SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
Download to read offline
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต:
อุปสรรคกลไกนโยบาย และทางออก
ศาสตราจารย์กิตติคุณ เดชา บุญค้า
ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (ภูมิสถาปัตยกรรม)
ประธานคณะอนุกรรมาธิการวิสามัญศึกษานโยบาย กฎหมาย และโครงสร้างหน่วยงานการตั้งถิ่นฐานและ
การผังเมือง วุฒิสภา
ผู้เขียน ศาสตราจารย์กิตติคุณ เดชา บุญค้า
บรรณาธิการบริหาร : นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล
บรรณาธิการวิชาการ : นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล
ผู้ถอดความ : นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง
กองบรรณาธิการ : นายฮากีม ผูหาดา, นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง, นายอรุณ สถิตพงศ์สถาพร,นายฮาพีฟี สะมะแอ
ปก : นายอรุณ สถิตพงศ์สถาพร
รูปเล่ม : นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง
ปีที่เผยแพร่ : มิถุนายน พ.ศ. 2558
ผู้เผยแพร่ : ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับมูลนิธิสถาบันสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ (CPWI)
ภายใต้แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง
ผู้สนับสนุน : สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
สารบัญ
ตอนที่ 1
1. ปัญหาภัยธรรมชาติ : น้าท่วมเมือง 1
2. สาเหตุ “น้าท่วมเมือง” ที่แท้จริง 1
3. สาเหตุอื่นๆ ที่ส่งผลต่อน้าท่วมเมือง 2
4. วิธีป้องกันและแก้ไขปัญหา 15
5. ข้อเสนอเชิงนโยบาย : ธรรมนูญการผังเมือง 16
ตอนที่ 2
1. ตัวอย่างเมือง 18
2. การแลกเปลี่ยนความคิด 23
1
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต:
อุปสรรคกลไกนโยบายและทางออก
ศาสตราจารย์กิตติคุณ เดชา บุญค้า1
ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (ภูมิสถาปัตยกรรม)
ประธานคณะอนุกรรมาธิการวิสามัญศึกษานโยบาย กฎหมาย และโครงสร้างหน่วยงานการตั้งถิ่นฐานและ
การผังเมือง วุฒิสภา
ตลอดที่ผ่านมา เรื่องการปฏิรูประบบการผังเมือง เป็นเรื่องที่หลายคนเสนอให้แก้ไข แต่ไม่สามารถ
สร้างความสนใจให้แก่ผู้มีอานาจได้ และส่วนใหญ่ยังคงเป็นตัวหนังสือเท่านั้น ซึ่งการจัดการเรื่องผังเมืองมี
อุปสรรคทางนโยบาย และกลไกที่ต้องก้าวข้าม แต่แท้จริงแล้ว เรื่องผังเมืองเป็นเรื่องที่มีทางออกและมี
ข้อเสนอเชิงนโยบายที่จะแก้ปัญหาได้ โดยจะนาเสนอในลาดับต่อไป
ตอนที่ 1
1. ปัญหาภัยธรรมชาติ : น้าท่วมเมือง
ต้นตอของปัญหาความทุกข์ร้อน ต้นตอของการผังเมือง ที่เป็นแทบทุกเมืองที่กาลังเผชิญอยู่นอกจาก
ปัญหาสังคม คือ ปัญหาเรื่องภัยธรรมชาติ การละเมิดธรรมชาติ รวมไปถึงปัญหามากมายในเชิงพื้นที่ ที่เห็น
ภาพชัดเจนที่สุดคือ น้าท่วมใหญ่ ปี พ.ศ. 2554 ทั้งภาคกลางและกรุงเทพมหานคร เสียหายหลายแสนล้าน ที่
กลายเป็นปัญหาเช่นนี้ส่วนหนึ่งเกิดจากการใช้ที่ดินผิดประเภท จากเมื่อก่อนที่พื้นที่เป็นนาข้าว หากมีน้า
ท่วม เสียหายไม่มาก ชดเชยไม่กี่ล้านบาท แต่เมื่อเปลี่ยนเป็นนิคมอุตสาหกรรม เสียหายมากกว่ามาก แสดง
ให้เห็นถึงการใช้ที่ดินผิดประเภท และไม่มีการวางแผนการใช้ที่ดินมาก่อน
2. สาเหตุ “น้าท่วมเมือง” ที่แท้จริง
สาเหตุ “น้าท่วมเมือง ที่แท้จริงเกิดจากการขยายเมืองลงที่ลุ่มที่น้าท่วมถึง ถ้าไม่มีเมืองก็ไม่ท่วม
เมือง เราสร้างเมืองไปอยู่ในที่ลุ่ม อาจเพราะเป็นสังคมเกษตรกรรม จึงทาให้พื้นที่เล็กๆ ขยายเป็นเมือง จน
1 1
ถอดความจากการประชุมเวทีวิชาการ เรื่อง “ทางออกในการพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรคทางนโยบายและกลไกที่ต้องก้าวข้าม”
เมื่อวันจันทร์ ที่ 18 พฤษภาคม 2558 ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ ระหว่างเวลา 14.00 – 17.00 น จัดโดยแผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการ
พัฒนาอนาคตของเมือง ภายใต้ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับมูลนิธิสถาบันสร้างสรรค์ปัญญา
สาธารณะ โดยการสนับสนุนของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
2
เกินขีดความสามารถในการรองรับตามธรรมชาติของพื้นที่ วิธีป้องกันที่ยั่งยืนเรื่องน้าท่วม คือ การหยุด
ขยายเมืองในที่ลุ่ม แล้วหาพื้นที่ใหม่ที่น้าไม่ท่วม ปลอดจากภัยพิบัติ และมีดินที่ไม่เหมาะกับการเกษตร
ดินเสีย เพื่อไว้สาหรับสร้างเมือง ที่ยังเหลือ 350 ล้านไร่(ดินเสีย) ในประเทศ ซึ่งจะต้องวางแผน ตั้งแต่มห
ภาคสู่จุลภาค จากธรรมชาติสู่สิ่งมนุษย์สร้าง ดังนั้น ในเชิงของ การวางแผนเชิงพื้นที่ การวางแผนภูมิทัศน์
ขนาดใหญ่จึงเป็นกระบวนการขั้นต้น ซึ่งประเทศไทยไม่เคยนามาใช้เลย โดยเมื่อใช้คาว่าการวางแผนภูมิ
ทัศน์ คนส่วนใหญ่เข้าใจผิด ว่าการวางแผนภูมิทัศน์หมายถึงการจัดสวนหย่อม แต่แท้จริงแล้ว หมายรวมไป
ถึงการศึกษาภูมิสัณฐาน ธรรมชาติของผืนแผ่นดิน แม่น้าด้วย
3. สาเหตุอื่นๆ ที่ส่งผลต่อน้าท่วมเมือง
3.1.ขาดการวางแผนเชิงพื้นที่
การวางแผนเชิงพื้นที่อย่างระมัดระวัง สามารถหลีกเลี่ยงปัญหาจากภัยธรรมชาติได้ผลดีที่สุด
ปัจจุบันความรู้และเทคโนโลยีใหม่ด้านภูมิศาสตร์สารสนเทศ มีครบถ้วน มีหน่วยงานครบถ้วน เอื้อให้การ
วางแผนเชิงพื้นที่มีค่าใช้จ่ายที่ถูกกว่าเดิมมาก จากเมื่อก่อนต้องทาสีไว้ตรงโฉนด ปัจจุบันแค่เข้า Google
สามารถทาแผนที่ออกมาได้ง่ายๆ แต่ประเทศไทยยังไม่ได้นามาใช้อย่างจริงจัง ในกระบวนวางผัง หรือทา
เกี่ยวกับแผนเรื่องผังเมือง
ส่วนหนึ่งที่ยังไม่สามารถนามาใช้ได้อย่างจริงจัง เป็นเพราะมีอุปสรรค คือ เนื่องจากไม่มีการวางแผน
ภาคเชิงพื้นที่ที่ถูกต้องเพื่อบังคับใช้อย่างเป็นทางการสาหรับใช้ในการทา “ผังพัฒนา” ที่สอดคล้องและตอบ
รับกับธรรมชาติและวัฒนธรรม เพื่อใช้เป็นผังแม่บทแก่ผังเมืองท้องถิ่น ประเทศไทยยังขาดตัวเชื่อมโยง
ระหว่าง “แผนผังเมืองระดับชาติ” และระดับท้องถิ่น ซึ่งปัจจุบันมีแต่จังหวัด เช่น กรุงเทพฯ เชียงใหม่ เป็นต้น
เป็นปัญหาเชิงระบบ กลไกและกระบวนการวางผังเมือง ซึ่งเป็นตัวถ่วงสาคัญต่อการพัฒนาเมือง ที่นาไปสู่
ความยั่งยืน ซึ่งเป็นต่อเนื่องกันมาตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๗๖ โดยมีสาเหตุเกิดจาก
1. การขาดนโยบายการตั้งถิ่นฐานและการผังเมืองระดับชาติที่นาไปสู่อนาคตที่ยั่งยืน เมื่อถูกเสนอเข้า
รัฐสภา ก็ถูกปฏิเสธเสมอ
2. ขาดหน่วยงานนโยบายและแผนเชิงพื้นที่ระดับชาติเพื่อกากับการพัฒนาพื้นที่ ให้สอดคล้องกับ
ธรรมชาติของพื้นที่ เป็นต้นเหตุทาให้เราทุกข์ยากในวันนี้ เพราะการพัฒนาพื้นที่ไม่สอดคล้องกับ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ที่ขัดแย้งต่อเนื่องมามากว่า 50 ปี
3. ปัญหาการออก-ปรับปรุงกฎหมายผังเมือง ทาได้ยากมาก เพราะกฎหมายให้สิทธิ์ส่วนบุคคลเหนือ
สิทธิ์ส่วนรวม) นอกจากฎหมายผังเมือง ไม่สามารถเกิดล่วงหน้าก่อนเกิดปัญหา โดยผังเมืองทา
3
ตามหลังการพัฒนา ซึ่งกลุ่มนักธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ มักซื้อที่ดิน ที่รอให้ผังเมืองหมดอายุเพื่อ
พัฒนาได้ตามใจชอบ หรือบีบให้เปลี่ยน “สี” การใช้ที่ดิน เพิ่มมูลค่าที่ดินได้อีกมาก
4. การเพิ่มประชากรเมือง จากเมื่อสมัยรัชกาลที่ 5 มีไม่ถึง 10% เพิ่มเป็น 15% 35% และในอนาคต
จะเพิ่มขึ้นประมาณ 75% ซึ่งเป็นแนวโน้มของการเกิด Urbanization
5. การประกาศใช้ พ.ร.บ.การกระจายอานาจให้ท้องถิ่น 7,853 แห่ง ซึ่งสามารถวางผังเมืองได้เป็นอิสระ
ซึ่งท้องถิ่นเองก็ไม่เคยวางมาก่อน ทาให้ท้องถิ่นวางไม่เป็น ยิ่งทาให้สถานการณ์ด้านการผังเมือง
เลวร้ายลงในวงกว้างทั่วประเทศ กลายเป็นปัญหาใหญ่ในทุกวันนี้
3.2.การใช้ที่ดินผิดลักษณะธรรมชาติ
การแก้ปัญหาผังเมือง และการแก้ปัญหาอุทกภัยกรุงเทพฯ ที่กล่าวมานั้นได้แบบยั่งยืนได้หรือไม่
คาตอบคือ ไม่มีทางแก้ได้ ทาได้เพียงบรรเทา ทั้งนี้เป็นเพราะว่าน้าหลากท่วมที่ราบลุ่มเป็นธรรมชาติที่มีมา
แต่ดึกดาบรรพ์ ล้านปี แสนปี และจะหลากท่วมต่อไปอีกนับหมื่นนับแสนปี โดยน้ากาลังปฏิบัติหน้าที่ใน
กระบวนการสร้างที่ราบตามธรรมชาติ (รูปที่ 1 ) หากเป็นที่ราบเมื่อไหร่ น้าท่วมแน่นอน ยกเว้นแผ่นดิน
ยกขึ้น ด้วยธรรมชาติพื้นที่แบบนี้ไม่ควรสร้างเมือง แต่ควรให้เป็นพื้นที่เกษตรกรรม แต่ปัจจุบันได้เปลี่ยนเป็น
นิคมอุตสาหกรรมจานวนมาก อีกทั้งจะเห็นว่า กรุงเทพฯ คือ “ก้อน(เมือง)” ขวางทางน้าลงทะเล (รูปที่ 2 )
เมื่อขยายเมืองมากเท่าไหร่ จะทาให้น้าท่วมพื้นที่ตอนบนนานขึ้น แต่ปัญหานี้ไม่มีใครสนใจ ซึ่งจริงๆ แล้ว
กรุงเทพควรจะหยุดการขยายเมืองได้แล้ว
รูปที่ 1 กระบวนการสร้างที่ราบตามธรรมชาติ
4
3.3.การกระจายตัวของประชากร ที่ไม่สมดุล
สาเหตุที่คนไทยสมัยใหม่ต้องทนอยู่ในเมืองที่ลุ่ม โดยเฉพาะกรุงเทพฯ ทั้งนี้เพราะเกิดการกระจาย
ตัวของประชากรที่ไม่สมดุล คือ ผู้คนหลั่งไหลย้ายเข้ามาในกรุงเทพ เพราะเป็นช่องทางในการทางาน และคิด
ว่าหากเข้ามาจะไม่มีทางอดตาย ได้ตาแหน่ง รายได้สูง มีความมั่นคงในชีวิตการงานและครอบครัว มีสวัสดิ
ภาพ มีสิ่งอานวยความสะดวกที่จาเป็นแก่วิถีการดารงชีวิตแบบใหม่พร้อมมีโอกาสได้งานดีๆ สาหรับทุก
ระดับความรู้ อายุ จะแก่หรือเด็ก อยู่ได้หมด หรือแม้กระทั่งหมดหน้าทานา ขายข้าวไม่ได้ ก็ย้ายเข้ามา
ทางาน มากวาดถนน มาก่อสร้าง ขับแท็กซี่ มาเรียนหนังสือ ซื้อรถได้ ทาได้ทั้งหมดในเมืองแห่งนี้
ด้วยเหตุนี้จึงทาให้กรุงเทพกลายเป็น “เมืองโตเดี่ยว (Primate city)” ที่ใหญ่ที่สุดในโลก เป็น
ปัญหาใหญ่ของการตั้งถิ่นฐานของประเทศไทย กรุงเทพฯ ถูกยกให้เป็นตัวอย่างเมืองเลวที่ดีที่สุดของโลก
เพราะเมืองโตเดี่ยวเป็นเป็นแม่เหล็กที่ใหญ่มาก ดูดความเจริญจากภูมิภาค และที่สาคัญกรุงเทพกาลังจะ
ประสบปัญหาใหญ่ คือ ใกล้อัมพาตรักษาไม่ได้ (Unmanageable Size) ขนาดของเมืองจะจัดการอะไรไม่ได้
ยิ่งสร้างเมือง มีการจ้างงาน คนยิ่งหลั่งไหลเข้ามา เอาลูกเอาเมียมา ไปไหนไม่ได้ นี่คือกรุงเทพ เมื่อดูตาราง
รายชื่อเมืองใหญ่ของประเทศไทยเรียงตามจานวนประชากร ตามทะเบียนราษฎร์ (ตารางที่ 1) ยิ่งเห็นว่า
กรุงเทพมีขนาดใหญ่กว่าเมืองอื่นๆ ในประเทศไทยมาก ใหญ่กว่าอันดับ 2 อย่าง เทศบาลนครนนทบุรี ถึง 22
รูปที่ 2 การใช้ที่ดินผิดลักษณะธรรมชาติ
5
เท่า และใหญ่กว่า เทศบาลนครแม่สอดถึง 161 เท่า ที่เป็นเช่นนี้เพราะส่วนหนึ่งเราปล่อยให้เมืองใหญ่เกินไป
และไม่มีใครสนใจที่จะพูดถึงปัญหาเมืองโตเดี่ยว ปัญหาผังเมืองไทย ที่จะทาให้ทุกอย่างเสียหาย ไม่ว่าจะเป็น
เรื่องการตั้งถิ่นฐาน จนโยงไปถึงการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
ตารางที่ 1 รายชื่อเมืองใหญ่ของประเทศไทยเรียงตามจานวนประชากร ตามทะเบียนราษฎร์
ลาดับ เมือง
พื้นที่
(กม.2
)
ประชากร (ตาม
ทะเบียนบ้าน) จังหวัด
เล็กกว่า
กรุงเทพฯ
(เท่า)
1 กรุงเทพมหานคร 1,568.73 5,701,394 -
2 เทศบาลนครนนทบุรี 38.90 261,474 นนทบุรี 22
6 เทศบาลนครเชียงใหม่ 40.00 141,366 เชียงใหม่ 40
9 เทศบาลนครขอนแก่น 46.00 113,754 ขอนแก่น 50
16 เทศบาลนครภูเก็ต 12.00 74,218 ภูเก็ต 77
19 เทศบาลนครแหลมฉบัง 109.65 70,770 ชลบุรี 80
24 เทศบาลนครลาปาง 22.17 57,558 ลาปาง 99
29 เทศบาลนครแม่สอด 27.2 35,365 ตาก 151
ที่มา : เดชา บุญค้า 2558 นาเสนอ “ทางออกในการพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรคทางนโยบาย
และกลไกที่ต้องก้าวข้าม” ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ โฮเทล
3.4.ปัญหาผังเมืองไทย
วิสัยทัศน์และผังเมืองของประเทศไทย กรมโยธาธิการและผังเมืองได้ทาผังเมืองประเทศไทยในปี
พ.ศ.2600 (รูปที่ 3 ) ประเทศไทยเป็นครัวของโลก เป็นอู่ข้าวอู่น้าของโลก แต่กลายเป็นว่ามีแผนมาสร้าง
เมืองอยู่ในที่ดังกล่าวด้วย ให้กลายเป็นชุมชนเมือง ไม่ว่าจะก่อสร้างสิ่งใด ย่อมไปไม่รอด เพราะต้องถูกน้า
ท่วม ซึ่งไม่เข้าใจเหมือนกันว่าเหตุใดจึงยังกาหนดให้เมืองใหญ่ เมืองเล็ก มาสร้างในพื้นที่เกษตรกรรมในปี
พ.ศ. 2600 หากพื้นที่รับน้าเป็นพื้นที่เกษตรกรรม อุทกภัยที่เกิดขึ้นจะเป็น “คุณ” อย่างยิ่งกับพื้นที่เหล่านั้น
เพราะทุกครั้งที่น้ามาข้าวจะสวยงาม สมบูรณ์ แต่ปัจจุบันที่กลายเป็นเมืองใหญ่ เป็นนิคมอุตสาหกรรม
อุทกภัยที่เกิดขึ้นจึงกลายเป็น “โทษ” ทันที (รูปที่ 4)
6
รูปที่ 3 วิสัยทัศน์และผังเมืองของประเทศไทยปี พ.ศ. 2600
รูปที่ 4 คุณและโทษของการเกิดอุทักภัย
7
3.4.1. สาเหตุของความล้มเหลว ด้านนโยบายและแผนการตั้งถิ่นฐาน และการผังเมืองของ
ประเทศไทย
สาเหตุของความล้มเหลว ด้านนโยบายและแผนการตั้งถิ่นฐาน และการผังเมืองของประเทศไทย
เป็นเพราะกลไกและกระบวนการวางแผนเชิงพื้นที่ จากระดับชาติสู่ระดับท้องถิ่น ติดขัดไปหมด ไม่ต่อเนื่อง
ขัดแย้ง และไร้ประสิทธิภาพ ทั้งนี้การผังเมืองมี 2 ระดับ คือ ระดับชาติ / ระดับท้องถิ่น และมีระยะยาว/
ระยะสั้น และระยะพัฒนา ไม่เคยสอดคล้องกลมกลืน ไม่เคยมุ่งสู่อนาคตที่ยั่งยืนมาก่อน และไม่เคยมีเมือง
ไหนที่สานักผังเมือง หรือกรมการผังเมืองในสมัยนั้น สามารถบังคับใช้ได้แม้แต่เมืองเดียว ซ้าเติมด้วยปัญหา
ที่เกิดจากการกระจายอานาจ (ผังเมือง) ฯ สู่ท้องถิ่น
3.4.2. การวางผังเมือง เชิงพื้นที่ เปรียบเสมือนเป็นวงดุริยางค์ (ผังเมือง) แห่งชาติของประเทศ
ไทย (Thailand’s National Planning Orchestra)
เพื่อให้เข้าใจถึงสาเหตุของความล้มเหลวด้านนโยบายและแผนการตั้งถิ่นฐาน และการผังเมืองของ
ประเทศไทย จึงทาการสมมุติว่าการวางผังเมือง เชิงพื้นที่ เปรียบเสมือนเป็นวงดุริยางค์ (ผังเมือง) แห่งชาติ
ของประเทศไทย (Thailand’s National Planning Orchestra) (รูปที่ 5) ซึ่งวงดุริยางค์ปกติจะต้องเล่นพร้อม
กันหลายคน พร้อมๆ กัน
รูปที่ 5 Thailand’s National Planning Orchestra
8
อธิบายคือ Conductor ในวงดุริยางค์ผังเมือง คือ กรมโธยาธิการและผังเมือง กรมผังเมืองที่ยุบไปอยู่
ภายใต้กรมโยธาธิการและผังเมือง เทียบเท่า กลอง ซึ่งทั้งคู่ต้องทาหน้าที่ควบคุม นักดนตรีทั้งหมดซึ่งคือ
กทม. เทศบาลต่างๆ ทั่วประเทศไทย แต่ทว่าต่างคนต่างเล่น เล่นกันคนละอัน มีนักดนตรี 7,800 กว่าคน
เล่นโดยเสรี โดยที่รัฐบาลซื้อเครื่องดนตรีให้ คือ การให้งบประมาณ
ไม่เพียงแค่นั้น วงดุริยางค์ “การผังเมือง” ของประเทศไทย (Thailand’s National Spatial Planning
Orchestra) ไม่มีบทเพลง ไม่มีซิมโฟนี่ ไม่มีโน้ตกลาง คล้ายกับปัจจุบันเรื่องผังเมืองที่ไม่มีวิสัยทัศน์ เช่น
ถิ่นฐานที่ยั่งยืน น้าไม่ท่วม เมืองสะดวกน่าอยู่ ไม่มีผู้ประพันธ์เพลงรวม คือ ไม่มีผู้กาหนดนโยบาย
แห่งชาติตามวิสัยทัศน์ หากศึกษาแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ไม่มีเรื่องเชิงพื้นที่เลย หากเป็น
ต่างประเทศเช่น สิงคโปร์ จะกาหนดอนาคตเลยว่า สิงคโปร์ต้องเป็น Garden City มีองค์กรต่างๆ คอยดูแล
เรื่องนี้ แต่ประเทศไทยไม่มีเลย นอกจากนี้วงดุริยางค์ การผังเมือง นี้ ไม่มีวาทยกร คือคนดูแลผังระดับชาติ
มีแต่กรมโยธาฯ แต่ยังคงเป็นเด็ก และไม่มีหน่วยงานวางแผนระดับชาติ ไม่มีโน้ตกลาง คือ ไม่มีผังภาค มี
แต่ผังจังหวัด ในเชิงกายภาพ ไม่มีมาตรฐานและเกณฑ์กลางที่ใช้การได้จริง ผู้แสดง 7,853 คน คือ
หน่วยงานท้องถิ่น ซึ่งต่างคนต่างเล่น จาเป็นต้องเล่นโดยที่เล่นไม่เป็น เพราะงบส่งไปแล้ว พัฒนาไปเรื่อยๆ
3.4.3. ผังลิชฟิ ลด์ : บทเรียนสาหัส ที่ไม่จดจา
ผังลิชฟิลด์ คือ ผังเมืองรวมของกรุงเทพและธนบุรี เริ่มวางครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ.2500 (รูปที่ 6) บังคับ
ใช้ปี พ.ศ. 2503 เป็นผังที่รับรู้ธรรมชาติน้าหลาก แต่เนื่องจากผังนี้ยังขาดกฎหมายรองรับ ทาให้ผังลิชฟิลด์
ไม่สามารถบังคับใช้ให้เป็นไปตามแผนที่ ในปี พ.ศ.2515 มีการปรับปรุงผังลิชฟิลด์โดยสานักผังเมือง เริ่ม
เห็นการทาผังที่ไม่รับรู้ธรรมชาติ จนปรับอีกครั้งในปี พ.ศ. 2549 (สังเกตผังที่ 3) กลายเป็นผังที่ไม่รับรู้
ธรรมชาติ และขวางทางน้าทะเล อีกทั้งตรง Land use สีเหลือง เดินทางแค่ 40 กิโลเมตร ใช้เวลากว่า 3 ชม.
ด้วย
รูปที่ 6 ผังลิชฟิลด์ ผังแรกจนถึง
9
หากลองสังเกตผังลิชฟิลด์ครั้งที่ 1 (รูปที่ 7) ปี พ.ศ. 2500 ขณะนั้นมี ประชากร 1.8 ล้านคน
ปัจจุบัน 10 ล้าน (รวมประชากรแฝง) ตัวผังจะมีคลองผันน้าตะวันออก ใต้ดอนเมือง โดยน้าจะไหลตรงดิ่ง
ออกไปได้ และมีคลองผันน้าทางตะวันตก สามารถผันน้าตั้งแต่สามโคกลงมาได้ แต่เมื่อปรับผังครั้งที่ 2 ได้
นาผังนี้เข้าคณะรัฐมนตรี แสดงความคิดเห็นให้เก็บส่วนที่ดี และตัดส่วนที่ไม่ต้องการ ซึ่งผลออกมาให้ตัด
แม่น้าทั้งสองข้างออก จึงทาให้ไม่มีคลองผ่านน้าให้น้าไหลลงทะเลทั้งสองข้างทั้งทางตะวันตกและทาง
ตะวันออก แต่ปัจจุบันการทาผังเมือง ช่วงหลังการพัฒนา พื้นที่สีเขียวต่างๆ เปลี่ยนไปทั้งหมด สร้างสิ่งต่างๆ
แบบไม่มีแผน กลายเป็นผังเมืองที่ไม่รับรู้ธรรมชาติอีกต่อไป
3.4.4. เปรียบเทียบผังเมือง ฮานอย – กรุงเทพ
เมื่อเปรียบผังเมืองของกรุงฮานอย ประเทศเวียดนาม และผังเมืองของกรุงเทพฯ ประเทศไทย จะ
เห็นถึงผังเมืองที่เคารพธรรมชาติและผังเมืองที่ไม่เคารพธรรมชาติ ผังเมืองของกรุงฮานอย แสดงให้เห็นถึง
ผังเมืองที่เคารพธรรมชาติ (รูปที่ 8) วางผังเมืองแบบยั่งยืนที่นาด้วยธรรมชาติ รักษาพื้นที่เพาะปลูกและใช้
เป็น flood plain และสร้างเมืองบนที่พ้นน้าท่วมวางผังเมืองเป็นกลุ่มก้อนและหนาแน่นเพื่อย่นระยะการ
เดินทาง สีเขียวเข้มคือกลุ่มต้นไม้ใหญ่ ปลุกเป็นป่า และปลูกเป็นแนวยาวตามลาน้า หากลองมาดูผังเมือง
ของ กรุงเทพฯ จะใช้เขตการปกครองและธุรกิจเป็นตัวนา ไม่ยึดลักษณะธรรมชาติและปล่อยให้เมืองขยายตัว
กระจายลงไปในที่ลุ่มน้าต่า น้าจึงท่วมเมือง นอกจากนี้ การกระจายตัวมากทาให้ระยะการเดินทางประจาวัน
ไกล ใช้เวลามาก การจราจรจึงติดขัดและกลายเป็นเมืองที่ไม่น่าอยู่
รูปที่ 7 ผังลิชฟิลด์ครั้งที่ 1
10
นอกจากนี้ ลองสังเกตผังเมืองของกรุงเทพ (รูปที่ 9) จะเห็นว่า พื้นที่มีศักยภาพ เป็นถิ่นฐานชุมชน
เมืองใหม่ขนาดใหญ่ในระยะยาวบริเวณภาคกลาง แต่เรากลับขยายกรุงเทพขวางทางน้าเหมือนเดิม ปิดทาง
น้าลงสู่อ่าวไทย
รูปที่ 8 เปรียบเทียบระหว่างผังเมืองกรุงฮานอยและกรุงเทพ
รูปที่ 9 ผังกรุงเทพปิดทางน้าลงอ่าวไทย
11
3.4.5. การจัดทาแผนภาคเชิงบูรณาการ ( Integrated Regional Planning )
เมื่อให้เห็นแผนที่ชัดขึ้น เกี่ยวกับปัญหาการวางผังเมืองและการตั้งถิ่นฐาน หากลองจัดทาผังภาค
บูรณาการเชิงพื้นที่รายลุ่มน้า (รูปที่ 10) ซึ่งจัดทาแผนที่แสดงเขตน้าท่วมให้ครบทุกลุ่มแม่น้าย่อย จะเห็นว่า
ประเทศไทยมี 9 กลุ่มลุ่มแม่น้า เป็น 25 ลุ่มน้าใหญ่ และ 254 ลุ่มน้าย่อย ลุ่มแม่น้าเจ้าพระยา (รูปด้านขวา)
ลุ่มแม่น้าย่อย และเขตที่น้าท่วมซ้าซาก
ต่อมาลองศึกษาตัวอย่างแผนภาพในต่างประเทศ ที่จัดทาให้เห็นว่า พื้นที่ชุมชนเมืองที่จะขยายในอีก
10 ปีข้างหน้า (รูปที่ 11 ) ให้ความสาคัญเกี่ยวกับเรื่องธรรมชาติ (สีแดง) พร้อมคาดการณ์ว่าอีกกี่ปีข้างหน้า
จะมีการพัฒนาชุมชนเกิดขึ้น ทาเทียบคู่กับแผนภาพ ผังเขตพื้นที่น้าท่วม (รูปที่ 12) รอบ 100 ปี ที่บริษัท
ประกันไม่จ่าย เมื่อลองทาบทั้งสองแผนภาพเข้าด้วยกัน (รูปที่ 13) จะเห็นว่าพื้นที่เมืองนั้นจะไม่อยู่ในพื้นที่
ของน้าท่วม ซึ่งนักพัฒนา นักผังเมืองท้องถิ่น จะสามารถพัฒนาเมืองได้ถูกทางได้ เมื่อใช้เทคนิคการซ้อนทับ
รูปที่ 10 จัดทาแผนที่แสดงเขตน้าท่วมให้ครบทุกแม่น้าลุ่มย่อย
12
จากเทคนิคการซ้อนทับดังกล่าว ลองนามาปรับใช้กับพื้นที่น้าท่วมใหญ่ พ.ศ. 2554 และที่ตั้งเมือง
ตามแผนผังประเทศ พ.ศ.2600 (รูปที่ 14) เมื่อนาพื้นที่มาซ้อนทับกัน เมืองต่างๆ ในปี พ.ศ. 2600 ยังคง
ตั้งอยู่ในพื้นที่น้าท่วม (รูปที่ 15) ทั้งที่รู้ว่าเขตพื้นที่น้าท่วม แต่เราก็ยังวางเมืองในอนาคตในพื้นที่ดังกล่าว ซึ่ง
รูปที่ 11 แผนภาพพื้นที่ชุมชนเมือง 10 ปีข้างหน้า รูปที่ 12 พื้นที่น้าท่วมในรอบ 100 ปี
รูปที่ 13 แผนภาพซ้อนทับระหว่างพื้นที่ชุมชนเมือง และพื้นที่น้าท่วม
13
เรื่องนี้ไม่มีใครสนใจหรือตระหนักบ้าง ภัยธรรมชาตินี้จะเป็นปัญหาใหญ่สาหรับการพัฒนาเมืองและตั้งถิ่น
ฐานอย่างยิ่ง
รูปที่ 14 พื้นที่น้าท่วมใหญ่ และที่ตั้งเมือง พ.ศ. 2600
รูปที่ 15 การซ้อนทับระหว่างพื้นที่น้าท่วม และที่ตั้งเมือง พ.ศ. 2600
14
3.4.6. ปัญหา “โลกร้อน-การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ส่งผลต่อการตั้งถิ่นฐานและผังเมืองไทย
สภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงไปของโลก ทาให้เกิดสภาวะโลก ซึ่งมีความหมายต่อการตั้งถิ่นฐาน
(การผังเมือง) ของประเทศไทย เพราะผลกระทบจากโลกร้อนตอนนี้ ส่งผลให้น้าท่วมชายฝั่ง การกัดเซาะ
ชายฝั่ง น้าทะเลหนุนลึก ซึ่งในอนาคตจะทาให้เราไม่มีน้าประปาใช้ กรุงเทพจะขาดน้าจืด เหลือเพียงน้าดิบ
เท่านั้น อีกทั้งน้าเหนือลงทะเลไม่ได้ จึงทาให้เอ่อท่วมนานขึ้น สิ่งเหล่านี้เป็นปัญหาที่ใหญ่มากในอนาคต
ข้อมูลจาก The National Geography พบว่า อีก 5,000,000 ปี เมืองสาคัญในกลุ่มอาเซียน จะ
จมน้าทะเลหมด (รูปที่ 16) อย่างไรก็ตาม ข้อมูลนี้ไม่สามารถกระตุ้นให้คนสนใจได้ เพราะเห็นว่า ระยะที่จะ
เกิดยาวนานมาก ดังนั้น จึงคิดว่า ไม่ควร “ตื่น”ตามกระแส ซึ่งจะทาให้เปลืองงบประมาณมาก
นอกจากนี้ยังมีข้อมูลที่แสดงให้เห็นการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศได้ส่งผลต่อการพัฒนาเมือง ดังนี้
- อุณหภูมิ องค์การวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อมให้ข้อมูลไปให้ทิศทางเดียวกันทั้ง 8
องค์กร (CCSR, CCma, CSIRO, Hadley Centre, FGDL, MPIM, MCAR PSC, NCAR
CSM) ให้ข้อมูลทานายอนาคตว่าอุณหภูมิโลก จะขึ้นอีก 5 องศาเซลเซียส ภายใน ปี ค.ศ.
2100 (รูปที่ 17)
รูปที่ 16 เมืองในอาเซียนจะจมใต้น้า อีก 500,000 ปี
15
- คาร์บอนไดออกไซด์ ตลอด 650,000 ปี (CO2) ไม่เคยสูงกว่า ปีพ.ศ.2493 มาก่อน แต่
ปัจจุบันค่าคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ในบรรยากาศโลกสูงกว่านั้นมาก (รูปที่ 18) แสดงให้
เห็นว่าเป็นผลที่เกิดจากการมีอุตสาหกรรมที่มากมาย และการใช้พลังงานอย่างสุดเหวี่ยงที่ทา
ให้ปล่อยสารดังกล่าวออกไปมากขึ้น ทั้งค่าอุณหภูมิ และค่าคาร์บอนไดออกไซด์ที่เพิ่มขึ้น ย่อม
มีปฏิสัมพันธ์กันแน่นอน และมีผลต่อการพัฒนาเมือง
- ระดับน้าทะเล พ.ศ. 2443 (ค.ศ.1900) พ.ศ. 2643 (ค.ศ. 2100) ในช่วง 200 ปี ระดับน้าทะเล
คาดการณ์เกิดแล้วจริง หากดูจากกราฟ (รูปที่19) จะเห็นว่าขึ้นชันมาก จาก 0 เมตร จะเริ่มขึ้นอยู่
ระหว่าง 2 เมตร ในปี 2643 (ค.ศ. 2100) ระดับน้าต่าสุดประมาณ 60 ซม. ระดับกลางประมาณ 1.20
เมตร และอาจจะถึง 2 เมตรได้ ซึ่งระดับดังกล่าว ยังไม่นับระดับยอดคลื่นพายุซัดเข้าฝั่ง ไม่นับ
ระดับน้าขึ้นน้าลง น้าหลากจากปี พ.ศ.2554 ซึ่งอาจจะสูงถึงอีก 2- 4.5 เมตร ทาให้โอกาสใน 85 ปี
ข้างหน้า มีโอกาสสูงที่ระดับน้าจะท่วมขึ้นมา (รูปที่ 20)
รูปที่ 17 กราฟอุณหภูมิโลกในอนาคต รูปที่ 18 กราฟแสดงสาร CO2 ในอนาคต
รูปที่ 19 กราฟระดับน้าทะเลในอนาคต รูปที่ 20 ระดับน้าทะเลอีก 85 ปีข้างหน้า
16
รูปที่ 21 แสดงระดับน้าทะเล 2 เมตร ใน 85 ปีข้างหน้า ที่ยังไม่รวมระดับน้าขึ้น-ลงสูงสุด ยังไม่รวม
ระดับยอดคลื่นพายุซัดฝั่ง และรูปที่ 22 แสดงระดับน้าทะเล 5 เมตร. ที่รวมช่วงที่ระดับน้าขึ้น-ลงสูงสุด และ
ระดับยอดคลื่นพายุซัดฝั่ง รวมทั้งน้าเหนือหลากลง แต่เป็นเฉพาะชายฝั่ง อาจไม่ท่วมถึงชั้นในตามภาพที่
แสดงระดับ 5 เมตร ทั้งหมดนี้เป็นเพียงแค่ปัญหาน้าท่วมชายฝั่ง แต่ทั้งนี้ประเทศไทยกลับยังไม่มีนโยบาย
การตั้งถิ่นฐานระดับชาติ เพื่อป้องกันการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลกเลย
รูปที่ 21 ระดับน้าทะเล 2 เมตร
รูปที่ 22 ระดับน้าทะเล 5 เมตร
17
นอกจากนี้ ข้อมูลเกี่ยวกับเมืองใหญ่ของโลกที่จะถูกน้าทะเลท่วมมากที่สุดในโลกใน 100 ปีข้างหน้า
ซึ่งนั่นก็คือ กรุงเทพมหานคร โดยที่พื้นดินกรุงเทพฯ จะทรุดปีละ 3 ซม (ข้อมูลจาก Time Magazine
September 2014, from NOAA) พร้อมกับระดับน้าทะเลที่สูงขึ้น จะทาให้ กรุงเทพฯ ท่วมถึงระดับ 2.00
เมตร มีพายุคลื่นซัดฝั่ง (รูปที่ 23 ) และปรากฏการณ์น้าท่วมได้พิสูจน์ให้เห็นแจ้งแล้วว่าข้อมูลเหล่านี้เป็น
จริง (รูปที่ 24)
จากข้อมูลข้างต้นหากรัฐบาลปัจจุบันรับทราบแล้ว หรือควรจะทราบมาตั้งนานแล้ว ไม่ตระหนัก จะ
จัดการอย่างไรกับเมืองและชุมชนชายฝั่งทะเลปัจจุบัน เช่น กรุงเทพฯ สมุทรปราการ สมุทรสาคร
สมุทรสงคราม นครศรีธรรมราช และอื่นๆ ฯลฯ บ้างเลยหรือ? และเมื่อรัฐบาล-สภาฯ ปัจจุบันรับทราบแล้ว ว่า
เมืองและชุมชนที่จะเพิ่ม 8-12 ล้านไร่ (พื้นที่เมืองที่จะเพิ่ม) ในพ.ศ. 2600 ที่อาจขยายลงที่ลุ่ม ทาลายพื้นที่
เกษตร ทาลายสิ่งแวดล้อม เราจะจัดการอย่างไร จะแก้ปัญหาอย่างไร ไม่มีใครให้ความสาคัญกับเรื่อง
ดังกล่าวเลย ทั้งกรมโยธาธิการ รัฐสภา สภาพัฒน์ ใครคือผู้รับผิดชอบต่อสภาพที่อาจเลวร้ายที่จะเกิดขึ้นกับ
เมืองที่ต้องเพิ่มใหม่ใน 30-50 หรือ 100 ปีข้างหน้า?
น่าแปลกใจมากที่เกือบทุกรัฐบาลไม่ตระหนักถึงปัญหาใหญ่หลวงในอนาคตที่สามารป้องกันและ
บรรเทาได้ด้วย “การวางแผนที่ดีล่วงหน้าที่จะต้องปฏิบัติตามแผนโดยเคร่งครัด” เท่านั้น แต่ทั้งนี้กลไก
ของประเทศไทยบกพร่องมานาน ถ้ายังไม่แก้ไขก็ไม่สามารถที่จะทาอะไรได้ ประเทศไทยไม่เคยมี และ ยัง
อิดเอื้อนที่จะให้มี คือ นโยบายแห่งชาติว่าด้วยการตั้งถิ่นฐานและการผังเมือง ที่ใช้ชี้นาการพัฒนาสู่ความ
ยั่งยืน ซึ่งมัวแต่คิดว่าหากตั้งแล้วกลัวกระทรวงนั่น กระทรวงนี่แย่งไป ตอนนี้ต้องรีบเร่ง ปฏิรูป กลไก ระบบ
รูปที่ 23 ข้อมูลเมือง (กรุงเทพ)ที่จะน้าท่วม
มากที่สุดในโลก
รูปที่ 24 ปรากฏการณ์น้าท่วม
18
และกระบวนการผังเมือง ต้องมีวิสัยทัศน์ระดับชาติ ลงไปสู่ท้องถิ่นได้อย่างราบเรียบ ทั้งหมดคืองานที่ได้
พยายามรณรงค์เกี่ยวกับการผังเมืองในวุฒิสภา แต่ไม่สาเร็จ
4. วิธีป้ องกันและแก้ไขปัญหา
4.1.วิธีการป้ องกันน้าหลากท่วมเมืองที่เด็ดขาด
วิธีการป้องกันน้าหลากท่วมเมืองที่เด็ดขาด คือ ในระยะยาว (macro) ต้องหาถิ่นฐานบนที่ดอนน้า
ท่วมไม่ถึง น้าจะไม่ท่วมพื้นที่สูงแน่นอน ไม่ว่าที่ใดในโลก จากนั้นขยายเมือง อย่างหนาแน่น และโปร่งด้วย
ไม่ควรขยายอย่างเบาบางอีก แล้วพัฒนาเมืองใหม่อย่างมีระบบเป็นเมืองยั่งยืน
4.2.การแก้ไขเชิงระบบ
ขั้นแรก การแก้ไขเชิงระบบนี้น่าจะเป็นกุญแจสาคัญต่อความสาเร็จ ประกอบด้วย องค์ประกอบที่
ครบ 3 ประการได้แก่
1. ต้องมีนโยบายการตั้งถิ่นฐานมนุษย์และการพัฒนา เมืองในระดับชาติ (เพื่อนาประเทศสู่อนาคตที่
ยั่งยืนและน่าอยู่)
2. ต้องจัดตั้งสานักงานคณะกรรมการการตั้งถิ่นฐาน มนุษย์และการผังเมืองแห่งชาติในสังกัดสานัก-
นายกรัฐมนตรี (ให้แผนระดับชาติอยู่เหนือระดับกระทรวงจริง) นากรมผังเมืองซึ่งอยู่ในกรม
โยธาธิการและผังเมืองในปัจจุบัน ไปอยู่กับสานักนายกรัฐมนตรี และทางานควบคู่กับสภาพัฒน์ฯ
คล้ายตัวอย่างที่ประเทศเกาหลีใต้ ได้เริ่มต้นการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม พร้อมกับประเทศ
ไทย แต่เมื่อรู้สึกผิดปกติ และเห็นว่าการทางานเชิงพื้นที่และเศรษฐกิจสังคม ไม่สามารถไป
ด้วยกัน จึงแก้ปัญหาด้วยการ Balance plan ตั้งสานักงานการวางแผนเชิงพื้นที่ระดับชาติ ให้อยู่
กับสานักงานประธานาธิบดี เพื่อที่จะได้ให้คาปรึกษาอย่างใกล้ชิดต่อประธานาธิบดี แต่ของ
ประเทศไทย ยังไม่เปลี่ยน ซึ่งควรออกแบบ สร้างระบบการวางแผน (Planning systems) ของ
ประเทศใหม่ทั้งหมด เพราะทุกวันนี้กลไกที่มีอยู่ล้มเหลวมาก ไม่สามารถมีนโยบายระดับสูง ลง
ไปสู่ท้องถิ่นได้
3. รัฐสภาต้องตั้งกรรมาธิการการตั้งถิ่นฐานและการผังเมือง ให้มีหน้าที่ดูแลรับผิดชอบด้านกฎหมาย
ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งจะช่วยทาให้การปรับปรุงแก้ไขกฎหมายได้ทันสถานการณ์
ขั้นที่สอง หากมีการตั้งกรรมาธิการตั้งถิ่นฐานและการผังเมืองแล้ว สิ่งที่ต้องทาต่อมา คือ ภายใต้
กรรมาธิการสามัญการตั้งถิ่นฐานและการผังเมือง ให้จัดทาแผนปฏิบัติสู่เป้าหมาย (Road Map – Action
Plans) ดังนี้
19
1. เรื่องกฎหมาย ควรต้องออกกฎหมาย และปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องที่เป็นอุปสรรคการบรรลุ
เป้าหมาย เช่น กฎหมายซ้าซ้อน กฎหมายล้าสมัย และออกกฎหมายฉบับใหม่ที่เอื้อให้กลไกใหม่
บรรลุเป้าหมายตามนโยบาย โดยแบ่งเป็น
- ระยะสั้น ภายใต้กฎหมายเดิม สิ่งที่ทาได้ ให้ทาต่อไป เช่น ออกกฎกระทรวงให้มีขั้นตอน
“Planning permit” ฯลฯ
- ระยะยาว วางนโยบายการตั้งถิ่นฐานมนุษย์และการพัฒนาเมืองแห่งชาติ ประกาศเป็น
พ.ร.ฎ. (ในพระปรมาภิไธย) พร้อมออกแบบ และสร้างระบบการวางแผน (Planning
systems) ของประเทศใหม่ทั้งหมด
2. เรื่องหน่วยงาน ต้องปรับรูปองค์กรให้สอดคล้องกับการบรรลุเป้าหมาย คือ
- การตั้งคณะกรรมการการตั้งถิ่นฐานและผังเมืองแห่งชาติ ต้องประกอบด้วยกรรมการนโยบาย
9+4 (ผู้ทรงคุณวุฒิ + ผู้แทนหน่วยงานนโยบาย เช่น สภาพัฒน์ฯ สานักงบประมาณ)
- ออกมาตรฐาน-เกณฑ์การวางแผน-กากับตรวจสอบ (Planning criteria - standards -
monitoring)
- จัดทาแผนภาคเชิงพื้นที่ (Regional spatial planning)
- ฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ผังเมืองท้องถิ่น (On-job training – 7,500 อปท.)
5. ข้อเสนอเชิงนโยบาย : ธรรมนูญการผังเมือง
ประเทศไทยควรมีธรรมนูญผังเมือง เพื่อกากับกฎหมายต่างๆ เกี่ยวกับการวางแผนและการพัฒนา
เชิงทุกพื้นที่ของประเทศทั้งหมด โดย ธรรมนูญการตั้งถิ่นฐานและการพัฒนาเมือง จะมีรายละเอียดข้อเสนอ
7 ข้อ (Seven Commandments) ดังนี้
1. ห้ามสร้างเมืองใหม่ หรือขยายชุมชนเดิมในพื้นที่เสี่ยงภัยธรรมชาติ รวมทั้งให้ชะลอการเจริญเติบโตของ
เมือง/ชุมชนเดิมในพื้นที่ดังกล่าว
2. ให้สงวนพื้นที่ที่เหมาะสมกับการเกษตรกรรม และ พื้นที่สงวนประเภทอื่นๆ กาหนดที่ราบเกษตรกรรมที่
น้าท่วมถึงให้เป็นพื้นที่รับน้าและเป็นทางน้าผ่าน (Flood plains and floodways) ด้วย
3. ห้ามพัฒนาเมือง/ชุมชนในพื้นที่ทางศิลปะ วัฒนธรรม พื้นที่ธรรมชาติ พื้นที่สวยงาม และพื้นที่แหล่ง
ท่องเที่ยว ยกเว้น สิ่งอานวยความสะดวกที่จาเป็น
20
4. กาหนดการกระจายตัวประชากรเมืองเพื่อลดความแตกต่างระหว่างเมืองกับชนบท (Urban-rural
disparity) ชะลอการเติบโตของกรุงเทพฯ กาหนดให้มีเมืองขนาดใหญ่ในพื้นที่เหมาะสมมากขึ้นเพื่อ
กระจายความเจริญให้มีความสมดุล
5. วางแนวทางพัฒนาเมืองใหม่/ฟื้นฟูเมืองเดิม รองรับประชากรเมืองจากการคาดการณ์ถึง 60 ล้านคน
จากเดิม 22 ล้านคน อีกทั้งประชากรทั้งประเทศใน 50 ปีข้างหน้า ไม่รวมต่างด้าวจะมีประมาณ 75 ล้าน
คนและเป็นประชากรเมืองถึงร้อยละ 65 โดยมีรายละเอียดเพิ่มเติมดังนี้
- เมืองใหม่ ที่จะรับประชากร 38 ล้านคน ต้องกระชับ น่าอยู่ ยั่งยืน ร่มรื่น หนาแน่นสูง เพื่อลด
ระยะเดินทาง ประหยัดพลังงาน และต้องเชื่อมโยงสิ่งอานวยความสะดวกครบถ้วน
- หยุดขยายเมืองเดิม (ที่รองรับประชากร 22 ล้านคนเดิม) ในทางราบ ฟื้นฟูโดยเพิ่มความ
หนาแน่นส่วนกลาง (ที่ไม่ทาลายย่าน ประวัติศาสตร์) เพิ่มที่เว้นว่าง วางระบบทางเดินเท้า-
จักรยาน ทางเชื่อมระหว่างอาคารพาณิชย์กับระบบขนส่งมวลชน
6. ให้พัฒนาชุมชนเกษตรประชากร 15 ล้านคนให้มั่นคง มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความสามารถในระดับ
นานาชาติด้วยการจัดรูปที่ดินตามความเหมาะสมของสมรรถนะ ที่ดินและมีโครงสร้างพื้นฐานสมบูรณ์
ในตัวเอง
7. ให้มีคณะกรรมการการตั้งถิ่นฐานและการผังเมือง แห่งชาติ ทางานเชิงบูรณาการใกล้ชิดสอดคล้องกับ
คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
21
ตอนที่ 2
1. ตัวอย่างเมือง
1.1.การสร้างเมืองสวรรค์ (เมืองใหม่)
จากปัญหาการตั้งถิ่นฐานในที่ทางน้าผ่าน เสี่ยงต่ออุกทกภัยในอนาคต และเมืองที่ขาดการวางผัง
เมืองมีปัญหามากมาย จึงควรสร้างเมืองสวรรค์ (เมืองใหม่) เพื่อแก้ปัญหาอย่างยั่งยืน และน้อมเกล้าถวาย
พระเจ้าอยู่หัวฯ “ครึ่งแซยิด ๙๐” เรื่องเมืองสวรรค์ (เมืองใหม่) เป็นเรื่องที่ในหลวงมีพระราชดารัสสาหรับ
เมืองใหม่ แต่เมื่อนาไปเสนอกับวุฒิสภา ไม่มีใครสนใจ โดยพระราชดารัสนี้เกิดขึ้นเมื่อปี 2537 (21 ปีที่แล้ว)
ในโอกาสที่คณบดีคณะนิติศาสตร์นาผู้จัดการแข่งขันเดิน วิ่ง เข้าเฝ้าฯ ทูลเกล้า ถวายรายได้ เป็นพระราช
ดารัสที่น่าประทับใจมาก โดยมีข้อความบางส่วนดังนี้ (รูปที่ 25 )
“อันนี้เคยไปถามคนที่เค้ารู้อนาคต ถามเขาว่า แซยิด 72 นี้ ก็มีเป้าหมายที่จะสร้างเขื่อนเพื่อป้องกัน
ภัยแล้ง แต่ว่า แซยิด 84 จะมีเมือง เรียกว่าเมืองสวรรค์ เมืองที่ดี มีไหม มีทางไหม เขาบอกมีทาง ก็เลยขอให้
ไว้ใจว่าเราคิด คิดอยู่ จะสร้างเมืองสวรรค์ จะทาให้กรุงเทพมหานครนี้เป็นกรุงเทพ เมืองสวรรค์แล้วก็เมือง
ใหม่นั้นก็จะเป็นเมืองสวรรค์เหมือนกัน ไม่ได้เป็นการย้ายกรุงเทพ ฯไปที่อื่นไกล แต่ว่าเป็นการปรับปรุงให้ดี
ขึ้น อันนี้ก็พูดอย่างนี้สาหรับแหย่ท่านให้คิด เพราะว่าแต่ละคนก็คงคิดเอ๊อ.....จะไปทาที่ไหน ก็คิดเอาเอง ก็
คิดเอาเอง ก็เคยพูดเสมอว่า ถ้าอยากให้ทราบว่าให้ทาตรงไหน เดี๋ยวเกิดขบวนมาก็มาต่อมา แต่อันนี้มาต่อว่า
ก็ต้องยอม......มีโครงการที่จะสร้างเมืองใหม่ แต่ไม่ใช่อย่างที่เขาคิดจะทากัน สร้างเมืองที่จะเกิดปัญหา แต่ที่
เราคิดเป็นการเมืองที่จะเป็นตัวอย่างและทาให้เมืองเดิมของเราคิดกทม. นี้ เป็นเมืองที่โปร่ง เป็นเมืองที่น่าดู
เป็นเมืองประวัติศาสตร์ และเป็นเมืองสวยงาม ส่วนเมืองใหม่นั้นก็จะเป็นเมืองสวยงามเหมือนกัน และ
สะดวกสบายทุกอย่าง สาเหรับเรื่องของรถ จะเป็นลอยฟ้าหรือใต้ติดก็ไม่ทราบ ..... การสร้างขนส่งมวลชนที่
เหมาะสม การคมนาคมมีทั้งถนนมีทั้งทางต่างระดับลอยฟ้า มีทั้งทางใต้ดิน มีทั้งคลองสาหรับให้มีการ
คมนาคมทางเรือก็ได้ คลองสาหรับระบายก็ได้ ทาทั้งหมดให้สาเร็จ
รูปที่ 25 พระราชดารัสเกี่ยวกับเรื่องเมืองสวรรค์ (เมืองใหม่)
22
1.2. “เมืองแน่นแต่โปร่ง” ทาได้อย่างไร?
ในเมืองใหญ่ที่มีพื้นที่เมืองขนาดเล็ก และราคาที่ดินแพงมาก ความเชื่อตลอดที่ผ่านมาของผู้ลงทุน
มักคิดว่า หากสร้างตึกหรืออาคารโดยเว้นที่ว่างมากเศรษฐกิจจะล่มสลาย เป็นความเชื่อที่ผิดในยุคที่ผ่านมา
และด้วยความเชื่อแบบทาให้บ้านเมืองรู้สึกแออัด แต่ทั้งเมืองที่มีพื้นที่น้อย และความหนาแน่นเท่าเดิม
สามารถทาให้โปร่งได้ ทาได้อย่างไร? (รูปที่ 26-27) ทุกโครงการขายได้ 640,000 ตารางเมตรเท่ากัน แต่
พื้นที่ว่าง (open space) ไม่เท่ากัน แต่จะสังเกตได้ว่า หากขยับอาคารให้สูงขึ้น จะทาให้มีพื้นที่ได้มากยิ่งขึ้น
รูปที่ 26 เมืองแน่นแต่โปร่ง
รูปที่ 27 เมืองแน่นแต่โปร่ง
23
หากนักพัฒนา หรือนักอสังหาริมทรัพย์ลองเว้นที่ว่างแบบเพิ่มเปอร์เซ็นต์ (รูปที่ 28-31) จะเห็นถึงที
ว่างที่จะช่วยให้พื้นที่เดิมที่แน่น สามารถทาให้โปร่ง เปลี่ยนความเชื่อใหม่เป็น เว้นที่ว่างมากเศรษฐกิจรุ่งเมือง
บ้านจะเมืองจะรู้สึกโล่งโปร่งสวยงามกาไรมาก อีกทั้งจะช่วยสร้างภูมิทัศน์ให้น่าอยู่ มีสถานที่พักผ่อน มีต้นไม้
และใกล้ชิดธรรมชาติมากยิ่งขึ้น
รูปที่ 28 เว้นที่ว่าง 10%
รูปที่ 29 เว้นที่ว่าง 25%
24
1.3.ตัวอย่างเมืองใหม่ยั่งยืนในจีน
ขอเสนอตัวอย่างเมืองใหม่ยั่งยืนในจีน ซึ่งเป็นอยู่ในแผนการสร้างเมืองใหม่ของรัฐบาลจีน ที่ต้องการ
มีเมืองที่มีคุณภาพ ปัจจุบันเริ่มก่อสร้างแล้ว โดยจ้างบริษัทที่ปรึกษา (Consel) จากต่างประเทศ มีเนื้อที่ให้
คนสามารถอาศัยอยู่ได้ ประมาณ 20,000 – 30,000 คน ตั้งในพื้นที่ที่สูง สามารถมีพื้นที่รอบนอกให้ทา
เกษตรกรรม ปลูกผัก มีท่าน้า หากต้องการไปสวนสาธารณะ สามารถเดินออกมาข้างนอกได้ (รูปที่ 32)
รูปที่ 30 เว้นที่ว่าง 50%
รูปที่ 31 เว้นที่ว่าง 85%
25
สาหรับทัศนียภาพในเมือง (รูปที่ 33) ทั้งเมืองมีแต่การเดิน เป็นเมืองที่ไม่ต้องใช้รถยนต์ ซึ่งจีนทา
จริง ก่อสร้างจริง หากกลับมาดูประเทศไทย จะสามารถใช้เมืองแบบนี้เป็นตัวอย่างได้หรือไม่ ? สร้างเมือง
ขนาดเล็กประมาณ 50,000 เพื่อถวายแก่ในหลวง ซึ่งมีวิธีทาได้ เป็นเมืองที่ผู้คนเดินลงจากที่พักมาทางานได้
เลย วิ่งออกมาข้างนอกได้ ทาสวนครัวได้ มีรถไฟใต้ดิน สะดวกที่จะเดินทางในเมือง เมืองที่ดีควรจะเป็นที่เรา
สามารถ Work Live Learn Shop Sick Die ได้ในเมืองของเรา
รูปที่ 32 ตัวอย่างเมืองใหม่ในจีน
รูปที่ 33 ทัศนียภาพในเมืองใหม่ของจีน
26
1.4.ตัวอย่างชุมชนเกษตรแอ่งเขาในญี่ปุ่น
ขอเสนอตัวอย่างของชนบทบ้าง จากที่เคยเสนอเมืองตัวอย่าง คือเป็นเมืองเล็กๆ ที่ไม่เกิน 10,000
คน เป็นชุมชนเกษตรแอ่งเขาในญี่ปุ่น (รูปที่ 34) โดยเป็นพื้นที่ที่แผ่นดินจะไม่ถล่ม ทานาบนที่ลุ่มรับน้าท่วม
น้าหลาก แต่ชุมชนแบนี้ ยังไม่แน่ชัดว่าเกิดการออกโฉลดโดยมิชอบหรือเปล่า แต่ประเทศไทยก็มีปัญหาเรื่อง
ออกโฉลดโดยมิชอบ แต่รัฐบาลของประเทศอื่น จะให้ผู้คนอยู่ได้เลย เพราะปลอดภัย เช่น ญี่ปุ่น เป็นเมือง
ภูเขา ที่เนินปลอดภัย มีศักยภาพมาพัฒนาเมือง และมีการวางแผนเชิงพื้นที่ที่เคารพธรรมชาติ
1.5.การผังเมือง : ต้องไม่ทิ้งชุมชนชนบท (รูปที่ 35)
จากตัวอย่างที่นาเสนอ จะเห็นว่าการผังเมือง การตั้งถิ่นฐาน ต้องไม่ทิ้งชุมชนชนบท เพราะเป็นกลุ่ม
ประชากรที่สาคัญของประเทศ มีการตั้งถิ่นฐาน และผลิตอาหารให้กับคนทั้งประเทศ ทั้งนี้ขอเสนอแปลนที่
ได้มาจากการประชุมเรื่องผังเมืองที่ประเทศอิสราเอล เมืองปี ค.ศ.1973 เป็นแปลนของเมืองโยฮาฟ เยโฮชัว
ของประเทศอิสราเอล เป็นเมืองเล็กๆ ที่เป็นชุมชนที่ครบถ้วน ฉะนั้น การเกษตรสมัยใหม่ต้องเปลี่ยน
สามารถรวมกัน และขุดบึงใหญ่ๆ เพื่อสร้างชุมชนได้
รูปที่ 34 ชุมชนเกษตรแอ่งเขาในญี่ปุ่น
27
ปุจฉา: ใครทราบบ้างว่าประเทศไทยสูญเงินค่าจ้าง “คอนซัลท์” เพื่อการวางผัง
เมืองและโครงสร้างพื้นฐานทั่วประเทศ ในช่วงเวลา ๕๘ ปี ที่ผ่านมา โดยไม่ได้
อะไรขึ้นมาสัก เท่าใดนั้น... คิดเป็นเงินตามมูลค่าปัจจุบันเท่าใด...? และ…
ผู้บริหารประเทศที่ละเลยหรือยกเลิกควรมีภาระ ความรับผิดชอบชดใช้
ค่าเสียหายหรือไม่ !!
รูปที่ 35 ผังเมือง แบบไม่ทิ้งชนบท
28
2. การแลกเปลี่ยนความคิด
รศ.ดร.จานง สรพิพัฒน์
ผมจบทางด้าน วิศวกรรมศาสตร์ ผมเคยทางานกับสนข. (สานักนโยบายและแผนการขนส่งและ
จราจร) ผมเห็นด้วยกับอาจารย์เดชา ว่าประเทศไทยไม่มีการวางผังเมือง อาจารย์วิจารณ์ได้ถูกต้อง เพราะ
คนมีอานาจเขามองเห็นแต่การทาถนน เขาไม่มีคาว่า “เมือง” ผมย้อนยุคอ่านประวัติศาสตร์ที่ฝรั่งมา
เมืองไทย เขาบอกตรงๆ ว่าวัฒนธรรมของเรา ไม่มีวัฒนธรรม “การสร้างเมือง” เพราะคนไทยตั้งรกรากติด
แม่น้า ผมถือว่าเป็นดีเอ็นเอทางธรรมชาติ เลยเป็นความเคยชิน ไม่ต้องวางผังเมืองขึ้น ปล่อยเป็นไปตาม
ธรรมชาติเอง ส่วนคนจัดการ คือ กลุ่มวิศวกร เขาจะสนใจแค่ mobility กับ connectivity เท่านั้นเอง ฉะนั้น
เมื่อมีถนนแล้ว เมืองก็เกิดสะเปะตามหมด เมืองก็เกิดตามนั้น ความเคยชินที่เป็นอยู่ และไม่สนใจขนาดไหน
ลองดูสมัยทักษิณ ตอนเค้าปฏิรูปโครงสร้างระบบราชการ สุดท้ายเขาสรุปกันเลย สานักผังเมือง ที่ขึ้นกับ
กระทรวงมหาดไทย ไม่มีความจาเป็นต้องมี แต่ทีนี้จึงเกิดคาถามว่าหากไม่มีสานักผังเมืองแล้วข้าราชการผัง
เมืองจะให้เขาทางานอะไร คงต้องตกงานหมด สุดท้ายจึงจัดการให้สานักผังเมืองเข้าไปอยู่กับกรมโยธาธิการ
ที่เป็นแบบนี้เพราะคนมีอานาจเขาไม่เห็นความสาคัญ อย่างที่อาจารย์พยายามผลักดัน เขาก็รับไป ทีนี้อย่าง
ปัญหาที่เป็นปัจจุบันที่อาจารย์ฝากไว้ คิดดูคือวันนี้เรากาลังพูดถึงรถไฟความเร็วสูง ซึ่งประโยชน์ที่แท้จริง
ของการสร้างรถไฟ คือการสร้างเมืองใหม่ แต่ถามจริงๆ เถอะ เวลาวิศวกรเข้ามาจัดการ ก็มักจะมองเห็นแนว
ของรางรถไฟ สถานที่ตั้งของสถานีรถไฟ มองเห็นแค่นั้น ไม่มีการเชื่อมโยงเกี่ยวกับการเกิดเมืองเลย ทั้งที่
จริงการสร้างรถไฟจะเกี่ยวกับเมือง เกี่ยวกับคนอีกจานวนมาก เพราะไม่มีคนทาแผน วิศวกรก็ไม่เคยคิด สิ่ง
ที่ต้องทา คือถ้าคุณจะสร้างรถไฟ ถนน หากคุณไม่สนใจเรื่อง “สร้างเมือง” ทุกอย่างจะล้มเหลวหมด
คุณสุริยนต์ ธัญกิจจานุกิจ
ผมมีข้อสงสัยอยู่อย่างหนึ่ง ทาไมคนทานโยบายของเรา (Policy maker ) ไม่สามารถคิดแบบนี้ได้มี
ปัจจัยเชิงระบบอย่างไร ที่ไม่เอื้อให้คนทานโยบาย (Policy maker ) คิดแบบนี้ ผมว่าอันหนึ่งคนทานโยบาย
ตั้งแต่ระดับกรมขึ้นไป อยู่ภายใต้ระบบที่รวมศูนย์อานาจ และระบบอุปถัมภ์ จะต้องมองระยะสั้น ฉาบฉวย
เพราะต้องทาผลงาน แต่การสร้างเมือง สร้างได้ยากมาก เป็นเรื่องระยะยาว ซับซ้อน ไม่เห็นผลงานเร็ว แต่
ตัดถนน ตัดรางรถไฟ เซ็นสัญญาระหว่างประเทศ จะเห็นผลงานเลย และตราบใดที่ระบบยังคงเป็นแบบนี้อยู่
แก้ปัญหาใดๆ ไม่ได้ เราไม่ได้โชคดีบ่อยที่จะมีรัฐบาลเผล็ดการ ที่สามารถสั่งการแก้ปัญหาพวกนี้ได้ทันที
เราคงต้องอยู่กับระบบกับที่พิการแบบนี้ ผมกาลังคิดว่ามีวิธีอื่นไหม ที่จะขับเคลื่อนเปลี่ยนแปลงเรื่องนี้ได้ ให้
29
เมืองสามารถพัฒนาได้ คงไม่ต้อง 100% ซึ่งเอาเข้าจริงผมไม่มั่นใจนัก ว่าการใช้มาตรา 44 ได้จะไปได้กับ
ระบบ Top down แบบนี้
ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า
ปัญหาเรื้อรังมานานมาก ถามมาทาไมเราไม่ทา เพราะว่าภูมิศาสตร์ คนที่อยู่เมืองร้อน อยู่ในที่อุดม
สมบูรณ์ ไม่ค่อยอยากวางแผน ถ้าไม่ลาบากจริงๆ ทีนี้เมื่อเกิดปัญหามาแล้ว สมัย พ.ศ. 2498 กรุงเทพ มี
สลัมเต็มไปหมด คนแห่ย้ายเข้ามาในเมืองหลวงจานวนมาก สมัยจอมพลสฤษดิ์ธนะรัชต์ ถูกฝรั่งทักเรื่อง
ดังกล่าว จึงจ้างเอกชนทาผังเมืองขึ้นมา ซึ่งจริงๆ ไม่ได้อยากจะทา ฝรั่งให้ทา สลัมเต็มไปหมด ไม่ว่าจะเป็น
สลัมเสาวนีย์ สลัมตรงรามาธิบดี เมื่อฝรั่งให้วาง เราก็วาง แต่เราไม่ได้สามารถทาปฏิบัติได้ ฝรั่งเขามาร่าง
กฎหมาย พ.ศ. 2495 เป็นกฎหมายผังเมือง ไม่ครอบคลุม มีประมาณ 30 มาตรา จากนั้นก็แก้อีก ในปี พ.ศ.
2518 เพื่อนาไปปฏิบัติ ซึ่งฝรั่งบอกให้ออกกฎหมายสองฉบับ แต่ก็ออกกฎหมายได้ฉบับเดียวคือ แผนรวม
แต่แผนเฉพาะ ไม่สามารถออกเป็นกฎหมายได้ เพราะผังเฉพาะ ต้องออกเป็น พ.ร.บ. เท่านั้น นี่เป็นจุดอ่อน
ทากฎหมาย ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2518 ไม่มี พ.ร.บ.ผังเฉพาะออกมาเลยสักฉบับ
ถ้าถามผมว่าจะก้าวข้ามไปอย่างไร สาหรับทางออกต่างๆ ที่หาทางออกไม่ได้เพราะแสดงว่ามันเป็น
ทางตัน ฉะนั้นทางตันจะก้าวข้ามได้ ต้องทะลุเท่านั้น ควรทะลุสักสองรูเล็กๆ ก่อน จะทะลุตรงไหน ผมเสนอ
ว่าต้องดึงกรมโยธาธิการและกรมผังเมืองมากินน้าใต้ศอก มาอยู่ใกล้ชิดกับอยู่สานักนายกรัฐมนตรี และ
ทางานควบคู่กับสภาพัฒน์ฯ ด้วย คนหนึ่งทาแผนพัฒนา คนหนึ่งทาเชิงพื้นที่ควบคู่ด้วยกัน และตั้งกรรมการ
การตั้งถิ่นฐานและการผังเมืองในสภาด้วย เชื่อว่าถ้าเป็นแบบนี้ได้จะมีทางออก
คุณทนงศักดิ์ วิกุล
ผมได้คุยกับอาจารย์เดชา ก่อนการประชุม ผมคิดว่าการแก้ไขปัญหาในประเทศเรา มีช่องทางอยู่ คือ
ยุคของทหารในอดีต จอมพลสฤษดิ์เป็นผู้มีวิสัยทัศน์ไกลมาก ทหารเวลามืดแปดด้าน พวกเขาจะรู้จักการใช้
ที่ปรึกษา จอมพลสฤษดิ์ใช้คนเป็น ผมนั่งคุยกอาจารย์วทัญํู ณ ถลาง เคยเล่าให้ฟังว่า ยุคในอดีต สมัยจอม
พลถนอม จอมพลประภาส เมืองไทยสลัมเต็มไปหมด จึงมาปรึกษาอาจารย์วทัญํู จะทาอย่างไรดีเกี่ยวกับ
เรื่อง human settlement และสุขภาวะ อาจารย์จึงเขียนแผนแม่บท การจัดตั้งการเคหะแห่งชาติ เสนอจอม
พลประภาส ซึ่งท่านก็รับ สมัยพลเอกเปรมเองเช่นเดียวกัน อยู่ในตาแหน่งประมาณ 8 ปี พลเอกเปรมใช้ที่
ปรึกษาเยอะมาก ปี พ.ศ. 2549 แก้ไขปัญหาค่าเงินบาท วิกฤตน้ามัน ก็ฟังจากที่ปรึกษา ถ้าสมมุติ พลเอก
ประยุทธ์ ดารงตาแหน่งประมาณ 7 ปี และใช้ที่ปรึกษาจานวนมาก จะสามารถทะลุทะลวงปัญหาได้ ถ้า
เมืองไทยกลับมาสู่เลือกตั้ง จะทาได้ยากมาก เช่นเรื่อง สลัมรามาธิบดี เมื่อก่อนเป็นสลัม แล้วมาสร้างใหม่
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก

More Related Content

What's hot

แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
Golfzie Loliconer
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
sukanya5729
 
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
พัน พัน
 
ความหมายของสตอรี่บอร์ด
ความหมายของสตอรี่บอร์ดความหมายของสตอรี่บอร์ด
ความหมายของสตอรี่บอร์ด
rungtip boontiengtam
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
Aekapoj Poosathan
 
การเขียนรายงานโครงงานการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
การเขียนรายงานโครงงานการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทยการเขียนรายงานโครงงานการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
การเขียนรายงานโครงงานการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
Thanawat Spdf Wongnang
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
tumetr1
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
peter dontoom
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพ
ณัฐะ หิรัญ
 

What's hot (20)

แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
 
ทฤษฏีก้างปลา
ทฤษฏีก้างปลา ทฤษฏีก้างปลา
ทฤษฏีก้างปลา
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
Macro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงินMacro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงิน
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 
รูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงานรูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงาน
 
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
 
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
 
ความหมายของสตอรี่บอร์ด
ความหมายของสตอรี่บอร์ดความหมายของสตอรี่บอร์ด
ความหมายของสตอรี่บอร์ด
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
การเขียนรายงานโครงงานการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
การเขียนรายงานโครงงานการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทยการเขียนรายงานโครงงานการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
การเขียนรายงานโครงงานการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
บทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานบทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงาน
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
 
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
 
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพ
 

Viewers also liked

นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมานโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
FURD_RSU
 
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
FURD_RSU
 
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทยวิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย
FURD_RSU
 
ทางออกในการพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรคทางนโยบายและกลไกที่ต้องก้าวข้าม โ...
ทางออกในการพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต:  อุปสรรคทางนโยบายและกลไกที่ต้องก้าวข้าม โ...ทางออกในการพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต:  อุปสรรคทางนโยบายและกลไกที่ต้องก้าวข้าม โ...
ทางออกในการพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรคทางนโยบายและกลไกที่ต้องก้าวข้าม โ...
FURD_RSU
 
หนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
หนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมหนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
หนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
FURD_RSU
 
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ (เชียงใ...
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ  (เชียงใ...Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ  (เชียงใ...
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ (เชียงใ...
FURD_RSU
 
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง daL3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
Saiiew
 

Viewers also liked (20)

นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมานโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
 
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 201510 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
 
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัลบทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
 
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
 
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทยวิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย
 
เมืองขอนแก่นกับนวัตกรรมการพัฒนา
เมืองขอนแก่นกับนวัตกรรมการพัฒนาเมืองขอนแก่นกับนวัตกรรมการพัฒนา
เมืองขอนแก่นกับนวัตกรรมการพัฒนา
 
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคตUrbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
 
Urbanization ของนครนนทบุรีและปริมณฑลในปัจจุบัน และอนาคต
Urbanization ของนครนนทบุรีและปริมณฑลในปัจจุบัน และอนาคตUrbanization ของนครนนทบุรีและปริมณฑลในปัจจุบัน และอนาคต
Urbanization ของนครนนทบุรีและปริมณฑลในปัจจุบัน และอนาคต
 
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมืองPPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
 
PPT การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืนในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
PPT การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืนในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมPPT การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืนในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
PPT การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืนในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
 
FURD Cities Monitor Vol.2 (February 2017)
FURD Cities Monitor Vol.2 (February 2017)FURD Cities Monitor Vol.2 (February 2017)
FURD Cities Monitor Vol.2 (February 2017)
 
ทางออกในการพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรคทางนโยบายและกลไกที่ต้องก้าวข้าม โ...
ทางออกในการพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต:  อุปสรรคทางนโยบายและกลไกที่ต้องก้าวข้าม โ...ทางออกในการพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต:  อุปสรรคทางนโยบายและกลไกที่ต้องก้าวข้าม โ...
ทางออกในการพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรคทางนโยบายและกลไกที่ต้องก้าวข้าม โ...
 
แนวคิด
แนวคิดแนวคิด
แนวคิด
 
แนวคิดและข้อเสนอเพื่อการพัฒนายุทธศาสตร์ไทย
แนวคิดและข้อเสนอเพื่อการพัฒนายุทธศาสตร์ไทยแนวคิดและข้อเสนอเพื่อการพัฒนายุทธศาสตร์ไทย
แนวคิดและข้อเสนอเพื่อการพัฒนายุทธศาสตร์ไทย
 
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนาบทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
 
กำหนดหลักเกณฑ์การใช้จ่ายเงินสะสมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามมาตรการสนับสนุ...
กำหนดหลักเกณฑ์การใช้จ่ายเงินสะสมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามมาตรการสนับสนุ...กำหนดหลักเกณฑ์การใช้จ่ายเงินสะสมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามมาตรการสนับสนุ...
กำหนดหลักเกณฑ์การใช้จ่ายเงินสะสมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามมาตรการสนับสนุ...
 
หนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
หนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมหนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
หนังสือ การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืน ในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
 
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ (เชียงใ...
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ  (เชียงใ...Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ  (เชียงใ...
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ (เชียงใ...
 
พัฒนาการท่องเที่ยวไทยด้วยวิจัยและนวัตกรรม
พัฒนาการท่องเที่ยวไทยด้วยวิจัยและนวัตกรรมพัฒนาการท่องเที่ยวไทยด้วยวิจัยและนวัตกรรม
พัฒนาการท่องเที่ยวไทยด้วยวิจัยและนวัตกรรม
 
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง daL3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
 

More from FURD_RSU

เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
FURD_RSU
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
FURD_RSU
 

More from FURD_RSU (20)

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
 

การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก

  • 1.
  • 2. การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรคกลไกนโยบาย และทางออก ศาสตราจารย์กิตติคุณ เดชา บุญค้า ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (ภูมิสถาปัตยกรรม) ประธานคณะอนุกรรมาธิการวิสามัญศึกษานโยบาย กฎหมาย และโครงสร้างหน่วยงานการตั้งถิ่นฐานและ การผังเมือง วุฒิสภา
  • 3. ผู้เขียน ศาสตราจารย์กิตติคุณ เดชา บุญค้า บรรณาธิการบริหาร : นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล บรรณาธิการวิชาการ : นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล ผู้ถอดความ : นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง กองบรรณาธิการ : นายฮากีม ผูหาดา, นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง, นายอรุณ สถิตพงศ์สถาพร,นายฮาพีฟี สะมะแอ ปก : นายอรุณ สถิตพงศ์สถาพร รูปเล่ม : นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง ปีที่เผยแพร่ : มิถุนายน พ.ศ. 2558 ผู้เผยแพร่ : ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับมูลนิธิสถาบันสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ (CPWI) ภายใต้แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง ผู้สนับสนุน : สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
  • 4. สารบัญ ตอนที่ 1 1. ปัญหาภัยธรรมชาติ : น้าท่วมเมือง 1 2. สาเหตุ “น้าท่วมเมือง” ที่แท้จริง 1 3. สาเหตุอื่นๆ ที่ส่งผลต่อน้าท่วมเมือง 2 4. วิธีป้องกันและแก้ไขปัญหา 15 5. ข้อเสนอเชิงนโยบาย : ธรรมนูญการผังเมือง 16 ตอนที่ 2 1. ตัวอย่างเมือง 18 2. การแลกเปลี่ยนความคิด 23
  • 5. 1 การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรคกลไกนโยบายและทางออก ศาสตราจารย์กิตติคุณ เดชา บุญค้า1 ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (ภูมิสถาปัตยกรรม) ประธานคณะอนุกรรมาธิการวิสามัญศึกษานโยบาย กฎหมาย และโครงสร้างหน่วยงานการตั้งถิ่นฐานและ การผังเมือง วุฒิสภา ตลอดที่ผ่านมา เรื่องการปฏิรูประบบการผังเมือง เป็นเรื่องที่หลายคนเสนอให้แก้ไข แต่ไม่สามารถ สร้างความสนใจให้แก่ผู้มีอานาจได้ และส่วนใหญ่ยังคงเป็นตัวหนังสือเท่านั้น ซึ่งการจัดการเรื่องผังเมืองมี อุปสรรคทางนโยบาย และกลไกที่ต้องก้าวข้าม แต่แท้จริงแล้ว เรื่องผังเมืองเป็นเรื่องที่มีทางออกและมี ข้อเสนอเชิงนโยบายที่จะแก้ปัญหาได้ โดยจะนาเสนอในลาดับต่อไป ตอนที่ 1 1. ปัญหาภัยธรรมชาติ : น้าท่วมเมือง ต้นตอของปัญหาความทุกข์ร้อน ต้นตอของการผังเมือง ที่เป็นแทบทุกเมืองที่กาลังเผชิญอยู่นอกจาก ปัญหาสังคม คือ ปัญหาเรื่องภัยธรรมชาติ การละเมิดธรรมชาติ รวมไปถึงปัญหามากมายในเชิงพื้นที่ ที่เห็น ภาพชัดเจนที่สุดคือ น้าท่วมใหญ่ ปี พ.ศ. 2554 ทั้งภาคกลางและกรุงเทพมหานคร เสียหายหลายแสนล้าน ที่ กลายเป็นปัญหาเช่นนี้ส่วนหนึ่งเกิดจากการใช้ที่ดินผิดประเภท จากเมื่อก่อนที่พื้นที่เป็นนาข้าว หากมีน้า ท่วม เสียหายไม่มาก ชดเชยไม่กี่ล้านบาท แต่เมื่อเปลี่ยนเป็นนิคมอุตสาหกรรม เสียหายมากกว่ามาก แสดง ให้เห็นถึงการใช้ที่ดินผิดประเภท และไม่มีการวางแผนการใช้ที่ดินมาก่อน 2. สาเหตุ “น้าท่วมเมือง” ที่แท้จริง สาเหตุ “น้าท่วมเมือง ที่แท้จริงเกิดจากการขยายเมืองลงที่ลุ่มที่น้าท่วมถึง ถ้าไม่มีเมืองก็ไม่ท่วม เมือง เราสร้างเมืองไปอยู่ในที่ลุ่ม อาจเพราะเป็นสังคมเกษตรกรรม จึงทาให้พื้นที่เล็กๆ ขยายเป็นเมือง จน 1 1 ถอดความจากการประชุมเวทีวิชาการ เรื่อง “ทางออกในการพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรคทางนโยบายและกลไกที่ต้องก้าวข้าม” เมื่อวันจันทร์ ที่ 18 พฤษภาคม 2558 ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ ระหว่างเวลา 14.00 – 17.00 น จัดโดยแผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการ พัฒนาอนาคตของเมือง ภายใต้ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับมูลนิธิสถาบันสร้างสรรค์ปัญญา สาธารณะ โดยการสนับสนุนของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
  • 6. 2 เกินขีดความสามารถในการรองรับตามธรรมชาติของพื้นที่ วิธีป้องกันที่ยั่งยืนเรื่องน้าท่วม คือ การหยุด ขยายเมืองในที่ลุ่ม แล้วหาพื้นที่ใหม่ที่น้าไม่ท่วม ปลอดจากภัยพิบัติ และมีดินที่ไม่เหมาะกับการเกษตร ดินเสีย เพื่อไว้สาหรับสร้างเมือง ที่ยังเหลือ 350 ล้านไร่(ดินเสีย) ในประเทศ ซึ่งจะต้องวางแผน ตั้งแต่มห ภาคสู่จุลภาค จากธรรมชาติสู่สิ่งมนุษย์สร้าง ดังนั้น ในเชิงของ การวางแผนเชิงพื้นที่ การวางแผนภูมิทัศน์ ขนาดใหญ่จึงเป็นกระบวนการขั้นต้น ซึ่งประเทศไทยไม่เคยนามาใช้เลย โดยเมื่อใช้คาว่าการวางแผนภูมิ ทัศน์ คนส่วนใหญ่เข้าใจผิด ว่าการวางแผนภูมิทัศน์หมายถึงการจัดสวนหย่อม แต่แท้จริงแล้ว หมายรวมไป ถึงการศึกษาภูมิสัณฐาน ธรรมชาติของผืนแผ่นดิน แม่น้าด้วย 3. สาเหตุอื่นๆ ที่ส่งผลต่อน้าท่วมเมือง 3.1.ขาดการวางแผนเชิงพื้นที่ การวางแผนเชิงพื้นที่อย่างระมัดระวัง สามารถหลีกเลี่ยงปัญหาจากภัยธรรมชาติได้ผลดีที่สุด ปัจจุบันความรู้และเทคโนโลยีใหม่ด้านภูมิศาสตร์สารสนเทศ มีครบถ้วน มีหน่วยงานครบถ้วน เอื้อให้การ วางแผนเชิงพื้นที่มีค่าใช้จ่ายที่ถูกกว่าเดิมมาก จากเมื่อก่อนต้องทาสีไว้ตรงโฉนด ปัจจุบันแค่เข้า Google สามารถทาแผนที่ออกมาได้ง่ายๆ แต่ประเทศไทยยังไม่ได้นามาใช้อย่างจริงจัง ในกระบวนวางผัง หรือทา เกี่ยวกับแผนเรื่องผังเมือง ส่วนหนึ่งที่ยังไม่สามารถนามาใช้ได้อย่างจริงจัง เป็นเพราะมีอุปสรรค คือ เนื่องจากไม่มีการวางแผน ภาคเชิงพื้นที่ที่ถูกต้องเพื่อบังคับใช้อย่างเป็นทางการสาหรับใช้ในการทา “ผังพัฒนา” ที่สอดคล้องและตอบ รับกับธรรมชาติและวัฒนธรรม เพื่อใช้เป็นผังแม่บทแก่ผังเมืองท้องถิ่น ประเทศไทยยังขาดตัวเชื่อมโยง ระหว่าง “แผนผังเมืองระดับชาติ” และระดับท้องถิ่น ซึ่งปัจจุบันมีแต่จังหวัด เช่น กรุงเทพฯ เชียงใหม่ เป็นต้น เป็นปัญหาเชิงระบบ กลไกและกระบวนการวางผังเมือง ซึ่งเป็นตัวถ่วงสาคัญต่อการพัฒนาเมือง ที่นาไปสู่ ความยั่งยืน ซึ่งเป็นต่อเนื่องกันมาตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๗๖ โดยมีสาเหตุเกิดจาก 1. การขาดนโยบายการตั้งถิ่นฐานและการผังเมืองระดับชาติที่นาไปสู่อนาคตที่ยั่งยืน เมื่อถูกเสนอเข้า รัฐสภา ก็ถูกปฏิเสธเสมอ 2. ขาดหน่วยงานนโยบายและแผนเชิงพื้นที่ระดับชาติเพื่อกากับการพัฒนาพื้นที่ ให้สอดคล้องกับ ธรรมชาติของพื้นที่ เป็นต้นเหตุทาให้เราทุกข์ยากในวันนี้ เพราะการพัฒนาพื้นที่ไม่สอดคล้องกับ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ที่ขัดแย้งต่อเนื่องมามากว่า 50 ปี 3. ปัญหาการออก-ปรับปรุงกฎหมายผังเมือง ทาได้ยากมาก เพราะกฎหมายให้สิทธิ์ส่วนบุคคลเหนือ สิทธิ์ส่วนรวม) นอกจากฎหมายผังเมือง ไม่สามารถเกิดล่วงหน้าก่อนเกิดปัญหา โดยผังเมืองทา
  • 7. 3 ตามหลังการพัฒนา ซึ่งกลุ่มนักธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ มักซื้อที่ดิน ที่รอให้ผังเมืองหมดอายุเพื่อ พัฒนาได้ตามใจชอบ หรือบีบให้เปลี่ยน “สี” การใช้ที่ดิน เพิ่มมูลค่าที่ดินได้อีกมาก 4. การเพิ่มประชากรเมือง จากเมื่อสมัยรัชกาลที่ 5 มีไม่ถึง 10% เพิ่มเป็น 15% 35% และในอนาคต จะเพิ่มขึ้นประมาณ 75% ซึ่งเป็นแนวโน้มของการเกิด Urbanization 5. การประกาศใช้ พ.ร.บ.การกระจายอานาจให้ท้องถิ่น 7,853 แห่ง ซึ่งสามารถวางผังเมืองได้เป็นอิสระ ซึ่งท้องถิ่นเองก็ไม่เคยวางมาก่อน ทาให้ท้องถิ่นวางไม่เป็น ยิ่งทาให้สถานการณ์ด้านการผังเมือง เลวร้ายลงในวงกว้างทั่วประเทศ กลายเป็นปัญหาใหญ่ในทุกวันนี้ 3.2.การใช้ที่ดินผิดลักษณะธรรมชาติ การแก้ปัญหาผังเมือง และการแก้ปัญหาอุทกภัยกรุงเทพฯ ที่กล่าวมานั้นได้แบบยั่งยืนได้หรือไม่ คาตอบคือ ไม่มีทางแก้ได้ ทาได้เพียงบรรเทา ทั้งนี้เป็นเพราะว่าน้าหลากท่วมที่ราบลุ่มเป็นธรรมชาติที่มีมา แต่ดึกดาบรรพ์ ล้านปี แสนปี และจะหลากท่วมต่อไปอีกนับหมื่นนับแสนปี โดยน้ากาลังปฏิบัติหน้าที่ใน กระบวนการสร้างที่ราบตามธรรมชาติ (รูปที่ 1 ) หากเป็นที่ราบเมื่อไหร่ น้าท่วมแน่นอน ยกเว้นแผ่นดิน ยกขึ้น ด้วยธรรมชาติพื้นที่แบบนี้ไม่ควรสร้างเมือง แต่ควรให้เป็นพื้นที่เกษตรกรรม แต่ปัจจุบันได้เปลี่ยนเป็น นิคมอุตสาหกรรมจานวนมาก อีกทั้งจะเห็นว่า กรุงเทพฯ คือ “ก้อน(เมือง)” ขวางทางน้าลงทะเล (รูปที่ 2 ) เมื่อขยายเมืองมากเท่าไหร่ จะทาให้น้าท่วมพื้นที่ตอนบนนานขึ้น แต่ปัญหานี้ไม่มีใครสนใจ ซึ่งจริงๆ แล้ว กรุงเทพควรจะหยุดการขยายเมืองได้แล้ว รูปที่ 1 กระบวนการสร้างที่ราบตามธรรมชาติ
  • 8. 4 3.3.การกระจายตัวของประชากร ที่ไม่สมดุล สาเหตุที่คนไทยสมัยใหม่ต้องทนอยู่ในเมืองที่ลุ่ม โดยเฉพาะกรุงเทพฯ ทั้งนี้เพราะเกิดการกระจาย ตัวของประชากรที่ไม่สมดุล คือ ผู้คนหลั่งไหลย้ายเข้ามาในกรุงเทพ เพราะเป็นช่องทางในการทางาน และคิด ว่าหากเข้ามาจะไม่มีทางอดตาย ได้ตาแหน่ง รายได้สูง มีความมั่นคงในชีวิตการงานและครอบครัว มีสวัสดิ ภาพ มีสิ่งอานวยความสะดวกที่จาเป็นแก่วิถีการดารงชีวิตแบบใหม่พร้อมมีโอกาสได้งานดีๆ สาหรับทุก ระดับความรู้ อายุ จะแก่หรือเด็ก อยู่ได้หมด หรือแม้กระทั่งหมดหน้าทานา ขายข้าวไม่ได้ ก็ย้ายเข้ามา ทางาน มากวาดถนน มาก่อสร้าง ขับแท็กซี่ มาเรียนหนังสือ ซื้อรถได้ ทาได้ทั้งหมดในเมืองแห่งนี้ ด้วยเหตุนี้จึงทาให้กรุงเทพกลายเป็น “เมืองโตเดี่ยว (Primate city)” ที่ใหญ่ที่สุดในโลก เป็น ปัญหาใหญ่ของการตั้งถิ่นฐานของประเทศไทย กรุงเทพฯ ถูกยกให้เป็นตัวอย่างเมืองเลวที่ดีที่สุดของโลก เพราะเมืองโตเดี่ยวเป็นเป็นแม่เหล็กที่ใหญ่มาก ดูดความเจริญจากภูมิภาค และที่สาคัญกรุงเทพกาลังจะ ประสบปัญหาใหญ่ คือ ใกล้อัมพาตรักษาไม่ได้ (Unmanageable Size) ขนาดของเมืองจะจัดการอะไรไม่ได้ ยิ่งสร้างเมือง มีการจ้างงาน คนยิ่งหลั่งไหลเข้ามา เอาลูกเอาเมียมา ไปไหนไม่ได้ นี่คือกรุงเทพ เมื่อดูตาราง รายชื่อเมืองใหญ่ของประเทศไทยเรียงตามจานวนประชากร ตามทะเบียนราษฎร์ (ตารางที่ 1) ยิ่งเห็นว่า กรุงเทพมีขนาดใหญ่กว่าเมืองอื่นๆ ในประเทศไทยมาก ใหญ่กว่าอันดับ 2 อย่าง เทศบาลนครนนทบุรี ถึง 22 รูปที่ 2 การใช้ที่ดินผิดลักษณะธรรมชาติ
  • 9. 5 เท่า และใหญ่กว่า เทศบาลนครแม่สอดถึง 161 เท่า ที่เป็นเช่นนี้เพราะส่วนหนึ่งเราปล่อยให้เมืองใหญ่เกินไป และไม่มีใครสนใจที่จะพูดถึงปัญหาเมืองโตเดี่ยว ปัญหาผังเมืองไทย ที่จะทาให้ทุกอย่างเสียหาย ไม่ว่าจะเป็น เรื่องการตั้งถิ่นฐาน จนโยงไปถึงการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ตารางที่ 1 รายชื่อเมืองใหญ่ของประเทศไทยเรียงตามจานวนประชากร ตามทะเบียนราษฎร์ ลาดับ เมือง พื้นที่ (กม.2 ) ประชากร (ตาม ทะเบียนบ้าน) จังหวัด เล็กกว่า กรุงเทพฯ (เท่า) 1 กรุงเทพมหานคร 1,568.73 5,701,394 - 2 เทศบาลนครนนทบุรี 38.90 261,474 นนทบุรี 22 6 เทศบาลนครเชียงใหม่ 40.00 141,366 เชียงใหม่ 40 9 เทศบาลนครขอนแก่น 46.00 113,754 ขอนแก่น 50 16 เทศบาลนครภูเก็ต 12.00 74,218 ภูเก็ต 77 19 เทศบาลนครแหลมฉบัง 109.65 70,770 ชลบุรี 80 24 เทศบาลนครลาปาง 22.17 57,558 ลาปาง 99 29 เทศบาลนครแม่สอด 27.2 35,365 ตาก 151 ที่มา : เดชา บุญค้า 2558 นาเสนอ “ทางออกในการพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรคทางนโยบาย และกลไกที่ต้องก้าวข้าม” ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ โฮเทล 3.4.ปัญหาผังเมืองไทย วิสัยทัศน์และผังเมืองของประเทศไทย กรมโยธาธิการและผังเมืองได้ทาผังเมืองประเทศไทยในปี พ.ศ.2600 (รูปที่ 3 ) ประเทศไทยเป็นครัวของโลก เป็นอู่ข้าวอู่น้าของโลก แต่กลายเป็นว่ามีแผนมาสร้าง เมืองอยู่ในที่ดังกล่าวด้วย ให้กลายเป็นชุมชนเมือง ไม่ว่าจะก่อสร้างสิ่งใด ย่อมไปไม่รอด เพราะต้องถูกน้า ท่วม ซึ่งไม่เข้าใจเหมือนกันว่าเหตุใดจึงยังกาหนดให้เมืองใหญ่ เมืองเล็ก มาสร้างในพื้นที่เกษตรกรรมในปี พ.ศ. 2600 หากพื้นที่รับน้าเป็นพื้นที่เกษตรกรรม อุทกภัยที่เกิดขึ้นจะเป็น “คุณ” อย่างยิ่งกับพื้นที่เหล่านั้น เพราะทุกครั้งที่น้ามาข้าวจะสวยงาม สมบูรณ์ แต่ปัจจุบันที่กลายเป็นเมืองใหญ่ เป็นนิคมอุตสาหกรรม อุทกภัยที่เกิดขึ้นจึงกลายเป็น “โทษ” ทันที (รูปที่ 4)
  • 10. 6 รูปที่ 3 วิสัยทัศน์และผังเมืองของประเทศไทยปี พ.ศ. 2600 รูปที่ 4 คุณและโทษของการเกิดอุทักภัย
  • 11. 7 3.4.1. สาเหตุของความล้มเหลว ด้านนโยบายและแผนการตั้งถิ่นฐาน และการผังเมืองของ ประเทศไทย สาเหตุของความล้มเหลว ด้านนโยบายและแผนการตั้งถิ่นฐาน และการผังเมืองของประเทศไทย เป็นเพราะกลไกและกระบวนการวางแผนเชิงพื้นที่ จากระดับชาติสู่ระดับท้องถิ่น ติดขัดไปหมด ไม่ต่อเนื่อง ขัดแย้ง และไร้ประสิทธิภาพ ทั้งนี้การผังเมืองมี 2 ระดับ คือ ระดับชาติ / ระดับท้องถิ่น และมีระยะยาว/ ระยะสั้น และระยะพัฒนา ไม่เคยสอดคล้องกลมกลืน ไม่เคยมุ่งสู่อนาคตที่ยั่งยืนมาก่อน และไม่เคยมีเมือง ไหนที่สานักผังเมือง หรือกรมการผังเมืองในสมัยนั้น สามารถบังคับใช้ได้แม้แต่เมืองเดียว ซ้าเติมด้วยปัญหา ที่เกิดจากการกระจายอานาจ (ผังเมือง) ฯ สู่ท้องถิ่น 3.4.2. การวางผังเมือง เชิงพื้นที่ เปรียบเสมือนเป็นวงดุริยางค์ (ผังเมือง) แห่งชาติของประเทศ ไทย (Thailand’s National Planning Orchestra) เพื่อให้เข้าใจถึงสาเหตุของความล้มเหลวด้านนโยบายและแผนการตั้งถิ่นฐาน และการผังเมืองของ ประเทศไทย จึงทาการสมมุติว่าการวางผังเมือง เชิงพื้นที่ เปรียบเสมือนเป็นวงดุริยางค์ (ผังเมือง) แห่งชาติ ของประเทศไทย (Thailand’s National Planning Orchestra) (รูปที่ 5) ซึ่งวงดุริยางค์ปกติจะต้องเล่นพร้อม กันหลายคน พร้อมๆ กัน รูปที่ 5 Thailand’s National Planning Orchestra
  • 12. 8 อธิบายคือ Conductor ในวงดุริยางค์ผังเมือง คือ กรมโธยาธิการและผังเมือง กรมผังเมืองที่ยุบไปอยู่ ภายใต้กรมโยธาธิการและผังเมือง เทียบเท่า กลอง ซึ่งทั้งคู่ต้องทาหน้าที่ควบคุม นักดนตรีทั้งหมดซึ่งคือ กทม. เทศบาลต่างๆ ทั่วประเทศไทย แต่ทว่าต่างคนต่างเล่น เล่นกันคนละอัน มีนักดนตรี 7,800 กว่าคน เล่นโดยเสรี โดยที่รัฐบาลซื้อเครื่องดนตรีให้ คือ การให้งบประมาณ ไม่เพียงแค่นั้น วงดุริยางค์ “การผังเมือง” ของประเทศไทย (Thailand’s National Spatial Planning Orchestra) ไม่มีบทเพลง ไม่มีซิมโฟนี่ ไม่มีโน้ตกลาง คล้ายกับปัจจุบันเรื่องผังเมืองที่ไม่มีวิสัยทัศน์ เช่น ถิ่นฐานที่ยั่งยืน น้าไม่ท่วม เมืองสะดวกน่าอยู่ ไม่มีผู้ประพันธ์เพลงรวม คือ ไม่มีผู้กาหนดนโยบาย แห่งชาติตามวิสัยทัศน์ หากศึกษาแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ไม่มีเรื่องเชิงพื้นที่เลย หากเป็น ต่างประเทศเช่น สิงคโปร์ จะกาหนดอนาคตเลยว่า สิงคโปร์ต้องเป็น Garden City มีองค์กรต่างๆ คอยดูแล เรื่องนี้ แต่ประเทศไทยไม่มีเลย นอกจากนี้วงดุริยางค์ การผังเมือง นี้ ไม่มีวาทยกร คือคนดูแลผังระดับชาติ มีแต่กรมโยธาฯ แต่ยังคงเป็นเด็ก และไม่มีหน่วยงานวางแผนระดับชาติ ไม่มีโน้ตกลาง คือ ไม่มีผังภาค มี แต่ผังจังหวัด ในเชิงกายภาพ ไม่มีมาตรฐานและเกณฑ์กลางที่ใช้การได้จริง ผู้แสดง 7,853 คน คือ หน่วยงานท้องถิ่น ซึ่งต่างคนต่างเล่น จาเป็นต้องเล่นโดยที่เล่นไม่เป็น เพราะงบส่งไปแล้ว พัฒนาไปเรื่อยๆ 3.4.3. ผังลิชฟิ ลด์ : บทเรียนสาหัส ที่ไม่จดจา ผังลิชฟิลด์ คือ ผังเมืองรวมของกรุงเทพและธนบุรี เริ่มวางครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ.2500 (รูปที่ 6) บังคับ ใช้ปี พ.ศ. 2503 เป็นผังที่รับรู้ธรรมชาติน้าหลาก แต่เนื่องจากผังนี้ยังขาดกฎหมายรองรับ ทาให้ผังลิชฟิลด์ ไม่สามารถบังคับใช้ให้เป็นไปตามแผนที่ ในปี พ.ศ.2515 มีการปรับปรุงผังลิชฟิลด์โดยสานักผังเมือง เริ่ม เห็นการทาผังที่ไม่รับรู้ธรรมชาติ จนปรับอีกครั้งในปี พ.ศ. 2549 (สังเกตผังที่ 3) กลายเป็นผังที่ไม่รับรู้ ธรรมชาติ และขวางทางน้าทะเล อีกทั้งตรง Land use สีเหลือง เดินทางแค่ 40 กิโลเมตร ใช้เวลากว่า 3 ชม. ด้วย รูปที่ 6 ผังลิชฟิลด์ ผังแรกจนถึง
  • 13. 9 หากลองสังเกตผังลิชฟิลด์ครั้งที่ 1 (รูปที่ 7) ปี พ.ศ. 2500 ขณะนั้นมี ประชากร 1.8 ล้านคน ปัจจุบัน 10 ล้าน (รวมประชากรแฝง) ตัวผังจะมีคลองผันน้าตะวันออก ใต้ดอนเมือง โดยน้าจะไหลตรงดิ่ง ออกไปได้ และมีคลองผันน้าทางตะวันตก สามารถผันน้าตั้งแต่สามโคกลงมาได้ แต่เมื่อปรับผังครั้งที่ 2 ได้ นาผังนี้เข้าคณะรัฐมนตรี แสดงความคิดเห็นให้เก็บส่วนที่ดี และตัดส่วนที่ไม่ต้องการ ซึ่งผลออกมาให้ตัด แม่น้าทั้งสองข้างออก จึงทาให้ไม่มีคลองผ่านน้าให้น้าไหลลงทะเลทั้งสองข้างทั้งทางตะวันตกและทาง ตะวันออก แต่ปัจจุบันการทาผังเมือง ช่วงหลังการพัฒนา พื้นที่สีเขียวต่างๆ เปลี่ยนไปทั้งหมด สร้างสิ่งต่างๆ แบบไม่มีแผน กลายเป็นผังเมืองที่ไม่รับรู้ธรรมชาติอีกต่อไป 3.4.4. เปรียบเทียบผังเมือง ฮานอย – กรุงเทพ เมื่อเปรียบผังเมืองของกรุงฮานอย ประเทศเวียดนาม และผังเมืองของกรุงเทพฯ ประเทศไทย จะ เห็นถึงผังเมืองที่เคารพธรรมชาติและผังเมืองที่ไม่เคารพธรรมชาติ ผังเมืองของกรุงฮานอย แสดงให้เห็นถึง ผังเมืองที่เคารพธรรมชาติ (รูปที่ 8) วางผังเมืองแบบยั่งยืนที่นาด้วยธรรมชาติ รักษาพื้นที่เพาะปลูกและใช้ เป็น flood plain และสร้างเมืองบนที่พ้นน้าท่วมวางผังเมืองเป็นกลุ่มก้อนและหนาแน่นเพื่อย่นระยะการ เดินทาง สีเขียวเข้มคือกลุ่มต้นไม้ใหญ่ ปลุกเป็นป่า และปลูกเป็นแนวยาวตามลาน้า หากลองมาดูผังเมือง ของ กรุงเทพฯ จะใช้เขตการปกครองและธุรกิจเป็นตัวนา ไม่ยึดลักษณะธรรมชาติและปล่อยให้เมืองขยายตัว กระจายลงไปในที่ลุ่มน้าต่า น้าจึงท่วมเมือง นอกจากนี้ การกระจายตัวมากทาให้ระยะการเดินทางประจาวัน ไกล ใช้เวลามาก การจราจรจึงติดขัดและกลายเป็นเมืองที่ไม่น่าอยู่ รูปที่ 7 ผังลิชฟิลด์ครั้งที่ 1
  • 14. 10 นอกจากนี้ ลองสังเกตผังเมืองของกรุงเทพ (รูปที่ 9) จะเห็นว่า พื้นที่มีศักยภาพ เป็นถิ่นฐานชุมชน เมืองใหม่ขนาดใหญ่ในระยะยาวบริเวณภาคกลาง แต่เรากลับขยายกรุงเทพขวางทางน้าเหมือนเดิม ปิดทาง น้าลงสู่อ่าวไทย รูปที่ 8 เปรียบเทียบระหว่างผังเมืองกรุงฮานอยและกรุงเทพ รูปที่ 9 ผังกรุงเทพปิดทางน้าลงอ่าวไทย
  • 15. 11 3.4.5. การจัดทาแผนภาคเชิงบูรณาการ ( Integrated Regional Planning ) เมื่อให้เห็นแผนที่ชัดขึ้น เกี่ยวกับปัญหาการวางผังเมืองและการตั้งถิ่นฐาน หากลองจัดทาผังภาค บูรณาการเชิงพื้นที่รายลุ่มน้า (รูปที่ 10) ซึ่งจัดทาแผนที่แสดงเขตน้าท่วมให้ครบทุกลุ่มแม่น้าย่อย จะเห็นว่า ประเทศไทยมี 9 กลุ่มลุ่มแม่น้า เป็น 25 ลุ่มน้าใหญ่ และ 254 ลุ่มน้าย่อย ลุ่มแม่น้าเจ้าพระยา (รูปด้านขวา) ลุ่มแม่น้าย่อย และเขตที่น้าท่วมซ้าซาก ต่อมาลองศึกษาตัวอย่างแผนภาพในต่างประเทศ ที่จัดทาให้เห็นว่า พื้นที่ชุมชนเมืองที่จะขยายในอีก 10 ปีข้างหน้า (รูปที่ 11 ) ให้ความสาคัญเกี่ยวกับเรื่องธรรมชาติ (สีแดง) พร้อมคาดการณ์ว่าอีกกี่ปีข้างหน้า จะมีการพัฒนาชุมชนเกิดขึ้น ทาเทียบคู่กับแผนภาพ ผังเขตพื้นที่น้าท่วม (รูปที่ 12) รอบ 100 ปี ที่บริษัท ประกันไม่จ่าย เมื่อลองทาบทั้งสองแผนภาพเข้าด้วยกัน (รูปที่ 13) จะเห็นว่าพื้นที่เมืองนั้นจะไม่อยู่ในพื้นที่ ของน้าท่วม ซึ่งนักพัฒนา นักผังเมืองท้องถิ่น จะสามารถพัฒนาเมืองได้ถูกทางได้ เมื่อใช้เทคนิคการซ้อนทับ รูปที่ 10 จัดทาแผนที่แสดงเขตน้าท่วมให้ครบทุกแม่น้าลุ่มย่อย
  • 16. 12 จากเทคนิคการซ้อนทับดังกล่าว ลองนามาปรับใช้กับพื้นที่น้าท่วมใหญ่ พ.ศ. 2554 และที่ตั้งเมือง ตามแผนผังประเทศ พ.ศ.2600 (รูปที่ 14) เมื่อนาพื้นที่มาซ้อนทับกัน เมืองต่างๆ ในปี พ.ศ. 2600 ยังคง ตั้งอยู่ในพื้นที่น้าท่วม (รูปที่ 15) ทั้งที่รู้ว่าเขตพื้นที่น้าท่วม แต่เราก็ยังวางเมืองในอนาคตในพื้นที่ดังกล่าว ซึ่ง รูปที่ 11 แผนภาพพื้นที่ชุมชนเมือง 10 ปีข้างหน้า รูปที่ 12 พื้นที่น้าท่วมในรอบ 100 ปี รูปที่ 13 แผนภาพซ้อนทับระหว่างพื้นที่ชุมชนเมือง และพื้นที่น้าท่วม
  • 17. 13 เรื่องนี้ไม่มีใครสนใจหรือตระหนักบ้าง ภัยธรรมชาตินี้จะเป็นปัญหาใหญ่สาหรับการพัฒนาเมืองและตั้งถิ่น ฐานอย่างยิ่ง รูปที่ 14 พื้นที่น้าท่วมใหญ่ และที่ตั้งเมือง พ.ศ. 2600 รูปที่ 15 การซ้อนทับระหว่างพื้นที่น้าท่วม และที่ตั้งเมือง พ.ศ. 2600
  • 18. 14 3.4.6. ปัญหา “โลกร้อน-การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ส่งผลต่อการตั้งถิ่นฐานและผังเมืองไทย สภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงไปของโลก ทาให้เกิดสภาวะโลก ซึ่งมีความหมายต่อการตั้งถิ่นฐาน (การผังเมือง) ของประเทศไทย เพราะผลกระทบจากโลกร้อนตอนนี้ ส่งผลให้น้าท่วมชายฝั่ง การกัดเซาะ ชายฝั่ง น้าทะเลหนุนลึก ซึ่งในอนาคตจะทาให้เราไม่มีน้าประปาใช้ กรุงเทพจะขาดน้าจืด เหลือเพียงน้าดิบ เท่านั้น อีกทั้งน้าเหนือลงทะเลไม่ได้ จึงทาให้เอ่อท่วมนานขึ้น สิ่งเหล่านี้เป็นปัญหาที่ใหญ่มากในอนาคต ข้อมูลจาก The National Geography พบว่า อีก 5,000,000 ปี เมืองสาคัญในกลุ่มอาเซียน จะ จมน้าทะเลหมด (รูปที่ 16) อย่างไรก็ตาม ข้อมูลนี้ไม่สามารถกระตุ้นให้คนสนใจได้ เพราะเห็นว่า ระยะที่จะ เกิดยาวนานมาก ดังนั้น จึงคิดว่า ไม่ควร “ตื่น”ตามกระแส ซึ่งจะทาให้เปลืองงบประมาณมาก นอกจากนี้ยังมีข้อมูลที่แสดงให้เห็นการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศได้ส่งผลต่อการพัฒนาเมือง ดังนี้ - อุณหภูมิ องค์การวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อมให้ข้อมูลไปให้ทิศทางเดียวกันทั้ง 8 องค์กร (CCSR, CCma, CSIRO, Hadley Centre, FGDL, MPIM, MCAR PSC, NCAR CSM) ให้ข้อมูลทานายอนาคตว่าอุณหภูมิโลก จะขึ้นอีก 5 องศาเซลเซียส ภายใน ปี ค.ศ. 2100 (รูปที่ 17) รูปที่ 16 เมืองในอาเซียนจะจมใต้น้า อีก 500,000 ปี
  • 19. 15 - คาร์บอนไดออกไซด์ ตลอด 650,000 ปี (CO2) ไม่เคยสูงกว่า ปีพ.ศ.2493 มาก่อน แต่ ปัจจุบันค่าคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ในบรรยากาศโลกสูงกว่านั้นมาก (รูปที่ 18) แสดงให้ เห็นว่าเป็นผลที่เกิดจากการมีอุตสาหกรรมที่มากมาย และการใช้พลังงานอย่างสุดเหวี่ยงที่ทา ให้ปล่อยสารดังกล่าวออกไปมากขึ้น ทั้งค่าอุณหภูมิ และค่าคาร์บอนไดออกไซด์ที่เพิ่มขึ้น ย่อม มีปฏิสัมพันธ์กันแน่นอน และมีผลต่อการพัฒนาเมือง - ระดับน้าทะเล พ.ศ. 2443 (ค.ศ.1900) พ.ศ. 2643 (ค.ศ. 2100) ในช่วง 200 ปี ระดับน้าทะเล คาดการณ์เกิดแล้วจริง หากดูจากกราฟ (รูปที่19) จะเห็นว่าขึ้นชันมาก จาก 0 เมตร จะเริ่มขึ้นอยู่ ระหว่าง 2 เมตร ในปี 2643 (ค.ศ. 2100) ระดับน้าต่าสุดประมาณ 60 ซม. ระดับกลางประมาณ 1.20 เมตร และอาจจะถึง 2 เมตรได้ ซึ่งระดับดังกล่าว ยังไม่นับระดับยอดคลื่นพายุซัดเข้าฝั่ง ไม่นับ ระดับน้าขึ้นน้าลง น้าหลากจากปี พ.ศ.2554 ซึ่งอาจจะสูงถึงอีก 2- 4.5 เมตร ทาให้โอกาสใน 85 ปี ข้างหน้า มีโอกาสสูงที่ระดับน้าจะท่วมขึ้นมา (รูปที่ 20) รูปที่ 17 กราฟอุณหภูมิโลกในอนาคต รูปที่ 18 กราฟแสดงสาร CO2 ในอนาคต รูปที่ 19 กราฟระดับน้าทะเลในอนาคต รูปที่ 20 ระดับน้าทะเลอีก 85 ปีข้างหน้า
  • 20. 16 รูปที่ 21 แสดงระดับน้าทะเล 2 เมตร ใน 85 ปีข้างหน้า ที่ยังไม่รวมระดับน้าขึ้น-ลงสูงสุด ยังไม่รวม ระดับยอดคลื่นพายุซัดฝั่ง และรูปที่ 22 แสดงระดับน้าทะเล 5 เมตร. ที่รวมช่วงที่ระดับน้าขึ้น-ลงสูงสุด และ ระดับยอดคลื่นพายุซัดฝั่ง รวมทั้งน้าเหนือหลากลง แต่เป็นเฉพาะชายฝั่ง อาจไม่ท่วมถึงชั้นในตามภาพที่ แสดงระดับ 5 เมตร ทั้งหมดนี้เป็นเพียงแค่ปัญหาน้าท่วมชายฝั่ง แต่ทั้งนี้ประเทศไทยกลับยังไม่มีนโยบาย การตั้งถิ่นฐานระดับชาติ เพื่อป้องกันการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลกเลย รูปที่ 21 ระดับน้าทะเล 2 เมตร รูปที่ 22 ระดับน้าทะเล 5 เมตร
  • 21. 17 นอกจากนี้ ข้อมูลเกี่ยวกับเมืองใหญ่ของโลกที่จะถูกน้าทะเลท่วมมากที่สุดในโลกใน 100 ปีข้างหน้า ซึ่งนั่นก็คือ กรุงเทพมหานคร โดยที่พื้นดินกรุงเทพฯ จะทรุดปีละ 3 ซม (ข้อมูลจาก Time Magazine September 2014, from NOAA) พร้อมกับระดับน้าทะเลที่สูงขึ้น จะทาให้ กรุงเทพฯ ท่วมถึงระดับ 2.00 เมตร มีพายุคลื่นซัดฝั่ง (รูปที่ 23 ) และปรากฏการณ์น้าท่วมได้พิสูจน์ให้เห็นแจ้งแล้วว่าข้อมูลเหล่านี้เป็น จริง (รูปที่ 24) จากข้อมูลข้างต้นหากรัฐบาลปัจจุบันรับทราบแล้ว หรือควรจะทราบมาตั้งนานแล้ว ไม่ตระหนัก จะ จัดการอย่างไรกับเมืองและชุมชนชายฝั่งทะเลปัจจุบัน เช่น กรุงเทพฯ สมุทรปราการ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม นครศรีธรรมราช และอื่นๆ ฯลฯ บ้างเลยหรือ? และเมื่อรัฐบาล-สภาฯ ปัจจุบันรับทราบแล้ว ว่า เมืองและชุมชนที่จะเพิ่ม 8-12 ล้านไร่ (พื้นที่เมืองที่จะเพิ่ม) ในพ.ศ. 2600 ที่อาจขยายลงที่ลุ่ม ทาลายพื้นที่ เกษตร ทาลายสิ่งแวดล้อม เราจะจัดการอย่างไร จะแก้ปัญหาอย่างไร ไม่มีใครให้ความสาคัญกับเรื่อง ดังกล่าวเลย ทั้งกรมโยธาธิการ รัฐสภา สภาพัฒน์ ใครคือผู้รับผิดชอบต่อสภาพที่อาจเลวร้ายที่จะเกิดขึ้นกับ เมืองที่ต้องเพิ่มใหม่ใน 30-50 หรือ 100 ปีข้างหน้า? น่าแปลกใจมากที่เกือบทุกรัฐบาลไม่ตระหนักถึงปัญหาใหญ่หลวงในอนาคตที่สามารป้องกันและ บรรเทาได้ด้วย “การวางแผนที่ดีล่วงหน้าที่จะต้องปฏิบัติตามแผนโดยเคร่งครัด” เท่านั้น แต่ทั้งนี้กลไก ของประเทศไทยบกพร่องมานาน ถ้ายังไม่แก้ไขก็ไม่สามารถที่จะทาอะไรได้ ประเทศไทยไม่เคยมี และ ยัง อิดเอื้อนที่จะให้มี คือ นโยบายแห่งชาติว่าด้วยการตั้งถิ่นฐานและการผังเมือง ที่ใช้ชี้นาการพัฒนาสู่ความ ยั่งยืน ซึ่งมัวแต่คิดว่าหากตั้งแล้วกลัวกระทรวงนั่น กระทรวงนี่แย่งไป ตอนนี้ต้องรีบเร่ง ปฏิรูป กลไก ระบบ รูปที่ 23 ข้อมูลเมือง (กรุงเทพ)ที่จะน้าท่วม มากที่สุดในโลก รูปที่ 24 ปรากฏการณ์น้าท่วม
  • 22. 18 และกระบวนการผังเมือง ต้องมีวิสัยทัศน์ระดับชาติ ลงไปสู่ท้องถิ่นได้อย่างราบเรียบ ทั้งหมดคืองานที่ได้ พยายามรณรงค์เกี่ยวกับการผังเมืองในวุฒิสภา แต่ไม่สาเร็จ 4. วิธีป้ องกันและแก้ไขปัญหา 4.1.วิธีการป้ องกันน้าหลากท่วมเมืองที่เด็ดขาด วิธีการป้องกันน้าหลากท่วมเมืองที่เด็ดขาด คือ ในระยะยาว (macro) ต้องหาถิ่นฐานบนที่ดอนน้า ท่วมไม่ถึง น้าจะไม่ท่วมพื้นที่สูงแน่นอน ไม่ว่าที่ใดในโลก จากนั้นขยายเมือง อย่างหนาแน่น และโปร่งด้วย ไม่ควรขยายอย่างเบาบางอีก แล้วพัฒนาเมืองใหม่อย่างมีระบบเป็นเมืองยั่งยืน 4.2.การแก้ไขเชิงระบบ ขั้นแรก การแก้ไขเชิงระบบนี้น่าจะเป็นกุญแจสาคัญต่อความสาเร็จ ประกอบด้วย องค์ประกอบที่ ครบ 3 ประการได้แก่ 1. ต้องมีนโยบายการตั้งถิ่นฐานมนุษย์และการพัฒนา เมืองในระดับชาติ (เพื่อนาประเทศสู่อนาคตที่ ยั่งยืนและน่าอยู่) 2. ต้องจัดตั้งสานักงานคณะกรรมการการตั้งถิ่นฐาน มนุษย์และการผังเมืองแห่งชาติในสังกัดสานัก- นายกรัฐมนตรี (ให้แผนระดับชาติอยู่เหนือระดับกระทรวงจริง) นากรมผังเมืองซึ่งอยู่ในกรม โยธาธิการและผังเมืองในปัจจุบัน ไปอยู่กับสานักนายกรัฐมนตรี และทางานควบคู่กับสภาพัฒน์ฯ คล้ายตัวอย่างที่ประเทศเกาหลีใต้ ได้เริ่มต้นการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม พร้อมกับประเทศ ไทย แต่เมื่อรู้สึกผิดปกติ และเห็นว่าการทางานเชิงพื้นที่และเศรษฐกิจสังคม ไม่สามารถไป ด้วยกัน จึงแก้ปัญหาด้วยการ Balance plan ตั้งสานักงานการวางแผนเชิงพื้นที่ระดับชาติ ให้อยู่ กับสานักงานประธานาธิบดี เพื่อที่จะได้ให้คาปรึกษาอย่างใกล้ชิดต่อประธานาธิบดี แต่ของ ประเทศไทย ยังไม่เปลี่ยน ซึ่งควรออกแบบ สร้างระบบการวางแผน (Planning systems) ของ ประเทศใหม่ทั้งหมด เพราะทุกวันนี้กลไกที่มีอยู่ล้มเหลวมาก ไม่สามารถมีนโยบายระดับสูง ลง ไปสู่ท้องถิ่นได้ 3. รัฐสภาต้องตั้งกรรมาธิการการตั้งถิ่นฐานและการผังเมือง ให้มีหน้าที่ดูแลรับผิดชอบด้านกฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งจะช่วยทาให้การปรับปรุงแก้ไขกฎหมายได้ทันสถานการณ์ ขั้นที่สอง หากมีการตั้งกรรมาธิการตั้งถิ่นฐานและการผังเมืองแล้ว สิ่งที่ต้องทาต่อมา คือ ภายใต้ กรรมาธิการสามัญการตั้งถิ่นฐานและการผังเมือง ให้จัดทาแผนปฏิบัติสู่เป้าหมาย (Road Map – Action Plans) ดังนี้
  • 23. 19 1. เรื่องกฎหมาย ควรต้องออกกฎหมาย และปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องที่เป็นอุปสรรคการบรรลุ เป้าหมาย เช่น กฎหมายซ้าซ้อน กฎหมายล้าสมัย และออกกฎหมายฉบับใหม่ที่เอื้อให้กลไกใหม่ บรรลุเป้าหมายตามนโยบาย โดยแบ่งเป็น - ระยะสั้น ภายใต้กฎหมายเดิม สิ่งที่ทาได้ ให้ทาต่อไป เช่น ออกกฎกระทรวงให้มีขั้นตอน “Planning permit” ฯลฯ - ระยะยาว วางนโยบายการตั้งถิ่นฐานมนุษย์และการพัฒนาเมืองแห่งชาติ ประกาศเป็น พ.ร.ฎ. (ในพระปรมาภิไธย) พร้อมออกแบบ และสร้างระบบการวางแผน (Planning systems) ของประเทศใหม่ทั้งหมด 2. เรื่องหน่วยงาน ต้องปรับรูปองค์กรให้สอดคล้องกับการบรรลุเป้าหมาย คือ - การตั้งคณะกรรมการการตั้งถิ่นฐานและผังเมืองแห่งชาติ ต้องประกอบด้วยกรรมการนโยบาย 9+4 (ผู้ทรงคุณวุฒิ + ผู้แทนหน่วยงานนโยบาย เช่น สภาพัฒน์ฯ สานักงบประมาณ) - ออกมาตรฐาน-เกณฑ์การวางแผน-กากับตรวจสอบ (Planning criteria - standards - monitoring) - จัดทาแผนภาคเชิงพื้นที่ (Regional spatial planning) - ฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ผังเมืองท้องถิ่น (On-job training – 7,500 อปท.) 5. ข้อเสนอเชิงนโยบาย : ธรรมนูญการผังเมือง ประเทศไทยควรมีธรรมนูญผังเมือง เพื่อกากับกฎหมายต่างๆ เกี่ยวกับการวางแผนและการพัฒนา เชิงทุกพื้นที่ของประเทศทั้งหมด โดย ธรรมนูญการตั้งถิ่นฐานและการพัฒนาเมือง จะมีรายละเอียดข้อเสนอ 7 ข้อ (Seven Commandments) ดังนี้ 1. ห้ามสร้างเมืองใหม่ หรือขยายชุมชนเดิมในพื้นที่เสี่ยงภัยธรรมชาติ รวมทั้งให้ชะลอการเจริญเติบโตของ เมือง/ชุมชนเดิมในพื้นที่ดังกล่าว 2. ให้สงวนพื้นที่ที่เหมาะสมกับการเกษตรกรรม และ พื้นที่สงวนประเภทอื่นๆ กาหนดที่ราบเกษตรกรรมที่ น้าท่วมถึงให้เป็นพื้นที่รับน้าและเป็นทางน้าผ่าน (Flood plains and floodways) ด้วย 3. ห้ามพัฒนาเมือง/ชุมชนในพื้นที่ทางศิลปะ วัฒนธรรม พื้นที่ธรรมชาติ พื้นที่สวยงาม และพื้นที่แหล่ง ท่องเที่ยว ยกเว้น สิ่งอานวยความสะดวกที่จาเป็น
  • 24. 20 4. กาหนดการกระจายตัวประชากรเมืองเพื่อลดความแตกต่างระหว่างเมืองกับชนบท (Urban-rural disparity) ชะลอการเติบโตของกรุงเทพฯ กาหนดให้มีเมืองขนาดใหญ่ในพื้นที่เหมาะสมมากขึ้นเพื่อ กระจายความเจริญให้มีความสมดุล 5. วางแนวทางพัฒนาเมืองใหม่/ฟื้นฟูเมืองเดิม รองรับประชากรเมืองจากการคาดการณ์ถึง 60 ล้านคน จากเดิม 22 ล้านคน อีกทั้งประชากรทั้งประเทศใน 50 ปีข้างหน้า ไม่รวมต่างด้าวจะมีประมาณ 75 ล้าน คนและเป็นประชากรเมืองถึงร้อยละ 65 โดยมีรายละเอียดเพิ่มเติมดังนี้ - เมืองใหม่ ที่จะรับประชากร 38 ล้านคน ต้องกระชับ น่าอยู่ ยั่งยืน ร่มรื่น หนาแน่นสูง เพื่อลด ระยะเดินทาง ประหยัดพลังงาน และต้องเชื่อมโยงสิ่งอานวยความสะดวกครบถ้วน - หยุดขยายเมืองเดิม (ที่รองรับประชากร 22 ล้านคนเดิม) ในทางราบ ฟื้นฟูโดยเพิ่มความ หนาแน่นส่วนกลาง (ที่ไม่ทาลายย่าน ประวัติศาสตร์) เพิ่มที่เว้นว่าง วางระบบทางเดินเท้า- จักรยาน ทางเชื่อมระหว่างอาคารพาณิชย์กับระบบขนส่งมวลชน 6. ให้พัฒนาชุมชนเกษตรประชากร 15 ล้านคนให้มั่นคง มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความสามารถในระดับ นานาชาติด้วยการจัดรูปที่ดินตามความเหมาะสมของสมรรถนะ ที่ดินและมีโครงสร้างพื้นฐานสมบูรณ์ ในตัวเอง 7. ให้มีคณะกรรมการการตั้งถิ่นฐานและการผังเมือง แห่งชาติ ทางานเชิงบูรณาการใกล้ชิดสอดคล้องกับ คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
  • 25. 21 ตอนที่ 2 1. ตัวอย่างเมือง 1.1.การสร้างเมืองสวรรค์ (เมืองใหม่) จากปัญหาการตั้งถิ่นฐานในที่ทางน้าผ่าน เสี่ยงต่ออุกทกภัยในอนาคต และเมืองที่ขาดการวางผัง เมืองมีปัญหามากมาย จึงควรสร้างเมืองสวรรค์ (เมืองใหม่) เพื่อแก้ปัญหาอย่างยั่งยืน และน้อมเกล้าถวาย พระเจ้าอยู่หัวฯ “ครึ่งแซยิด ๙๐” เรื่องเมืองสวรรค์ (เมืองใหม่) เป็นเรื่องที่ในหลวงมีพระราชดารัสสาหรับ เมืองใหม่ แต่เมื่อนาไปเสนอกับวุฒิสภา ไม่มีใครสนใจ โดยพระราชดารัสนี้เกิดขึ้นเมื่อปี 2537 (21 ปีที่แล้ว) ในโอกาสที่คณบดีคณะนิติศาสตร์นาผู้จัดการแข่งขันเดิน วิ่ง เข้าเฝ้าฯ ทูลเกล้า ถวายรายได้ เป็นพระราช ดารัสที่น่าประทับใจมาก โดยมีข้อความบางส่วนดังนี้ (รูปที่ 25 ) “อันนี้เคยไปถามคนที่เค้ารู้อนาคต ถามเขาว่า แซยิด 72 นี้ ก็มีเป้าหมายที่จะสร้างเขื่อนเพื่อป้องกัน ภัยแล้ง แต่ว่า แซยิด 84 จะมีเมือง เรียกว่าเมืองสวรรค์ เมืองที่ดี มีไหม มีทางไหม เขาบอกมีทาง ก็เลยขอให้ ไว้ใจว่าเราคิด คิดอยู่ จะสร้างเมืองสวรรค์ จะทาให้กรุงเทพมหานครนี้เป็นกรุงเทพ เมืองสวรรค์แล้วก็เมือง ใหม่นั้นก็จะเป็นเมืองสวรรค์เหมือนกัน ไม่ได้เป็นการย้ายกรุงเทพ ฯไปที่อื่นไกล แต่ว่าเป็นการปรับปรุงให้ดี ขึ้น อันนี้ก็พูดอย่างนี้สาหรับแหย่ท่านให้คิด เพราะว่าแต่ละคนก็คงคิดเอ๊อ.....จะไปทาที่ไหน ก็คิดเอาเอง ก็ คิดเอาเอง ก็เคยพูดเสมอว่า ถ้าอยากให้ทราบว่าให้ทาตรงไหน เดี๋ยวเกิดขบวนมาก็มาต่อมา แต่อันนี้มาต่อว่า ก็ต้องยอม......มีโครงการที่จะสร้างเมืองใหม่ แต่ไม่ใช่อย่างที่เขาคิดจะทากัน สร้างเมืองที่จะเกิดปัญหา แต่ที่ เราคิดเป็นการเมืองที่จะเป็นตัวอย่างและทาให้เมืองเดิมของเราคิดกทม. นี้ เป็นเมืองที่โปร่ง เป็นเมืองที่น่าดู เป็นเมืองประวัติศาสตร์ และเป็นเมืองสวยงาม ส่วนเมืองใหม่นั้นก็จะเป็นเมืองสวยงามเหมือนกัน และ สะดวกสบายทุกอย่าง สาเหรับเรื่องของรถ จะเป็นลอยฟ้าหรือใต้ติดก็ไม่ทราบ ..... การสร้างขนส่งมวลชนที่ เหมาะสม การคมนาคมมีทั้งถนนมีทั้งทางต่างระดับลอยฟ้า มีทั้งทางใต้ดิน มีทั้งคลองสาหรับให้มีการ คมนาคมทางเรือก็ได้ คลองสาหรับระบายก็ได้ ทาทั้งหมดให้สาเร็จ รูปที่ 25 พระราชดารัสเกี่ยวกับเรื่องเมืองสวรรค์ (เมืองใหม่)
  • 26. 22 1.2. “เมืองแน่นแต่โปร่ง” ทาได้อย่างไร? ในเมืองใหญ่ที่มีพื้นที่เมืองขนาดเล็ก และราคาที่ดินแพงมาก ความเชื่อตลอดที่ผ่านมาของผู้ลงทุน มักคิดว่า หากสร้างตึกหรืออาคารโดยเว้นที่ว่างมากเศรษฐกิจจะล่มสลาย เป็นความเชื่อที่ผิดในยุคที่ผ่านมา และด้วยความเชื่อแบบทาให้บ้านเมืองรู้สึกแออัด แต่ทั้งเมืองที่มีพื้นที่น้อย และความหนาแน่นเท่าเดิม สามารถทาให้โปร่งได้ ทาได้อย่างไร? (รูปที่ 26-27) ทุกโครงการขายได้ 640,000 ตารางเมตรเท่ากัน แต่ พื้นที่ว่าง (open space) ไม่เท่ากัน แต่จะสังเกตได้ว่า หากขยับอาคารให้สูงขึ้น จะทาให้มีพื้นที่ได้มากยิ่งขึ้น รูปที่ 26 เมืองแน่นแต่โปร่ง รูปที่ 27 เมืองแน่นแต่โปร่ง
  • 27. 23 หากนักพัฒนา หรือนักอสังหาริมทรัพย์ลองเว้นที่ว่างแบบเพิ่มเปอร์เซ็นต์ (รูปที่ 28-31) จะเห็นถึงที ว่างที่จะช่วยให้พื้นที่เดิมที่แน่น สามารถทาให้โปร่ง เปลี่ยนความเชื่อใหม่เป็น เว้นที่ว่างมากเศรษฐกิจรุ่งเมือง บ้านจะเมืองจะรู้สึกโล่งโปร่งสวยงามกาไรมาก อีกทั้งจะช่วยสร้างภูมิทัศน์ให้น่าอยู่ มีสถานที่พักผ่อน มีต้นไม้ และใกล้ชิดธรรมชาติมากยิ่งขึ้น รูปที่ 28 เว้นที่ว่าง 10% รูปที่ 29 เว้นที่ว่าง 25%
  • 28. 24 1.3.ตัวอย่างเมืองใหม่ยั่งยืนในจีน ขอเสนอตัวอย่างเมืองใหม่ยั่งยืนในจีน ซึ่งเป็นอยู่ในแผนการสร้างเมืองใหม่ของรัฐบาลจีน ที่ต้องการ มีเมืองที่มีคุณภาพ ปัจจุบันเริ่มก่อสร้างแล้ว โดยจ้างบริษัทที่ปรึกษา (Consel) จากต่างประเทศ มีเนื้อที่ให้ คนสามารถอาศัยอยู่ได้ ประมาณ 20,000 – 30,000 คน ตั้งในพื้นที่ที่สูง สามารถมีพื้นที่รอบนอกให้ทา เกษตรกรรม ปลูกผัก มีท่าน้า หากต้องการไปสวนสาธารณะ สามารถเดินออกมาข้างนอกได้ (รูปที่ 32) รูปที่ 30 เว้นที่ว่าง 50% รูปที่ 31 เว้นที่ว่าง 85%
  • 29. 25 สาหรับทัศนียภาพในเมือง (รูปที่ 33) ทั้งเมืองมีแต่การเดิน เป็นเมืองที่ไม่ต้องใช้รถยนต์ ซึ่งจีนทา จริง ก่อสร้างจริง หากกลับมาดูประเทศไทย จะสามารถใช้เมืองแบบนี้เป็นตัวอย่างได้หรือไม่ ? สร้างเมือง ขนาดเล็กประมาณ 50,000 เพื่อถวายแก่ในหลวง ซึ่งมีวิธีทาได้ เป็นเมืองที่ผู้คนเดินลงจากที่พักมาทางานได้ เลย วิ่งออกมาข้างนอกได้ ทาสวนครัวได้ มีรถไฟใต้ดิน สะดวกที่จะเดินทางในเมือง เมืองที่ดีควรจะเป็นที่เรา สามารถ Work Live Learn Shop Sick Die ได้ในเมืองของเรา รูปที่ 32 ตัวอย่างเมืองใหม่ในจีน รูปที่ 33 ทัศนียภาพในเมืองใหม่ของจีน
  • 30. 26 1.4.ตัวอย่างชุมชนเกษตรแอ่งเขาในญี่ปุ่น ขอเสนอตัวอย่างของชนบทบ้าง จากที่เคยเสนอเมืองตัวอย่าง คือเป็นเมืองเล็กๆ ที่ไม่เกิน 10,000 คน เป็นชุมชนเกษตรแอ่งเขาในญี่ปุ่น (รูปที่ 34) โดยเป็นพื้นที่ที่แผ่นดินจะไม่ถล่ม ทานาบนที่ลุ่มรับน้าท่วม น้าหลาก แต่ชุมชนแบนี้ ยังไม่แน่ชัดว่าเกิดการออกโฉลดโดยมิชอบหรือเปล่า แต่ประเทศไทยก็มีปัญหาเรื่อง ออกโฉลดโดยมิชอบ แต่รัฐบาลของประเทศอื่น จะให้ผู้คนอยู่ได้เลย เพราะปลอดภัย เช่น ญี่ปุ่น เป็นเมือง ภูเขา ที่เนินปลอดภัย มีศักยภาพมาพัฒนาเมือง และมีการวางแผนเชิงพื้นที่ที่เคารพธรรมชาติ 1.5.การผังเมือง : ต้องไม่ทิ้งชุมชนชนบท (รูปที่ 35) จากตัวอย่างที่นาเสนอ จะเห็นว่าการผังเมือง การตั้งถิ่นฐาน ต้องไม่ทิ้งชุมชนชนบท เพราะเป็นกลุ่ม ประชากรที่สาคัญของประเทศ มีการตั้งถิ่นฐาน และผลิตอาหารให้กับคนทั้งประเทศ ทั้งนี้ขอเสนอแปลนที่ ได้มาจากการประชุมเรื่องผังเมืองที่ประเทศอิสราเอล เมืองปี ค.ศ.1973 เป็นแปลนของเมืองโยฮาฟ เยโฮชัว ของประเทศอิสราเอล เป็นเมืองเล็กๆ ที่เป็นชุมชนที่ครบถ้วน ฉะนั้น การเกษตรสมัยใหม่ต้องเปลี่ยน สามารถรวมกัน และขุดบึงใหญ่ๆ เพื่อสร้างชุมชนได้ รูปที่ 34 ชุมชนเกษตรแอ่งเขาในญี่ปุ่น
  • 31. 27 ปุจฉา: ใครทราบบ้างว่าประเทศไทยสูญเงินค่าจ้าง “คอนซัลท์” เพื่อการวางผัง เมืองและโครงสร้างพื้นฐานทั่วประเทศ ในช่วงเวลา ๕๘ ปี ที่ผ่านมา โดยไม่ได้ อะไรขึ้นมาสัก เท่าใดนั้น... คิดเป็นเงินตามมูลค่าปัจจุบันเท่าใด...? และ… ผู้บริหารประเทศที่ละเลยหรือยกเลิกควรมีภาระ ความรับผิดชอบชดใช้ ค่าเสียหายหรือไม่ !! รูปที่ 35 ผังเมือง แบบไม่ทิ้งชนบท
  • 32. 28 2. การแลกเปลี่ยนความคิด รศ.ดร.จานง สรพิพัฒน์ ผมจบทางด้าน วิศวกรรมศาสตร์ ผมเคยทางานกับสนข. (สานักนโยบายและแผนการขนส่งและ จราจร) ผมเห็นด้วยกับอาจารย์เดชา ว่าประเทศไทยไม่มีการวางผังเมือง อาจารย์วิจารณ์ได้ถูกต้อง เพราะ คนมีอานาจเขามองเห็นแต่การทาถนน เขาไม่มีคาว่า “เมือง” ผมย้อนยุคอ่านประวัติศาสตร์ที่ฝรั่งมา เมืองไทย เขาบอกตรงๆ ว่าวัฒนธรรมของเรา ไม่มีวัฒนธรรม “การสร้างเมือง” เพราะคนไทยตั้งรกรากติด แม่น้า ผมถือว่าเป็นดีเอ็นเอทางธรรมชาติ เลยเป็นความเคยชิน ไม่ต้องวางผังเมืองขึ้น ปล่อยเป็นไปตาม ธรรมชาติเอง ส่วนคนจัดการ คือ กลุ่มวิศวกร เขาจะสนใจแค่ mobility กับ connectivity เท่านั้นเอง ฉะนั้น เมื่อมีถนนแล้ว เมืองก็เกิดสะเปะตามหมด เมืองก็เกิดตามนั้น ความเคยชินที่เป็นอยู่ และไม่สนใจขนาดไหน ลองดูสมัยทักษิณ ตอนเค้าปฏิรูปโครงสร้างระบบราชการ สุดท้ายเขาสรุปกันเลย สานักผังเมือง ที่ขึ้นกับ กระทรวงมหาดไทย ไม่มีความจาเป็นต้องมี แต่ทีนี้จึงเกิดคาถามว่าหากไม่มีสานักผังเมืองแล้วข้าราชการผัง เมืองจะให้เขาทางานอะไร คงต้องตกงานหมด สุดท้ายจึงจัดการให้สานักผังเมืองเข้าไปอยู่กับกรมโยธาธิการ ที่เป็นแบบนี้เพราะคนมีอานาจเขาไม่เห็นความสาคัญ อย่างที่อาจารย์พยายามผลักดัน เขาก็รับไป ทีนี้อย่าง ปัญหาที่เป็นปัจจุบันที่อาจารย์ฝากไว้ คิดดูคือวันนี้เรากาลังพูดถึงรถไฟความเร็วสูง ซึ่งประโยชน์ที่แท้จริง ของการสร้างรถไฟ คือการสร้างเมืองใหม่ แต่ถามจริงๆ เถอะ เวลาวิศวกรเข้ามาจัดการ ก็มักจะมองเห็นแนว ของรางรถไฟ สถานที่ตั้งของสถานีรถไฟ มองเห็นแค่นั้น ไม่มีการเชื่อมโยงเกี่ยวกับการเกิดเมืองเลย ทั้งที่ จริงการสร้างรถไฟจะเกี่ยวกับเมือง เกี่ยวกับคนอีกจานวนมาก เพราะไม่มีคนทาแผน วิศวกรก็ไม่เคยคิด สิ่ง ที่ต้องทา คือถ้าคุณจะสร้างรถไฟ ถนน หากคุณไม่สนใจเรื่อง “สร้างเมือง” ทุกอย่างจะล้มเหลวหมด คุณสุริยนต์ ธัญกิจจานุกิจ ผมมีข้อสงสัยอยู่อย่างหนึ่ง ทาไมคนทานโยบายของเรา (Policy maker ) ไม่สามารถคิดแบบนี้ได้มี ปัจจัยเชิงระบบอย่างไร ที่ไม่เอื้อให้คนทานโยบาย (Policy maker ) คิดแบบนี้ ผมว่าอันหนึ่งคนทานโยบาย ตั้งแต่ระดับกรมขึ้นไป อยู่ภายใต้ระบบที่รวมศูนย์อานาจ และระบบอุปถัมภ์ จะต้องมองระยะสั้น ฉาบฉวย เพราะต้องทาผลงาน แต่การสร้างเมือง สร้างได้ยากมาก เป็นเรื่องระยะยาว ซับซ้อน ไม่เห็นผลงานเร็ว แต่ ตัดถนน ตัดรางรถไฟ เซ็นสัญญาระหว่างประเทศ จะเห็นผลงานเลย และตราบใดที่ระบบยังคงเป็นแบบนี้อยู่ แก้ปัญหาใดๆ ไม่ได้ เราไม่ได้โชคดีบ่อยที่จะมีรัฐบาลเผล็ดการ ที่สามารถสั่งการแก้ปัญหาพวกนี้ได้ทันที เราคงต้องอยู่กับระบบกับที่พิการแบบนี้ ผมกาลังคิดว่ามีวิธีอื่นไหม ที่จะขับเคลื่อนเปลี่ยนแปลงเรื่องนี้ได้ ให้
  • 33. 29 เมืองสามารถพัฒนาได้ คงไม่ต้อง 100% ซึ่งเอาเข้าจริงผมไม่มั่นใจนัก ว่าการใช้มาตรา 44 ได้จะไปได้กับ ระบบ Top down แบบนี้ ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า ปัญหาเรื้อรังมานานมาก ถามมาทาไมเราไม่ทา เพราะว่าภูมิศาสตร์ คนที่อยู่เมืองร้อน อยู่ในที่อุดม สมบูรณ์ ไม่ค่อยอยากวางแผน ถ้าไม่ลาบากจริงๆ ทีนี้เมื่อเกิดปัญหามาแล้ว สมัย พ.ศ. 2498 กรุงเทพ มี สลัมเต็มไปหมด คนแห่ย้ายเข้ามาในเมืองหลวงจานวนมาก สมัยจอมพลสฤษดิ์ธนะรัชต์ ถูกฝรั่งทักเรื่อง ดังกล่าว จึงจ้างเอกชนทาผังเมืองขึ้นมา ซึ่งจริงๆ ไม่ได้อยากจะทา ฝรั่งให้ทา สลัมเต็มไปหมด ไม่ว่าจะเป็น สลัมเสาวนีย์ สลัมตรงรามาธิบดี เมื่อฝรั่งให้วาง เราก็วาง แต่เราไม่ได้สามารถทาปฏิบัติได้ ฝรั่งเขามาร่าง กฎหมาย พ.ศ. 2495 เป็นกฎหมายผังเมือง ไม่ครอบคลุม มีประมาณ 30 มาตรา จากนั้นก็แก้อีก ในปี พ.ศ. 2518 เพื่อนาไปปฏิบัติ ซึ่งฝรั่งบอกให้ออกกฎหมายสองฉบับ แต่ก็ออกกฎหมายได้ฉบับเดียวคือ แผนรวม แต่แผนเฉพาะ ไม่สามารถออกเป็นกฎหมายได้ เพราะผังเฉพาะ ต้องออกเป็น พ.ร.บ. เท่านั้น นี่เป็นจุดอ่อน ทากฎหมาย ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2518 ไม่มี พ.ร.บ.ผังเฉพาะออกมาเลยสักฉบับ ถ้าถามผมว่าจะก้าวข้ามไปอย่างไร สาหรับทางออกต่างๆ ที่หาทางออกไม่ได้เพราะแสดงว่ามันเป็น ทางตัน ฉะนั้นทางตันจะก้าวข้ามได้ ต้องทะลุเท่านั้น ควรทะลุสักสองรูเล็กๆ ก่อน จะทะลุตรงไหน ผมเสนอ ว่าต้องดึงกรมโยธาธิการและกรมผังเมืองมากินน้าใต้ศอก มาอยู่ใกล้ชิดกับอยู่สานักนายกรัฐมนตรี และ ทางานควบคู่กับสภาพัฒน์ฯ ด้วย คนหนึ่งทาแผนพัฒนา คนหนึ่งทาเชิงพื้นที่ควบคู่ด้วยกัน และตั้งกรรมการ การตั้งถิ่นฐานและการผังเมืองในสภาด้วย เชื่อว่าถ้าเป็นแบบนี้ได้จะมีทางออก คุณทนงศักดิ์ วิกุล ผมได้คุยกับอาจารย์เดชา ก่อนการประชุม ผมคิดว่าการแก้ไขปัญหาในประเทศเรา มีช่องทางอยู่ คือ ยุคของทหารในอดีต จอมพลสฤษดิ์เป็นผู้มีวิสัยทัศน์ไกลมาก ทหารเวลามืดแปดด้าน พวกเขาจะรู้จักการใช้ ที่ปรึกษา จอมพลสฤษดิ์ใช้คนเป็น ผมนั่งคุยกอาจารย์วทัญํู ณ ถลาง เคยเล่าให้ฟังว่า ยุคในอดีต สมัยจอม พลถนอม จอมพลประภาส เมืองไทยสลัมเต็มไปหมด จึงมาปรึกษาอาจารย์วทัญํู จะทาอย่างไรดีเกี่ยวกับ เรื่อง human settlement และสุขภาวะ อาจารย์จึงเขียนแผนแม่บท การจัดตั้งการเคหะแห่งชาติ เสนอจอม พลประภาส ซึ่งท่านก็รับ สมัยพลเอกเปรมเองเช่นเดียวกัน อยู่ในตาแหน่งประมาณ 8 ปี พลเอกเปรมใช้ที่ ปรึกษาเยอะมาก ปี พ.ศ. 2549 แก้ไขปัญหาค่าเงินบาท วิกฤตน้ามัน ก็ฟังจากที่ปรึกษา ถ้าสมมุติ พลเอก ประยุทธ์ ดารงตาแหน่งประมาณ 7 ปี และใช้ที่ปรึกษาจานวนมาก จะสามารถทะลุทะลวงปัญหาได้ ถ้า เมืองไทยกลับมาสู่เลือกตั้ง จะทาได้ยากมาก เช่นเรื่อง สลัมรามาธิบดี เมื่อก่อนเป็นสลัม แล้วมาสร้างใหม่