SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
โรคซึมเศร้า (Major depressive disorder)
เป็นโรคหนึ่งซึ่งสามารถเกิดขึ้นได้ในช่วงชีวิตของคนเรา เหมือนกับโรคทางกายอื่นๆ เช่น
เบาหวาน ความดันโลหิตสูง การเป็นโรคซึมเศร้าไม่ได้หมายความว่า ผู้ที่เป็นนั้นจะเป็นคน
อ่อนแอ ล้มเหลว หรือไม่มีความสามารถ แต่เป็นเพียงการเจ็บป่วยอย่างหนึ่ง เกิดได้ทั้งมีสาเหตุ
เช่น การสูญเสีย การหย่าร้าง ความผิดหวัง และเกิดได้เองโดยไม่มีสาเหตุใดๆ ซึ่งในปัจจุบันโรคนี้
สามารถรักษาหายได้ด้วยการใช้ยา การรักษาทางจิตใจ หรือทั้งสองอย่างรวมกัน
สาเหตุของโรคซึมเศร้า
หากมีประวัติการเจ็บป่วยโรคนี้ในญาติของท่าน ก็เพิ่มการป่วยโรคนี้กับสมาชิกอื่นในบ้าน
แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าจะเป็นกันทุกคน
ปัจจัยที่กระตุ้นให้คนที่มีปัจจัยเสี่ยงเหล่านี้มีโอกาสเกิดอาการก็คือ ความเครียด แต่ทั้งนี้คนที่ไม่มี
ญาติเคยป่วยก็อาจเกิดเป็นโรคนี้ได้มักพบว่าผู้ป่วยโรคนี้จะมีความผิดปกติของระดับสารเคมี ที่
เซลล์สมองสร้างขึ้น เพื่อรักษาสมดุลของอารมณ์
สภาพจิตใจที่เกิดจากการเลี้ยงดูก็เป็นปัจจัยที่เสี่ยงอีกประการหนึ่งต่อการเกิดโรคซึมเศร้าเช่นกัน
คนที่ขาดความภูมิใจในตนเองมองตนเองและโลกที่เขาอยู่ในแง่ลบตลอดเวลา หรือเครียดง่ายเมื่อ
เจอกับมรสุมชีวิต ล้วนทาให้เขาเหล่านั้นมีโอกาสป่วยง่ายขึ้น
นอกจากนี้ หากชีวิตพบกับการสูญเสียครั้งใหญ่ต้องเจ็บป่วยเรื้อรัง ความสัมพันธ์กับคนใกล้ชิดไม่
ราบรื่น หรือต้องมีการเปลี่ยนแปลงในทางที่ไม่ปรารถนา ก็อาจกระตุ้นให้โรคซึมเศร้ากาเริบได้
สาเหตุที่จะกระตุ้นการเกิดโรคซึมเศร้าที่พบบ่อยก็คือ
การมีทั้งความเสี่ยงทางพันธุกรรม ทางสภาพจิตใจ ประจวบกับการเผชิญกับสถานการณ์
เลวร้าย ร่วมกันทั้ง 3 ปัจจัย
การรักษาโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้า สามารถรักษาให้หายได้ด้วยวิธีการรักษาทางจิตใจ และการรักษาด้วยยาหลาย
ชนิด โดยที่แต่ละคนอาจตอบสนอง ต่อการรักษาแต่ละชนิดไม่เท่ากัน บางคนอาจต้องการการ
รักษาหลายอย่างร่วมกัน การรับประทานยาจะทาให้อาการของโรคดีขึ้นเร็ว ในขณะที่การรักษา
ทางจิตใจจะช่วยให้คุณเหมือนมี “ภูมิคุ้มกัน” สามารถต่อสู้กับปัญหาที่จะย่างกรายเข้ามาได้ดี
กว่าเดิม ส่วนใหญ่แล้วการรักษาโรคซึมเศร้าไม่จาเป็นต้องมานอนรักษาในโรงพยาบาลแต่อย่างไร
เมื่ออาการของโรครุนแรง จนอาจมีอันตรายจากการพยายามฆ่าตัวตาย หรือผู้ป่วยไม่สามารถกิน
ยาได้หรือไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยา อาจให้การรักษาด้วยไฟฟ้า แต่จะใช้ในกรณีที่จาเป็น
จริงๆเท่านั้น
ยารักษาโรคซึมเศร้า
ในปัจจุบันยารักษาโรคซึมเศร้าแบ่งออกได้หลายกลุ่ม ตามลักษณะโครงสร้างทางเคมีและ
วิธีการออกฤทธิ์ คือ
กลุ่ม tricyclic (คือยาที่มีโครงสร้างทางเคมีสามวง)
กลุ่ม monoamine oxidase inhibitors เรียกย่อๆ ว่า MAOI
กลุ่ม SSRI (serotonin-specific reuptake inhibitor)
ซึ่งแต่ละกลุ่มมีข้อดีข้อเสียต่างกัน แต่ประสิทธิภาพการรักษาเท่าเทียมกัน แพทย์อาจเริ่มจ่ายยา
กลุ่มใดแก่ผู้ป่วย ก่อนก็ได้เพื่อดูผลตอบสนอง เนื่องจากเราไม่อาจทราบก่อนได้เลยว่า ผู้ป่วยคนใด
จะ”ถูก”กับยาชนิดใด แล้วแพทย์จะค่อยๆปรับขนาดยาให้เหมาะสมกับอาการต่อไป
ผลข้างเคียงของยารักษาโรคซึมเศร้า
กลุ่มยา tricyclics ซึ่งเป็นกลุ่มยาที่ถูกสั่งใช้บ่อยที่สุด และเราได้แนะนาวิธีบรรเทาผลข้างเคียง
ไว้ท้ายข้อแล้วดังนี้
1.ปากแห้งคอแห้ง - ดื่มน้าบ่อยๆ เคี้ยวหมากฝรั่งที่ไม่มีน้าตาล รักษาสุขภาพช่องปากให้ดี
2.ท้องผูก - กินอาหารที่มีกาก หรือมีฤทธิ์ระบายอ่อนๆ ผักผลไม้เช่น ส้มโอ มะขาม มะละกอ
3.ปัญหาการถ่ายปัสสาวะ - อาจมีการถ่ายปัสสาวะลาบาก ปัสสาวะไม่พุ่งเช่นเคย อาจใช้มือกอ
หน้าท้องช่วยและปรึกษาแพทย์
4.ปัญหาทางเพศ - อาจมีปัญหาขณะร่วมเพศได้บ้าง ซึ่งปรึกษาแพทย์ได้
5.ตาพร่ามัว - อาการนี้จะหายไปอย่างรวดเร็ว ไม่ต้องตัดแว่นใหม่
6.เวียนศีรษะ - ลุกจากเก้าอี้ หรือเตียงช้าๆ ดื่มน้ามากขึ้น
7.ง่วงนอน - อาการอาจหายไปเอง อย่าพยายามขับรถ หรือทางานกับเครื่องจักร หากง่วงมาก
ในช่วงเช้าให้เลื่อนยามื้อก่อนนอนมากินหัวค่ากว่าเดิม
สาหรับกลุ่ม SSRI อาจมีผลข้างเคียงที่ต่างออกไป ดังต่อไปนี้
1.ปวดศีรษะ - อาจมีอาการสักช่วงหนึ่ง แล้วจะหายไป
2.คลื่นไส้ - มักเป็นเพียงชั่วคราว
3.นอนไม่หลับหรือกระวนกระวาย - พบได้ในช่วง 2 ถึง 3 สัปดาห์แรก ของการกินยา หากคงอยู่
นานควรปรึกษาแพทย์
การเตรียมตัวรับมือกับโรคซึมเศร้า
โดยปกติเท่าที่มีการพบข้อมูลขณะทาการรักษา พบว่า ผู้ที่มีเกณฑ์จะเป็นโรคซึมเศร้ามักจะ
เริ่มเป็นตอนช่วงอายุ 25 ปี หลังจากนั้นก็จะเกิดอาการซึมเศร้าต่อเนื่องไปเป็นระยะยาว ถึงแม้ว่าจะ
มีการเข้ารับการรักษาแล้ว แต่ก็ยังต้องเฝ้าติดตามอาการอย่างใกล้ชิด การเป็นโรคซึมเศร้าก็จะมี
ความคล้ายคลึงการเป็นโรคเบาหวาน หรือโรคความดัน ที่ถึงแม้จะไม่มีอาการให้เห็นแล้ว แต่ก็
ต้องทานยาควบคุมไม่อาการกาเริบได้แต่ข้อดีของการเป็นโรคซึมเศร้าอยู่ตรงที่เมื่อเข้ารับการ
รักษาแล้ว ผู้ป่วยจะสามารถกลับมาใช้วิตได้เป็นปกติ
เมื่อพูดถึงการรักษา หากผู้ป่วยรับประทานยาจนครบแล้ว แพทย์ที่ทาการรักษาก็จะให้หยุดยา และ
ยังต้องคอยเฝ้าสังเกตอาการอย่างใกล้ชิด เนื่องจากว่ามันอาจจะกลับเป็นซ้าอีกได้
การรักษาทางจิตใจ
แบ่งการรักษาออกเป็น 2 รูปแบบ ที่มีการศึกษาแล้วว่า สามารถรักษาโรคซึมเศร้าได้ดี คือ การ
รักษาแบบปรับความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และการรักษาแบบปรับความคิดและพฤติกรรม โดย
การรักษารูปแบบแรกมุ่งไปที่การแก้ไขปัญหาระหว่าง ผู้ป่วยกับคนรอบข้างที่อาจ เป็นสาเหตุและ
กระตุ้นให้เกิดความซึมเศร้า ส่วนการรักษาแบบหลังจะช่วยให้ผู้ป่วยเปลี่ยนความคิด และ
พฤติกรรมในแง่ลบกับตนเอง
โดยทั่วไปสาหรับผู้ป่วยที่เป็นโรคซึมเศร้ารุนแรง มีอาการกาเริบซ้าๆ จะต้องการการรักษา
ด้วยยาร่วมกับการรักษาทางจิตใจควบคู่กัน เพื่อผลการรักษาในระยะยาวที่ดีที่สุด
อ้างอิง
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%8B%E0%B8%B6%E0%
B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2
https://www.sanook.com/health/721/

More Related Content

Featured

How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
ThinkNow
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Kurio // The Social Media Age(ncy)
 

Featured (20)

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPT
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 

โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า

  • 1.
  • 2. โรคซึมเศร้า (Major depressive disorder) เป็นโรคหนึ่งซึ่งสามารถเกิดขึ้นได้ในช่วงชีวิตของคนเรา เหมือนกับโรคทางกายอื่นๆ เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง การเป็นโรคซึมเศร้าไม่ได้หมายความว่า ผู้ที่เป็นนั้นจะเป็นคน อ่อนแอ ล้มเหลว หรือไม่มีความสามารถ แต่เป็นเพียงการเจ็บป่วยอย่างหนึ่ง เกิดได้ทั้งมีสาเหตุ เช่น การสูญเสีย การหย่าร้าง ความผิดหวัง และเกิดได้เองโดยไม่มีสาเหตุใดๆ ซึ่งในปัจจุบันโรคนี้ สามารถรักษาหายได้ด้วยการใช้ยา การรักษาทางจิตใจ หรือทั้งสองอย่างรวมกัน
  • 3. สาเหตุของโรคซึมเศร้า หากมีประวัติการเจ็บป่วยโรคนี้ในญาติของท่าน ก็เพิ่มการป่วยโรคนี้กับสมาชิกอื่นในบ้าน แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าจะเป็นกันทุกคน ปัจจัยที่กระตุ้นให้คนที่มีปัจจัยเสี่ยงเหล่านี้มีโอกาสเกิดอาการก็คือ ความเครียด แต่ทั้งนี้คนที่ไม่มี ญาติเคยป่วยก็อาจเกิดเป็นโรคนี้ได้มักพบว่าผู้ป่วยโรคนี้จะมีความผิดปกติของระดับสารเคมี ที่ เซลล์สมองสร้างขึ้น เพื่อรักษาสมดุลของอารมณ์ สภาพจิตใจที่เกิดจากการเลี้ยงดูก็เป็นปัจจัยที่เสี่ยงอีกประการหนึ่งต่อการเกิดโรคซึมเศร้าเช่นกัน คนที่ขาดความภูมิใจในตนเองมองตนเองและโลกที่เขาอยู่ในแง่ลบตลอดเวลา หรือเครียดง่ายเมื่อ เจอกับมรสุมชีวิต ล้วนทาให้เขาเหล่านั้นมีโอกาสป่วยง่ายขึ้น
  • 4. นอกจากนี้ หากชีวิตพบกับการสูญเสียครั้งใหญ่ต้องเจ็บป่วยเรื้อรัง ความสัมพันธ์กับคนใกล้ชิดไม่ ราบรื่น หรือต้องมีการเปลี่ยนแปลงในทางที่ไม่ปรารถนา ก็อาจกระตุ้นให้โรคซึมเศร้ากาเริบได้ สาเหตุที่จะกระตุ้นการเกิดโรคซึมเศร้าที่พบบ่อยก็คือ การมีทั้งความเสี่ยงทางพันธุกรรม ทางสภาพจิตใจ ประจวบกับการเผชิญกับสถานการณ์ เลวร้าย ร่วมกันทั้ง 3 ปัจจัย
  • 5. การรักษาโรคซึมเศร้า โรคซึมเศร้า สามารถรักษาให้หายได้ด้วยวิธีการรักษาทางจิตใจ และการรักษาด้วยยาหลาย ชนิด โดยที่แต่ละคนอาจตอบสนอง ต่อการรักษาแต่ละชนิดไม่เท่ากัน บางคนอาจต้องการการ รักษาหลายอย่างร่วมกัน การรับประทานยาจะทาให้อาการของโรคดีขึ้นเร็ว ในขณะที่การรักษา ทางจิตใจจะช่วยให้คุณเหมือนมี “ภูมิคุ้มกัน” สามารถต่อสู้กับปัญหาที่จะย่างกรายเข้ามาได้ดี กว่าเดิม ส่วนใหญ่แล้วการรักษาโรคซึมเศร้าไม่จาเป็นต้องมานอนรักษาในโรงพยาบาลแต่อย่างไร เมื่ออาการของโรครุนแรง จนอาจมีอันตรายจากการพยายามฆ่าตัวตาย หรือผู้ป่วยไม่สามารถกิน ยาได้หรือไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยา อาจให้การรักษาด้วยไฟฟ้า แต่จะใช้ในกรณีที่จาเป็น จริงๆเท่านั้น
  • 6. ยารักษาโรคซึมเศร้า ในปัจจุบันยารักษาโรคซึมเศร้าแบ่งออกได้หลายกลุ่ม ตามลักษณะโครงสร้างทางเคมีและ วิธีการออกฤทธิ์ คือ กลุ่ม tricyclic (คือยาที่มีโครงสร้างทางเคมีสามวง) กลุ่ม monoamine oxidase inhibitors เรียกย่อๆ ว่า MAOI กลุ่ม SSRI (serotonin-specific reuptake inhibitor) ซึ่งแต่ละกลุ่มมีข้อดีข้อเสียต่างกัน แต่ประสิทธิภาพการรักษาเท่าเทียมกัน แพทย์อาจเริ่มจ่ายยา กลุ่มใดแก่ผู้ป่วย ก่อนก็ได้เพื่อดูผลตอบสนอง เนื่องจากเราไม่อาจทราบก่อนได้เลยว่า ผู้ป่วยคนใด จะ”ถูก”กับยาชนิดใด แล้วแพทย์จะค่อยๆปรับขนาดยาให้เหมาะสมกับอาการต่อไป
  • 7. ผลข้างเคียงของยารักษาโรคซึมเศร้า กลุ่มยา tricyclics ซึ่งเป็นกลุ่มยาที่ถูกสั่งใช้บ่อยที่สุด และเราได้แนะนาวิธีบรรเทาผลข้างเคียง ไว้ท้ายข้อแล้วดังนี้ 1.ปากแห้งคอแห้ง - ดื่มน้าบ่อยๆ เคี้ยวหมากฝรั่งที่ไม่มีน้าตาล รักษาสุขภาพช่องปากให้ดี 2.ท้องผูก - กินอาหารที่มีกาก หรือมีฤทธิ์ระบายอ่อนๆ ผักผลไม้เช่น ส้มโอ มะขาม มะละกอ 3.ปัญหาการถ่ายปัสสาวะ - อาจมีการถ่ายปัสสาวะลาบาก ปัสสาวะไม่พุ่งเช่นเคย อาจใช้มือกอ หน้าท้องช่วยและปรึกษาแพทย์ 4.ปัญหาทางเพศ - อาจมีปัญหาขณะร่วมเพศได้บ้าง ซึ่งปรึกษาแพทย์ได้ 5.ตาพร่ามัว - อาการนี้จะหายไปอย่างรวดเร็ว ไม่ต้องตัดแว่นใหม่ 6.เวียนศีรษะ - ลุกจากเก้าอี้ หรือเตียงช้าๆ ดื่มน้ามากขึ้น
  • 8. 7.ง่วงนอน - อาการอาจหายไปเอง อย่าพยายามขับรถ หรือทางานกับเครื่องจักร หากง่วงมาก ในช่วงเช้าให้เลื่อนยามื้อก่อนนอนมากินหัวค่ากว่าเดิม สาหรับกลุ่ม SSRI อาจมีผลข้างเคียงที่ต่างออกไป ดังต่อไปนี้ 1.ปวดศีรษะ - อาจมีอาการสักช่วงหนึ่ง แล้วจะหายไป 2.คลื่นไส้ - มักเป็นเพียงชั่วคราว 3.นอนไม่หลับหรือกระวนกระวาย - พบได้ในช่วง 2 ถึง 3 สัปดาห์แรก ของการกินยา หากคงอยู่ นานควรปรึกษาแพทย์
  • 9. การเตรียมตัวรับมือกับโรคซึมเศร้า โดยปกติเท่าที่มีการพบข้อมูลขณะทาการรักษา พบว่า ผู้ที่มีเกณฑ์จะเป็นโรคซึมเศร้ามักจะ เริ่มเป็นตอนช่วงอายุ 25 ปี หลังจากนั้นก็จะเกิดอาการซึมเศร้าต่อเนื่องไปเป็นระยะยาว ถึงแม้ว่าจะ มีการเข้ารับการรักษาแล้ว แต่ก็ยังต้องเฝ้าติดตามอาการอย่างใกล้ชิด การเป็นโรคซึมเศร้าก็จะมี ความคล้ายคลึงการเป็นโรคเบาหวาน หรือโรคความดัน ที่ถึงแม้จะไม่มีอาการให้เห็นแล้ว แต่ก็ ต้องทานยาควบคุมไม่อาการกาเริบได้แต่ข้อดีของการเป็นโรคซึมเศร้าอยู่ตรงที่เมื่อเข้ารับการ รักษาแล้ว ผู้ป่วยจะสามารถกลับมาใช้วิตได้เป็นปกติ เมื่อพูดถึงการรักษา หากผู้ป่วยรับประทานยาจนครบแล้ว แพทย์ที่ทาการรักษาก็จะให้หยุดยา และ ยังต้องคอยเฝ้าสังเกตอาการอย่างใกล้ชิด เนื่องจากว่ามันอาจจะกลับเป็นซ้าอีกได้
  • 10. การรักษาทางจิตใจ แบ่งการรักษาออกเป็น 2 รูปแบบ ที่มีการศึกษาแล้วว่า สามารถรักษาโรคซึมเศร้าได้ดี คือ การ รักษาแบบปรับความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และการรักษาแบบปรับความคิดและพฤติกรรม โดย การรักษารูปแบบแรกมุ่งไปที่การแก้ไขปัญหาระหว่าง ผู้ป่วยกับคนรอบข้างที่อาจ เป็นสาเหตุและ กระตุ้นให้เกิดความซึมเศร้า ส่วนการรักษาแบบหลังจะช่วยให้ผู้ป่วยเปลี่ยนความคิด และ พฤติกรรมในแง่ลบกับตนเอง โดยทั่วไปสาหรับผู้ป่วยที่เป็นโรคซึมเศร้ารุนแรง มีอาการกาเริบซ้าๆ จะต้องการการรักษา ด้วยยาร่วมกับการรักษาทางจิตใจควบคู่กัน เพื่อผลการรักษาในระยะยาวที่ดีที่สุด