความมีเหตุผล รอบคอบ มีเหตุผลในการคิดและตัดสินใจ ๓) การมีภูมิคุ้มกันที่ดี มีการจัดองค์ประกอบของการดำเนินงานให้มีสภาพพร้อมรองรับต่อ ผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายในได้เป็นอย่างดี ๗.๔.๒ คุณธรรมกำกับความรู้ ๑) เงื่อนไขคุณธรรม การมีสติ ปัญญา ปฏิบัติแต่สิ่งที่จะทำให้เกิดผลดี ๒) เงื่อนไขความรู้ รอบรู้เรื่องและมีความชำนาญเรื่องมารยาทชาวพุทธ ๘. กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (GPAS ๕ STEP) STEP ๑ ขั้น Gathering : รวบรวมข้อมูล ๑. ให้นักเรียนดูวีดิทัศน์จาก Link ที่ครูส่งให้เกี่ยวกับการปฏิบัติตนต่อพระสงฆ์ของชาวพุทธในเรื่องต่าง ๆ เช่น การกราบพระสงฆ์ การไหว้พระสงฆ์ https://www.youtube.com/watch?v=f1zKvudI81g การสนทนากับพระสงฆ์https://www.youtube.com/watch?v=OPwR_qSlVfE การลุกขึ้นต้อนรับเมื่อ พระสงฆ์เดินมายังสถานที่พิธี https://www.youtube.com/watch?v=0wLT2MYppUQ แล้วสนทนากับนักเรียนในประเด็นต่าง ๆ นักเรียนร่วมกันตอบคำถามในประเด็นต่อไปนี้ โดยครูใช้คำถาม กระตุ้นการคิด เช่น 1) วีดิทัศน์ที่ดูเป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร 2) นักเรียนดูแล้วรู้สึกอย่างไร 3) นักเรียนได้ความรู้อะไรบ้าง 4) เมื่อพระสงฆ์เดินเข้ามาในงานพิธีผ่านหน้าเรา เราควรปฏิบัติตนอย่างไร 5) มารยาทในการต้อนรับพระสงฆ์ควรทำอย่างไร 6) ความรู้นั้นสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้หรือไม่ เพราะอะไร ๒. ครูกล่าวชมเชยนักเรียนที่ช่วยกันตอบคำถาม ๓. นักเรียนร่วมกันศึกษาวีดิทัศน์การปฏิสันถารที่เหมาะสมต่อพระภิกษุสงฆ์ในโอกาสต่างๆ จาก Link ที่ครูส่งให้ https://www.youtube.com/watch?v=Qcz4AtcQ2mg พร้อมสนทนาและซักถามนักเรียนเป็น ระยะ ๆ ประเด็นคำถาม เช่น ๑) ปฏิสันถารคืออะไร มีอะไรบ้าง
  • 4. ๒) อามิสปฏิสันถาร (wordly hospitality/material or canal greeting) กับธรรมปฏิสันถาร (doctrinal hospitality/spiritual greeting) ๓) ชาวพุทธในฐานะที่เป็นเจ้าของบ้านเมื่อพระสงฆ์มาที่บ้านควรต้อนรับท่านอย่างไรจึงจะได้ชื่อ ว่าเป็นเจ้าของบ้านที่ดี ๔) การต้อนรับกันตามหลักปฏิสันถาร ๒ มีผลดีอย่างไร ๔. ครูกล่าวชมเชยนักเรียนที่ช่วยกันตอบคำถาม ๕. เลือกตัวแทนนักเรียนออกมาหน้าชั้นเรียน ๑๒ คน จับคู่กันเพื่อสาธิตการปฏิสันถารที่เหมาะสมต่อ พระภิกษุในโอกาสต่าง ๆ ดังนี้ • คู่ที่ ๑ การลุกขึ้นต้อนรับ • คู่ที่ ๒ การให้ที่นั่งพระภิกษุ • คู่ที่ ๓ การรับรอง • คู่ที่ ๔ การเข้าพบพระภิกษุ • คู่ที่ ๕ การประเคนของพระภิกษุ • คู่ที่ ๖ การปฏิสันถารเมื่อพบพระภิกษุในที่สาธารณะ ๖. นักเรียนทำใบงานที่ ๑ เรื่อง การปฏิบัติตนต่อพระสงฆ์ และทำใบงานที่ ๒ เรื่อง STEP ๒ ขั้น Processing: วิเคราะห์และสรุปความรู้ ๗. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น แล้ว สรุปเป็นความคิดรวบยอด โดยครูใช้คำถาม ดังนี้ • เพราะเหตุใดจึงต้องปฏิบัติตนให้ ถูกต้องเหมาะสมต่อพระภิกษุ (ตัวอย่าง คำตอบเพราะ พระภิกษุเป็นผู้ปฏิบัติชอบ ตามคำสอนของพระพุทธเจ้า เป็นผู้ควรแก่การ เคารพนับถือ) • นักเรียนจะสามารถปฏิบัติการปฏิสันถารที่เหมาะสมต่อพระภิกษุได้อย่างไรบ้าง ครูเลือกตัวแทน นักเรียนออกมาบันทึก คำตอบเป็นแผนภาพความคิดบนกระดาน ดังตัวอย่าง ๘. ให้นักเรียนร่วมกันคิดประเมินเพื่อเพิ่มคุณค่า แล้วสรุปเป็นความคิดรวบยอด โดยครูใช้ คำถาม ดังนี้ • หากนักเรียนปฏิบัติตนเหมาะสมต่อ พระภิกษุจะก่อให้เกิดประโยชน์อย่างไร (ตัวอย่างคำตอบ ได้รับการยกย่องชื่นชมในฐานะเป็นพุทธศาสนิกชนที่ดี) ๙. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น ๖ กลุ่ม กลุ่มละ เท่า ๆ กันคละเด็กเก่ง ปานกลาง อ่อน ให้แต่ละกลุ่ม เลือกประธาน เลขานุการกลุ่ม ทุกกลุ่มร่วมกันสรุปขั้นตอนการปฏิบัติที่เหมาะสมต่อพระภิกษุ ดังนี้ กลุ่มที่ ๑ การลุกขึ้นต้อนรับ กลุ่มที่ ๒ การให้ที่นั่งพระภิกษุ กลุ่มที่ ๓ การรับรอง กลุ่มที่ ๔ การเข้าพบพระภิกษุ
  • 5. กลุ่มที่ ๕ การประเคนของพระภิกษุ กลุ่มที่ ๖ การปฏิสันถารเมื่อพบ พระภิกษุในที่สาธารณะ STEP ๓ ขั้น Applying ๑ (Applying and Constructing the Knowledge) : การปฏิบัติและสรุปความรู้ ๑๐. จากนั้นให้นักเรียนทุกกลุ่มฝึกการปฏิบัติตน ที่เหมาะสมต่อพระภิกษุในโอกาส ต่าง ๆ ให้นักเรียน แต่ละกลุ่มออกมาแสดงบทบาทสมมุติการปฏิบัติตนที่เหมาะสมต่อพระภิกษุในโอกาสต่าง ๆ หน้าชั้นเรียน แล้ว บันทึกและประเมินผลการปฏิบัติลงในแบบบันทึกแบบประเมิน แล้วสรุปเป็นความคิดรวบยอด ๑๑. ให้นักเรียนนำความรู้ที่ได้จากการศึกษาและปฏิบัติมาสร้างเป็นนวัตกรรมชิ้นงานตามความสนใจ โดยให้นักเรียนออกแบบตามความคิดอย่างสร้างสรรค์ชิ้นงาน STEP ๔ ขั้น Applying ๒ (Applying and Communication Skill) : การสื่อสารและนำเสนอ ๑๒. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอนวัตกรรมชิ้นงานของกลุ่มของนักเรียนจากการปฏิบัติตน ตามมารยาทชาวพุทธเกี่ยวกับการปฏิสันถารที่เหมาะสมต่อพระภิกษุสงฆ์ หน้าชั้นเรียน ๑๓. ให้นักเรียนกลุ่มอื่นสลับกับวิพากษ์การนำเสนอนวัตกรรมชิ้นงานของกลุ่มที่กำลังนำเสนอ STEP ๕ ขั้น Self – regulating : การประเมินเพื่อเพิ่มคุณค่า บริการสังคมและจิตสาธารณะ ๑๔. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น ว่านักเรียนจะมีแนวทางเผยแพร่ แนวทางการปฏิบัติตนที่ เหมาะสมต่อพระภิกษุได้อย่างไร ตัวอย่างการแสดงความคิดเห็นของนักเรียน เช่น ๑) นักเรียนบอกว่าจะนำ นวัตกรรมชิ้นงานในรูปแบบแผ่นพับ ,โปสเตอร์,หนังสือเล่มเล็ก,กรอบภาพอินโฟกราฟฟิกและการแต่งเพลงร้อง เพลง นำแผ่นพับ ,โปสเตอร์,หนังสือเล่มเล็ก,กรอบภาพอินโฟกราฟฟิกไปแจกในชุมชนเช่นที่วัด,ที่การประชุม หมู่บ้าน,ที่ตลาดใกล้บ้านและแจกเพื่อนพี่,น้องนักเรียนในโรงเรียนโกสัมพีวิทยาและการร้องเพลงนำเสนอ เผยแพร่ผ่านช่องทางYoutube,Facebookและร้องเพลงในงานกิจกรรมต่างๆที่ทางโรงเรียนจัดขึ้นเช่นงานวัน โลกวิชาการโรงเรียนโกสัมพีวิทยา ๑๕. ประเมินการทำใบงาน ๑ เรื่อง การปฏิบัติตนต่อพระสงฆ์ และทำใบงานที่ ๒ เรื่อง เรียนรู้วิธีต้อนรับตามหลักปฏิสันถาร ๒ ในขั้น Gathering ๑๖. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันประเมิน นวัตกรรมชิ้นงาน (โปสเตอร์ อินโฟกราฟฟิก แผ่นพับและการ แต่งเพลงร้องเพลง) ของเพื่อนในแต่ละกลุ่ม ในขั้น Applying 2 ๑๗. ให้นักเรียนประเมินนวัตกรรมชิ้นงานของกลุ่มตนเอง ในขั้น Applying 2 ๑๘. ครูประเมินนวัตกรรมชิ้นงานของนักเรียน ในขั้น Applying 2 ๑๙. นักเรียนนำนวัตกรรมชิ้นงานไปให้ผู้ปกครองประเมินนวัตกรรมชิ้นงานของกลุ่มตนเอง ในขั้น Applying 2 ๒๐. ให้นักเรียนและครูร่วมกันสรุป หลักการ ดังนี้
  • 6. • การปฏิบัติตนที่เหมาะสมต่อพระภิกษุ เป็นการแสดงออกถึง การเคารพต่อพระภิกษุผู้ปฏิบัติดี เป็นการสืบทอดรักษาขนบธรรมเนียม วัฒนธรรมที่ดีงามของไทย โดย ผู้ปฏิบัติจะได้รับคำ ยกย่องชื่นชม ใน ฐานะเป็นพุทธศาสนิกชนที่ดี ๒๑. นักเรียนร่วมกันถอดบทเรียนจากกิจกรรม จากผลการปฏิบัติแสดงบทบาทสมมุติ เรื่อง มารยาท ชาวพุทธเกี่ยวกับการปฏิสันถารที่เหมาะสมต่อพระภิกษุ โดยแบ่งเป็น I learn (สิ่งที่ได้เรียนรู้), I like (สิ่งที่ชอบ ในกิจกรรมนี้), I wish (สิ่งที่คาดหวังในคาบต่อไป) และ I wonder (สิ่งที่สงสัย) ๙. สื่อการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้ ๙.๑. สื่อการเรียนรู้ ๙.๑.๑ วีดิทัศน์เกี่ยวกับการกราบพระสงฆ์ การไหว้พระสงฆ์ https://www.youtube.com/watch?v=f1zKvudI81g ๙.๑.๒ วีดิทัศน์เกี่ยวกับการสนทนากับ พระสงฆ์https://www.youtube.com/watch?v=OPwR_qSlVfE ๙.๑.๓ วีดิทัศน์เกี่ยวกับการลุกขึ้นต้อนรับเมื่อพระสงฆ์เดินมายังสถานที่พิธี https://www.youtube.com/watch?v=0wLT2MYppUQ ๙.๑.๔วีดิทัศน์เกี่ยวกับการปฏิสันถารที่เหมาะสมต่อพระภิกษุสงฆ์ในโอกาสต่างๆ จาก Link ที่ครูส่งให้ https://www.youtube.com/watch?v=Qcz4AtcQ2mg ๙.๑.๕ ใบงานที่ ๑ เรื่อง การปฏิบัติตนต่อพระสงฆ์ ๙.๑.๖ ใบงานที่ ๒ เรื่อง เรียนรู้วิธีต้อนรับตามหลักปฏิสันถาร ๒ ๙.๑.๗ แบบประเมินใบงาน ๙.๑.๘ แบบประเมินการสาธิตการปฏิสันถารที่เหมาะสมต่อพระภิกษุสงฆ์ในโอกาสต่างๆ ๙.๑.๙ แบบประเมินผลการปฏิบัติการแสดงบทบาทสมมุติ ๙.๑.๑๐ แบบประเมินการนำเสนอผลงานเป็นรายกลุ่ม ๙.๑.๑๑ แบบประเมินเจตคติเห็นคุณค่าของมารยาทชาวพุทธและนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้อย่าง เหมาะสม ๙.๑.๑๒ แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ด้านคุณธรรมการมีสติ ปัญญา ปฏิบัติแต่สิ่งที่จะทำให้เกิดผล ดี ๙.๑.๑๓ แบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ๙.๑.๑๔ แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ๙.๑.๑๕ หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. ๕ บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท.จำกัด ๙.๒ แหล่งเรียนรู้ ๙.๒.๑ อินเทอร์เน็ต ๙.๒.๒ การกราบพระสงฆ์ การไหว้พระสงฆ์ https://www.youtube.com/watch?v=f1zKvudI81g
  • 7. ๙.๒.๓ การสนทนากับพระสงฆ์https://www.youtube.com/watch?v=OPwR_qSlVfE ๙.๒.๔ การลุกขึ้นต้อนรับเมื่อพระสงฆ์เดินมายังสถานที่พิธี https://www.youtube.com/watch?v=0wLT2MYppUQ ๙.๒.๕ การปฏิสันถารที่เหมาะสมต่อพระภิกษุสงฆ์ในโอกาสต่างๆ https://www.youtube.com/watch?v=Qcz4AtcQ2mg ๑๐. การวัดผลและประเมินผล วิธีวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์การวัดและประเมินผล ด้านความรู้ (K) 1. ประเมินการตอบคำถาม 2. ประเมินใบงานที่ ๑ และใบงานที่ ๒ 1.แบบประเมินการตอบคำถาม ๒. แบบประเมินใบงาน ๑.ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ ๒.ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) ๑. ประเมินการสาธิตการปฏิสันถารที่ เหมาะสมต่อพระภิกษุสงฆ์ในโอกาส ต่างๆ ๒. ประเมินการปฏิบัติการแสดงบทบาท สมมุติ ๓. ประเมินการนำเสนอผลงานเป็นราย กลุ่ม ๑. แบบประเมินการสาธิตการปฏิสันถาร ที่เหมาะสมต่อพระภิกษุสงฆ์ในโอกาส ต่างๆ ๒. แบบประเมินการปฏิบัติการแสดง บทบาทสมมุติ ๓. แบบประเมินการนำเสนอผลงานเป็น รายกลุ่ม ๑.ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์ ๒.ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์ ๓.นักเรียนต้องมีพฤติกรรมใน แต่ละรายการอย่างน้อยระดับ ๓ ขึ้นไป จำนวน ๔ ใน ๖ รายการ ด้านเจตคติ(A) - ประเมินการเห็นคุณค่าของมารยาท ชาวพุทธและนำไปปฏิบัติใน ชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม -แบบประเมินเจตคติ เห็นคุณค่าของมารยาทชาวพุทธและ นำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้อย่าง เหมาะสม -ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์ ด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม -ประเมินการมีสติ ปัญญา ปฏิบัติแต่สิ่ง ที่จะทำให้เกิดผลดี -แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม การมีสติ ปัญญา ปฏิบัติแต่สิ่งที่จะทำให้ เกิดผลดี ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ ด้านสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ๑. ความสามารถในการคิด ๒. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต -แบบประเมินสมรรถนะสำคัญของ ผู้เรียน ๑. ความสามารถในการคิด -ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ -ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
  • 8. ๒. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒. รักความเป็นไทย -แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒. รักความเป็นไทย -ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ -ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ ๑๑. กิจกรรมเสนอแนะ - ครูให้นักเรียนไปวัดหรือไปร่วมงานศาสนพิธีในโอกาสต่าง ๆ เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติใน สถานการณ์จริงอย่างสม่ำเสมอ
  • 9. ๑๒. บันทึกหลังกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ๑๒.๑ ด้านความรู้ (K) ............................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ด้านทักษะกระบวนการ(P) ........................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ด้านเจตคติ(A) ........................................................................................................................................................... ๑2.๒ ปัญหาอุปสรรค/แนวทางการแก้ไข ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................. ๑๒.๓ ข้อเสนอแนะ ........................................................................................................................................................... ลงชื่อ................................................ครูผู้สอน (นางรุ่งภาณี ปิติยะ) ครู คศ.๓ โรงเรียนโกสัมพีวิทยา .........../............................../...............
  • 10. ใบงานที่ ๑ เรื่อง ฝึกปฏิบัติมารยาทชาวพุทธ คำชี้แจง ศึกษามารยาทชาวพุทธในเรื่องต่าง ๆ แล้วทำกิจกรรมที่กำหนดให้ ๑. ดูภาพแล้วอภิปรายตามประเด็นที่กำหนดให้ 1. นักเรียนรู้เรื่องอะไรบ้างเกี่ยวกับ พระสงฆ์ ............................................................... ............................................................... ............................................................... ............................................................... ............................................................... .. 2. พระสงฆ์กับนักเรียนมีความสัมพันธ์ กันบ้างหรือไม่อย่างไร ............................................................... ............................................................... ............................................................... ............................................................... ............................................................... ............................................................... 3. นักเรียนควรปฏิบัติตนต่อพระสงฆ์อย่างไร ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ....
  • 11. เฉลยใบงานที่ ๑ เรื่อง ฝึกปฏิบัติมารยาทชาวพุทธ คำชี้แจง ศึกษามารยาทชาวพุทธในเรื่องต่าง ๆ แล้วทำกิจกรรมที่กำหนดให้ ๑. ดูภาพแล้วอภิปรายตามประเด็นที่กำหนดให้ 1. นักเรียนรู้เรื่องอะไรบ้างเกี่ยวกับ พระสงฆ์ แนวคำตอบพระสงฆ์เป็นผู้ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ ปฏิบัติถูกต้องตามพระธรรม วินัย และเป็นศาสนทายาทผู้สืบทอด พระพุทธศาสนา รักษาศีล 227 อาศัย อยู่ในวัดหรือปฏิบัติอยู่ตามป่าเขา 2. พระสงฆ์กับนักเรียนมีความสัมพันธ์ กันบ้างหรือไม่อย่างไร แนวคำตอบสัมพันธ์กันในฐานะที่เป็น ชาวพุทธโดยพระสงฆ์ถือว่าเป็นปฏิคาหก ผู้สมควรรับสิ่งของที่นักเรียนนำมาถวาย หรือเป็นพระนักเทศน์และพระวิทยากร ที่นำหลักธรรมคำสั่งสอนทาง พระพุทธศาสนามาสั่งสอนเรา 3. นักเรียนควรปฏิบัติตนต่อพระสงฆ์อย่างไร แนวคำตอบ ควรปฏิบัติต่อพระสงฆ์ให้ถูกต้องเหมาะสมทั้งทางกาย ทางวาจา และ ทางใจที่ประกอบด้วยเมตตา
  • 12. ใบงานที่ ๒ เรื่อง เรียนรู้วิธีต้อนรับตามหลักปฏิสันถาร ๒ คำชี้แจง สรุปวิธีปฏิบัติตนในการตักบาตรและหลักการประเคนของถวายพระ ................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ชื่อ..............................................................นามสกุล..........................................เลขที่................. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕/..........โรงเรียนโกสัมพีวิทยา
  • 13. เฉลยใบงานที่ ๒ เรื่อง เรียนรู้วิธีต้อนรับตามหลักปฏิสันถาร ๒ คำชี้แจง สรุปวิธีปฏิบัติตนในการตักบาตรและหลักการประเคนของถวายพระ แนวคำตอบ ๑. วิธีปฏิบัติตนในการตักบาตรมีดังนี้ ๑) ผู้ตักบาตรควรทำความสะอาดร่างกายและแต่งกายให้เรียบร้อย ๒) ควรจัดเตรียมอาหารคาวหวานตามอัตภาพ ตามคติชาวพุทธนิยมนำส่วนที่เลิศ เช่น ข้าวแกงที่ยัง ไม่ได้ตักไปเพื่อประโยชน์อย่างอื่นที่เรียกกันว่า ข้าวปากหม้อ แกงปากหม้อ นำไปตักบาตรหรือถวายพระก่อน ซึ่งถือเป็นการแสดงความเคารพบูชาพระสงฆ์วิธีหนึ่ง ๓) เมื่อพระสงฆ์เดินผ่านมาควรนิมนต์ท่าน ควรถอดรองเท้าและไหว้ท่านก่อนตักบาตร ๔) ขณะที่ตักพึงระมัดระวังกิริยามารยาทให้เรียบร้อย ไม่ชวนท่านพูดคุยหรือซักถามเรื่องอาหารว่าชอบ หรือไม่ หรือต้องการอาหารชนิดใด ๕) หากมีการถวายดอกไม้และธูปเทียน ถ้าเป็นผู้ชายให้ส่งด้วยมือได้โดยตรง ถ้าเป็นผู้หญิงต้องรอให้ท่าน ปิดฝาบาตรก่อน แล้วจึงวางดอกไม้และธูปเทียนบนฝาบาตร ๖) เมื่อตักบาตรเสร็จควรแสดงความเคารพท่านด้ไหว้อีกครั้งหนึ่ง ๒. หลักการประเคนถวายของพระ ประเคนของพระ คือ ถวายสิ่งของแด่พระสงฆ์ด้วยกิริยาอาการอ่อนน้อม ซึ่งเป็นการแสดงออกถึงความ เลื่อมใสศรัทธา ๑) สิ่งของที่ควรประเคน ได้แก่ เครื่องรับรองพระสงฆ์ เครื่องไทยธรรม ภัตตาหาร ๒) ในการประเคนวินัยของพระสงฆ์ได้บัญญัติไว้ว่า ผู้ประเคนต้องอยู่ห่างจากพระสงฆ์ประมาณ ๑ ศอก ขณะที่ประเคนต้องน้อมสิ่งของให้พระสงฆ์ด้วยอาการที่เคารพ หากเป็นผู้ชายประเคนด้วยมือได้ หากเป็นผู้หญิง ให้นำสิ่งของวางบนผ้าหรือภาชนะที่พระท่านทอดรับ ชื่อ..............................................................นามสกุล..........................................เลขที่................. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕/..........โรงเรียนโกสัมพีวิทยา
  • 14. แบบประเมินการตอบคำถาม เรื่อง...................................................................... ชื่อ..........................................................สกุล.....................................................ชั้น...........เลขที่.......... รายการประเมิน ดี (๓) พอใช้ (๒) ปรับปรุง (๑) ๑. การคิดวิเคราะห์ ๒. การตอบคำถามสื่อความ ๓. มีความคิดสร้างสรรค์ ๔. ประโยชน์ของการนำข้อมูลไปใช้ คะแนน ๑๒ คะแนน ได้.................คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน - การคิดวิเคราะห์ ๓ คะแนน = มีการจับประเด็นสำคัญ ขยายความ ยกตัวอย่าง เปรียบเทียบและสรุปความคิดรวบยอด ได้ดี ๒ คะแนน = มีการจับประเด็นสำคัญได้ แต่ขยายความหรือยกตัวอย่างไม่ได้ ๑ คะแนน = มีการจับประเด็นสำคัญได้น้อย - การเขียนสื่อความ ๓ คะแนน = ตอบสื่อความได้ถูกต้องตามอักขรวิธี ตรงประเด็นและ เข้าใจง่าย ๒ คะแนน = ตอบสื่อความไม่ถูกต้องตามอักขรวิธี ๒-๓ แห่ง ตรงประเด็น ๑ คะแนน = ตอบสื่อความได้น้อย ไม่ตรงประเด็น - มีความคิดสร้างสรรค์ ๓ คะแนน = ผลงานมีรูปแบบน่าสนใจ มีความสัมพันธ์กับหัวข้อที่กำหนด ระบายสีได้สวยงาม ๒ คะแนน = ผลงานมีความสัมพันธ์กับหัวข้อที่กำหนด แต่ไม่ดึงดูดความสนใจ ๑ คะแนน = ผลงานมีความสัมพันธ์กับหัวข้อที่กำหนดน้อยมาก
  • 15. - ประโยชน์ของการนำข้อมูลไปใช้ ๓ คะแนน = สามารถนำไปประยุกต์กับสถานการณ์ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม ๒ คะแนน = สามารถนำไปประยุกต์กับสถานการณ์ในชีวิตประจำวันได้บ้าง ๑ คะแนน = สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้น้อยมาก การประเมินผล คะแนน ๑๒ - ๙ = ดี (๓) คะแนน ๘ - ๕ = พอใช้ (๒) คะแนน ๔ - ๐ = ควรปรับปรุง (๑) เกณฑ์การตัดสินใบงาน ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์ ลงชื่อผู้ประเมิน................................................... ครู นักเรียน เพื่อนนักเรียน
  • 16. แบบประเมินใบงาน เรื่อง...................................................................... ชื่อ..........................................................สกุล.....................................................ชั้น...........เลขที่.......... รายการประเมิน ดี (๓) พอใช้ (๒) ปรับปรุง (๑) ๑. การคิดวิเคราะห์ ๒. การเขียนสื่อความ ๓. มีความคิดสร้างสรรค์ ๔. ประโยชน์ของการนำข้อมูลไปใช้ คะแนน ๑๒ คะแนน ได้.................คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน - การคิดวิเคราะห์ ๓ คะแนน = มีการจับประเด็นสำคัญ ขยายความ ยกตัวอย่าง เปรียบเทียบและสรุปความคิดรวบยอด ได้ดี ๒ คะแนน = มีการจับประเด็นสำคัญได้ แต่ขยายความหรือยกตัวอย่างไม่ได้ ๑ คะแนน = มีการจับประเด็นสำคัญได้น้อย - การเขียนสื่อความ ๓ คะแนน = เขียนสื่อความได้ถูกต้องตามอักขรวิธี ตรงประเด็นและ เข้าใจง่าย ๒ คะแนน = เขียนสื่อความไม่ถูกต้องตามอักขรวิธี ๒-๓ แห่ง ตรงประเด็น ๑ คะแนน = เขียนสื่อความได้น้อย ไม่ตรงประเด็น - มีความคิดสร้างสรรค์ ๓ คะแนน = ผลงานมีรูปแบบน่าสนใจ มีความสัมพันธ์กับหัวข้อที่กำหนด ระบายสีได้สวยงาม ๒ คะแนน = ผลงานมีความสัมพันธ์กับหัวข้อที่กำหนด แต่ไม่ดึงดูดความสนใจ ๑ คะแนน = ผลงานมีความสัมพันธ์กับหัวข้อที่กำหนดน้อยมาก - ประโยชน์ของการนำข้อมูลไปใช้ ๓ คะแนน = สามารถนำไปประยุกต์กับสถานการณ์ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม ๒ คะแนน = สามารถนำไปประยุกต์กับสถานการณ์ในชีวิตประจำวันได้บ้าง ๑ คะแนน = สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้น้อยมาก การประเมินผล คะแนน ๑๒ - ๙ = ดี (ระดับคุณภาพ ๓) คะแนน ๘ - ๕ = พอใช้ (ระดับคุณภาพ ๒) คะแนน ๔ - ๐ = ควรปรับปรุง (ระดับคุณภาพ ๑) เกณฑ์การตัดสินใบงาน ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
  • 18. แบบประเมินการสาธิตการปฏิสันถารที่เหมาะสมต่อพระภิกษุสงฆ์ในโอกาสต่างๆ รายการประเมิน คะแนน ระดับการฝึกปฏิบัติ ข้อเสนอแนะ ๓ ๒ ๑ ๑. การไปพบพระสงฆ์ ๒. การลุกขึ้นต้อนรับพระสงฆ์ ๓. การให้ที่นั่งแก่พระสงฆ์ ๔. การตามส่งพระสงฆ์ ๕. การหลีกทางให้พระสงฆ์ กรณีท่านเดินสวนทางมา ๖. การเดินตามหลังพระสงฆ์ ๗. การเดินผ่านพระสงฆ์ กรณีท่ายืนอยู่ ๘. การเดินผ่านพระสงฆ์ กรณีท่านนั่งอยู่กับพื้น ๙. การสนทนากับพระสงฆ์ ๑๐. การใช้คำพูดกับพระสงฆ์ คะแนนรวม คะแนนเฉลี่ย
  • 19. การประเมินผล คะแนน ๓๐-๒๕ = ดี (ระดับคุณภาพ ๓) คะแนน ๒๔-๑๖ = พอใช้ (ระดับคุณภาพ ๒) คะแนน ๑๕-๐ = ควรปรับปรุง (ระดับคุณภาพ ๑) เกณฑ์การตัดสิน ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์ ลงชื่อผู้ประเมิน................................................... ครู นักเรียน เพื่อนนักเรียน
  • 20. แบบประเมินผลการปฏิบัติการแสดงบทบาทสมมุติ รายการปฏิบัติ ระดับการปฏิบัติ ๓ ๒ ๑ ๑. การลุกขึ้นต้อนรับ ๒. การให้ที่นั่งพระภิกษุ ๓. การรับของจากพระภิกษุ ๔. การเข้าพบพระภิกษุ ๕. การประเคนของพระภิกษุ ๖. การปฏิสันถารเมื่อพบพระภิกษุในที่สาธารณะ รวม เกณฑ์การประเมิน ๑๘-๑๕ นักเรียนอยู่ในระดับ ดี (ระดับคุณภาพ ๓) ๑๔-๑๐ นักเรียนอยู่ในระดับ พอใช้ (ระดับคุณภาพ ๒) ๙-๐ นักเรียนอยู่ในระดับควรปรับปรุง (ระดับคุณภาพ ๑) เกณฑ์การตัดสิน ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์ ลงชื่อผู้ประเมิน................................................... จากนั้นให้นักเรียนตรวจสอบว่ามีแนวทางการปฏิบัติใดที่ตนเองควรปรับปรุงแก้ไข และประเมินตนเอง ว่านักเรียนจะนำ แนวทางการปฏิบัติดังกล่าวไปปฏิบัติในชีวิตประจำ วันหรือไม่ อย่างไร ครู นักเรียน เพื่อนนักเรียน
  • 21. แบบประเมินการนำเสนอผลงานกลุ่มที่............ คำชี้แจง : ประเมินการนำเสนอผลงานของนักเรียนตามรายการที่กำหนด แล้วขีด ✓ ลงในช่องที่ ตรงกับระดับคะแนน ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ นำเสนอผลงานที่มีเนื้อหาสาระ ครบถ้วนตรงตามประเด็น 2 นำเสนอผลงานที่มีความถูกต้อง ของเนื้อหาสาระ 3 การนำเสนอใช้ภาษาถูกต้อง เหมาะสม 4 เนื้อหาสาระมีการค้นคว้าจากแหล่ง เรียนรู้ที่หลากหลาย 5 รูปแบบการนำเสนอน่าสนใจ ๖ ปรับปรุง และแสดงความรู้สึกต่อ ชิ้นงาน รวม ลงชื่อ.................................................... ผู้ประเมิน ................ /................ /................ เกณฑ์การประเมิน ๑. การให้คะแนน ✓ ให้ ๑ คะแนน ๒. การสรุปผลการประเมินให้เป็นระดับคุณภาพ ๔, ๓, ๒,๑ กำหนดเกณฑ์ได้ตามความเหมาะสม หรืออาจใช้เกณฑ์ดังนี้ ๙–๑๐ คะแนน = ๔ (ดีมาก) ๗–๘ คะแนน = ๓ (ดี) ๕–๖ คะแนน = ๒ (พอใช้) ๐–๔ คะแนน = ๑ (ควรปรับปรุง) เกณฑ์การประเมิน แยกตามองค์ประกอบย่อย ๖ ด้าน
  • 22. รายการที่ ๑ เนื้อหาสาระครบถ้วนตรงตามประเด็น ๔ หมายถึง มีเนื้อหาสาระครบถ้วนตามประเด็นที่กำหนดทั้งหมด ๓ หมายถึง มีเนื้อหาสาระค่อนข้างครบถ้วนตามประเด็นที่กำหนดทั้งหมด ๒ หมายถึง มีเนื้อหาสาระไม่ครบถ้วนตามประเด็นแต่ภาพรวมของสาระทั้งหมดอยู่ในเกณฑ์พอใช้ ๑ หมายถึง มีเนื้อหาสาระไม่ครบถ้วน ภาพรวมของสาระทั้งหมดอยู่ในเกณฑ์ต้องปรับปรุง รายการที่ ๒ ความถูกต้องของเนื้อหาสาระ ๔ หมายถึง เนื้อหาสาระทั้งหมดถูกต้องตามข้อเท็จจริงและหลักวิชา ๓ หมายถึง เนื้อหาสาระเกือบทั้งหมดถูกต้องตามข้อเท็จจริงและหลักวิชา ๒ หมายถึง เนื้อหาสาระบางส่วนถูกต้องตามข้อเท็จจริงและหลักวิชาต้องแก้ไขบางส่วน ๑ หมายถึง เนื้อหาสาระส่วนใหญ่ไม่ถูกต้องตามข้อเท็จจริง หลักวิชาต้องแก้ไขเป็นส่วนใหญ่ รายการที่ ๓ ภาษาถูกต้องเหมาะสม ๔ หมายถึง สะกด การันต์ถูกต้อง ถ้อยคำสำนวนเหมาะสมดีมาก ลำดับความได้ชัดเจนเข้าใจง่าย ๓ หมายถึง สะกด การันต์ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ถ้อยคำสำนวนเหมาะสมดี ลำดับความได้ดีพอใช้ ๒ หมายถึง สะกด การันต์มีผิดอยู่บ้าง ถ้อยคำสำนวนเหมาะสมพอใช้ ลำดับความพอเข้าใจ ๑ หมายถึง สะกด การันต์ผิดมาก ถ้อยคำสำนวนไม่เหมาะสม สำดับความได้ไม่ชัดเจน รายการที่ ๔ ค้นคว้าจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ๔ หมายถึง ค้นคว้าจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายตั้งแต่ ๔ แหล่งขึ้นไป ๓ หมายถึง ค้นคว้าจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายตั้งแต่ ๓ แหล่งขึ้นไป ๒ หมายถึง ค้นคว้าจากแหล่งเรียนรู้ ๒ แหล่ง ๑ หมายถึง ใช้ความรู้เพียงแหล่งเรียนรู้เดียว รายการที่ ๕ รูปแบบการนำเสนอน่าสนใจ ๔ หมายถึง รูปแบบการนำเสนองานแปลกใหม่ น่าสนใจดี ลำดับเรื่องราวได้ดีมาก ๓ หมายถึง รูปแบบการนำเสนองานน่าสนใจ ลำดับเรื่องราวได้ดี ๒ หมายถึง รูปแบบการนำเสนองานน่าสนใจพอใช้ ลำดับเรื่องราวได้พอใช้ ๑ หมายถึง รูปแบบการนำเสนอผลงานไม่น่าสนใจ ลำดับเรื่องราวได้ไม่ดี รายการที่ ๖ ประเมิน ปรับปรุง และแสดงความรู้สึกต่อชิ้นงาน ๔ หมายถึง วิเคราะห์ข้อเด่น ข้อด้อยของงานได้ชัดเจน ปรับปรุงพัฒนางานได้เหมาะสม และแสดง ความรู้สึกต่องานทั้งกระบวนการทำงานและผลงานได้อย่างชัดเจน ๓ หมายถึง วิเคราะห์ข้อเด่น ข้อด้อยของงานได้บางส่วน ปรับปรุงพัฒนางานได้บ้าง แสดงความรู้สึกต่อ งานได้แต่ไม่ครบถ้วน ๒ หมายถึง วิเคราะห์ข้อเด่น ข้อด้อยของงานได้เล็กน้อย ปรับปรุงพัฒนางานด้วยตนเองไม่ได้ต้องได้รับ คำแนะนำจากผู้อื่น แสดงความรู้สึกต่องานได้แต่ไม่ครบถ้วน
  • 23. ๑ หมายถึง วิเคราะห์ข้อเด่น ข้อด้อยของงานไม่ได้ ไม่ปรับปรุงพัฒนางาน แสดงความรู้สึกต่องานได้ เล็กน้อยหรือไม่แสดงความรู้สึกต่องาน เกณฑ์การตัดสินผลการเรียน นักเรียนต้องมีพฤติกรรมในแต่ละรายการอย่างน้อยระดับ ๓ ขึ้นไป จำนวน ๔ ใน ๖ รายการ ลงชื่อ ........................................... ผู้ประเมิน (นางรุ่งภาณี ปิติยะ) ............/................................/.................
  • 25. ๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๖ ๒๗ ๒๘ ๒๙ เกณฑ์การประเมินเจตคติเห็นคุณค่าของมารยาทชาวพุทธและนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม รายการประเมิน คำอธิบายคุณภาพ ๓ คะแนน ๒ คะแนน ๑ คะแนน ๑. เห็นคุณค่าของมารยาท ชาวพุทธและนำไปปฏิบัติ ในชีวิตประจำวันได้อย่าง เหมาะสม ทุกครั้งเห็นคุณค่าของ มารยาทชาวพุทธและ นำไปปฏิบัติใน ชีวิตประจำวันได้อย่าง เหมาะสม เห็นคุณค่าของมารยาท ชาวพุทธและนำไป ปฏิบัติใน ชีวิตประจำวันได้อย่าง เหมาะสมเป็นส่วนใหญ่ เห็นคุณค่าของมารยาท ชาวพุทธและนำไป ปฏิบัติใน ชีวิตประจำวันได้อย่าง เหมาะสมเป็นบางครั้ง เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน ๓ คือ ดี (ระดับคุณภาพ ๓) คะแนน ๒ คือ ปานกลาง (ระดับคุณภาพ ๒) คะแนน ๑ คือ ปรับปรุง (ระดับคุณภาพ ๑) เกณฑ์การตัดสินผ่าน ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์ ลงชื่อ..............................................ผู้ประเมิน (.............................................)
  • 26. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ด้านคุณธรรมการมีสติ ปัญญา ปฏิบัติแต่สิ่งที่จะทำให้เกิดผลดี ลำดับที่ ชื่อ-สกุล รายการ รวม คุณธรรมการมีสติ ปัญญา ปฏิบัติแต่สิ่งที่จะทำให้ เกิดผลดี ๓ ๒ ๑ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐
  • 27. ๒๑ ๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๖ ๒๗ ๒๘ ๒๙ เกณฑ์การประเมินคุณธรรม จริยธรรม ด้านคุณธรรมการมีสติ ปัญญา ปฏิบัติแต่สิ่งที่จะทำให้เกิดผลดี รายการประเมิน คำอธิบายคุณภาพ ๓ คะแนน ๒ คะแนน ๑ คะแนน ๑. คุณธรรมการมีสติ ปัญญา ปฏิบัติแต่สิ่งที่จะ ทำให้เกิดผลดี ทุกครั้งสามารถปฏิบัติแต่ สิ่งที่ดีมีประโยชน์อยู่ เสมอ สามารถปฏิบัติแต่สิ่งที่ดี มีประโยชน์ได้เป็นส่วน ใหญ่ สามารถปฏิบัติแต่สิ่งที่ดี มีประโยชน์ได้เป็น บางครั้ง เกณฑ์การประเมิน คะแนน ๓ หมายถึง ดี (ระดับคุณภาพ ๓) คะแนน ๒ หมายถึง ปานกลาง (ระดับคุณภาพ ๒) คะแนน ๑ หมายถึง ปรับปรุง (ระดับคุณภาพ ๑) เกณฑ์การตัดสินผ่าน ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์ ลงชื่อ ………………………………………. ผู้ประเมิน ( ………………………………………………)
  • 28. แบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ชื่อ-สกุลนักเรียน.....................................................................ห้อง..............................เลขที่……. คำชี้แจง : ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ ลงในช่องว่าง ที่ตรงกับระดับคะแนน สมรรถนะที่ประเมิน ระดับคะแนน ๓ ๒ ๑ ๑. ความสามารถในการคิด ๑.๑ มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ๑.๒ มีความสามารถในการสร้างองค์ความรู้ ๒. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ๒.๑ เรียนรู้ด้วยตนเองได้เหมาะสมตามวัย ๒.๒ สามารถทำงานกลุ่มร่วมกับผู้อื่นได้ ๒.๓ นำความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน ๒.๔ จัดการแก้ปัญหาและความขัดแย้งได้เหมาะสม ๒.๕ หลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเอง ๓ หมายถึงนักเรียนแสดงพฤติกรรมนั้นอย่างสม่ำเสมอ ๒ หมายถึงนักเรียนแสดงพฤติกรรมนั้น เป็นครั้งคราว ๑ หมายถึงนักเรียนแสดงพฤติกรรมนั้นน้อยครั้ง หมายเหตุ การหาคะแนนเฉลี่ยหาได้จากการนำเอาคะแนนรวมในแต่ละช่องมาบวกกัน แล้วหารด้วย จำนวนข้อ จากนั้นนำคะแนนเฉลี่ย ที่ได้มาเทียบกับเกณฑ์การตัดสินคุณภาพและสรุปผลการประเมิน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนนเฉลี่ย ๒.๓๔–๓.๐๐ ๑.๖๗–๒.๓๓ ๑.๐๐–๑.๖๖ ระดับคุณภาพ ๓ = ดีมาก, ดี ๒ = พอใช้ ๑ = ควรปรับปรุง สรุปผลการประเมิน (เขียนเครื่องหมาย ✓ ลงใน ) ระดับคุณภาพที่ได้ ๓ ๒ ๑   
  • 29. เกณฑ์การตัดสินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์ ลงชื่อ ………………………………………. ผู้ประเมิน ( ………………………………………………)
  • 30. แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ชื่อ-สกุลนักเรียน.....................................................................ห้อง..............................เลขที่……. คำชี้แจง : สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ ลงในช่องว่างที่ตรง กับระดับคะแนน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ด้าน รายการประเมิน ระดับคะแนน ๓ ๒ ๑ ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๑.๑ ยืนตรงเมื่อได้ยินเพลงชาติ ร้อง เพลงชาติได้ และบอกความหมาย ของเพลงชาติ ๑.๒ ปฏิบัติตนตามสิทธิและหน้าที่ ของนักเรียน ให้ความร่วมมือ ร่วม ใจในการทำงานกับสมาชิกใน ห้องเรียน ๑.๓ เข้าร่วมกิจกรรมที่สร้างความ สามัคคี ปรองดอง และเป็น ประโยชน์ต่อโรงเรียนและชุมชน ๑.๔ เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาที่ ตนนับถือ ปฏิบัติตนตามหลักของ ศาสนาและเป็นตัวอย่างที่ดีของ ศาสนิกชน ๑.๕ เข้าร่วมกิจกรรมและมีส่วน ร่วมในการจัดกิจกรรมที่เกี่ยวกับ สถาบันพระมหากษัตริย์ตามที่ โรงเรียนและชุมชนจัดขึ้น ชื่นชม ในพระราชกรณียกิจพระปรีชา สามารถของพระมหากษัตริย์ และพระราชวงศ์
  • 31. ๒. รักความเป็น ไทย ๒.๑ มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์ วัฒนธรรมและ ภูมิปัญญาไทย ๒.๒ เห็นคุณค่าและปฏิบัติตน ตามวัฒนธรรมไทย ๓ หมายถึงนักเรียนแสดงพฤติกรรมนั้นอย่างสม่ำเสมอ ๒ หมายถึงนักเรียนแสดงพฤติกรรมนั้น เป็นครั้งคราว ๑ หมายถึงนักเรียนแสดงพฤติกรรมนั้นน้อยครั้ง หมายเหตุ การหาคะแนนเฉลี่ยหาได้จากการนำเอาคะแนนรวมในแต่ละช่องมาบวกกัน แล้วหารด้วย จำนวนข้อ จากนั้นนำคะแนนเฉลี่ย ที่ได้มาเทียบกับเกณฑ์การตัดสินคุณภาพและสรุปผลการประเมิน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วง คะแนนเฉลี่ย ๒.๓๔ –๓.๐๐ ๑.๖ ๗–๒.๓๓ ๑.๐๐– ๑.๖๖ ระดับ คุณภาพ ๓ = ดี มาก, ดี ๒ = พอใช้ ๑ = ควร ปรับปรุง สรุปผลการประเมิน (เขียนเครื่องหมาย ✓ ลงใน ) ระดับคุณภาพที่ได้ ๓ ๒ ๑    เกณฑ์การตัดสินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์ ลงชื่อ ………………………………………. ผู้ประเมิน ( ………………………………………………)