SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
สูงวัยกับโรคซึมเศร้า
(elderly peoplemajor depressive disorder)
โรคซึมเศร้าถือเป็นโรคทางด้านจิตเวชที่พบมากเป็น
อันดับต้นๆ ของเมืองไทย เกิดจาก 2 สาเหตุหลักคือ
ปัจจัยทางชีวภาพหรือพันธุกรรมเนื่องจากมีการ
เปลี่ยนแปลงของเคมีในสมอง เกิดจากปัจจัยด้านจิตใจ
หรือสิ่งแวดล้อมที่เรียกว่าปัจจัยทางอารมณ์ เป็นผลมา
จากสถานการณ์ความตึงเครียดทางอารมณ์
บ่อยครั้งที่เรามักเห็นคนแก่นั่งเหม่อลอยอยู่คนเดียว เรื่องราวที่ผ่านมาชีวิต
อันยาวนานทาให้ไม่สามารถลบออกจากห้วงคานึงได้ง่ายๆ และบ่อยครั้งที่
อยากกลับย้อนไปอยู่ในอดีตที่ผ่านมา เคยได้ทางานได้ทากับข้าว ได้ดูแล
ผู้คนมากมาย แต่ปัจจุบันกลับต้องกลายเป็นผู้ถูกดูแล ทาให้ผู้สูงอายุหลาย
คนรู้สึกไร้คุณค่า รู้สึกขาดความสาคัญแลขาดความมั่นใจในตัวเอง ภาวะ
ซึมเศร้าจึงรุกเร้าเข้ามาแทนที่
ทำให้ผู้สูงอำยุหลำยคนรู้สึกไร้คุณค่ำ รู้สึกขำดควำมสำคัญแลขำดควำมมั่นใจในตัวเอง ภำวะ
ซึมเศร้ำจึงรุกเร้ำเข้ำมำแทนที่ จำกกำรที่พบว่ำผู้สูงอำยุมีกำรเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเช่นนี้ถ้ำเป็น
ไม่มำกนักอำจเข้ำข่ำย “ภำวะซึมเศร้ำ” แต่หำกมีอำกำรมำกและกินระยะเวลำนำนก็สำมำรถ
พัฒนำกลำยเป็น “โรคซึมเศร้ำ” ซึ่งจะทำให้ไม่มีควำมสุขในชีวิต
ข้อสังเกตว่าเมื่อคนในครอบครัวหรือใกล้ชิดเข้าข่ายซึมเศร้า
1. พฤติกรรมที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางความคิด คือมักจะมีความคิดไปในทาง Negative Thinking หรือความคิดที่เป็น
ด้านลบตลอดเวลา มักจะรู้สึกสิ้นหวังมองโลกในแง่ร้าย รู้สึกผิดรู้สึกตัวเองไร้ค่าไม่มีความหมาย และคิดว่าไม่มีทางเยียวยาได้ จนทาให้มี
มีความคิดที่จะทาร้ายตัวเอง ในที่สุดก็จะคิดทาร้ายตัวเอง คิดถึงแต่เรื่องความตายลพยายามที่จะฆ่าตัวตาย
2. พฤติกรรมที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางการเรียนรู้หรือการทางาน มักไม่สนใจสิ่งแวดล้อม ความสนุก งานอดิเรก หรือกิจกรรมที่เพิ่ม
ความสนุกรวมทั้งกิจกรรมทางเพศ รู้สึกอ่อนเพลีย ไม่มีพลังงาน การทางานช้าลง การงานแย่ลง ไม่มีสมาธิ ความจาเสื่อม การตัดสินใจ
แย่ลง
3. พฤติกรรมที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์คือ มักจะมีความรู้สึกซึมเศร้า กังวล อยู่ตลอดเวลา มักหงุดหงิดฉุนเฉียว โกรธง่าย
อยู่ไม่สุข กระวนกระวาย เป็นต้น
4. พฤติกรรมที่เปลี่ยนปลงไปอย่างเด่นชัด เช่น นอนไม่หลับ ตื่นเร็ว หรือบางรายหลับมากเกินไป บางคนเบื่ออาหารทาให้น้าหนักลด
บางคนรับประทานอาหารมากทาให้น้าหนักเพิ่ม มีอาการทางกายรักษาด้วยยาธรรมดาไม่หายเช่น อาการปวดศีรษะ แน่นท้อง ปวด
เรื้อรัง ความสัมพันธ์กับบุคคลอื่นแย่ลง
ข้อควรปฏิบัติสาหรับผู้ที่มีภาวะซึมเศร้า โดยมีหลัก 9 ข้อดังต่อไปนี้
1. อย่าตั้งเป้าหมายในการทางาน และปฏิบัติตัวที่ยากเกินไป หรือรับผิดชอบมากเกินไป
2. แยกแยะปัญหาใหญ่ๆ ให้เป็นส่วนย่อยๆ พร้อมทั้งจัดเรียงความสาคัญก่อนหลังและลงมือทาเท่าที่สามารถทาได้
3. อย่าพยายามบังคับตนเอง หรือตั้งเป้ากับตนเองให้สูงเกินไป เพราะอาจไปเพิ่มความรู้สึกล้มเหลวในภายหลัง
4. พยายามทากิจกรรมต่างๆร่วมกับบุคคลอื่น ซึ่งดีกว่าอยู่เพียงลาพัง
5. เลือกทากิจกรรมที่จะสร้างความรู้สึกที่ดีขึ้น หรือเพลิดเพลินและไม่หนักเกินไปเช่นการออกกาลังเบาๆ การชมภาพยนตร์ การร่วมทา
กิจกรรมทางสังคม
6. อย่าตัดสินใจในเรื่องที่สาคัญต่อชีวิตมากๆ เช่น การลาออกจากงาน การแต่งงาน หรือ การหย่าร้าง โดยไม่ได้ปรึกษาผู้ใกล้ชิดที่รู้จักผู้ป่วย
ดี และ ต้องเป็นบุคคลที่สามารถพิจารณาเหตุการณ์นั้นอย่าง ที่ยงตรง มีความเป็นกลาง และ ปราศจากอคติที่เกิดจากอารมณ์มาบดบัง ถ้า
เป็นไปได้ และ ดีที่สุด คือ เลื่อนการตัดสินใจออกไปจนกว่าภาวะโรคซึมเศร้าจะหายไปหรือดีขึ้น มากแล้ว
7. ไม่ควรตาหนิ หรือลงโทษตนเองที่ไม่สามารถทา ได้อย่างที่ต้องการ เพราะ ไมใช่ความผิดของผู้ป่วย ควรทาเท่าที่ตนเองทาได้
8. อย่ายอมรับว่าความคิดในแง่ร้ายที่เกิดขึ้นในภาวะ ซึมเศร้าว่าเป็นส่วนหนึ่งที่แท้จริงของตนเองเพราะโดยแท้จริงแล้วมันเป็นส่วนหนึ่งของ
โรค หรือ ความเจ็บป่วย และ สามารถหายไปได้เมื่อรักษา
9. ในขณะที่ผู้ป่วยโรคซึมเศร้ากลายเป็นคนที่ต้องการ ความช่วยเหลือจากบุคคลอื่นแต่ก็อาจมีบุคคลรอบตัวๆ ที่ไม่เข้าใจในความเจ็บป่วย
ของผู้ป่วย และ อาจสนองตอบในทางตรงกันข้ามและกลายเป็น การซ้าเติมโดยไม่ได้ตั้งใจ
วิธีการดูแลผู้สูงอายุที่ซึมเศร้า
1. การช่วยพยุง หรือประคับประคองทางอารมณ์นับเป็นสิ่งที่สาคัญที่สุดอันได้แก่การรับฟัง ความเข้าใจ ความอดทน ความห่วงใย
2. การสนับสนุนและให้กาลังใจการรับฟังผู้ป่วยอย่างตั้งใจ โดยแทนที่จะแสดงท่าทีราคาญ หรือดูแคลนผู้ป่วย แต่ควรจะชี้ให้เห็นถึงความ
เป็นจริงตลอดจนความหวัง
3. การชักชวนผู้ป่วยเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม หรืองานอดิเรกที่เคยให้ความสนุกสนานต่อผู้ป่วย มาก่อน เช่น เดินเล่น ชมภาพยนตร์ หรือ
เล่นกีฬา แต่ไม่ควรผลักดันมากเกินไป และเร็วเกินกว่าที่ผู้ป่วยจะรับได้เพราะอาจไปเพิ่มความรู้สึกไร้ค่าไร้ความ สามารถให้มากขึ้น
4. อย่าเรียกร้องให้ผู้ป่วยต้องหายจากโรคอย่างรวดเร็ว อย่ากล่าวโทษผู้ป่วยซึมเศร้าว่าแสร้งทา หรือขี้เกียจ เพราะถึงแม้ผู้ป่วยที่ได้รับการ
รักษาก็ยังต้องใช้เวลา ช่วงหนึ่งจึงจะมีอาการดีขึ้น
ผู้จัดทาโครงงาน
1 นางสาว ศุภนิดา ทาส้าว เลขที่ 32 ชั้น 6 ห้อง 5
2 นางสาว ธวัลรัตน์ จันต๊ะ เลขที่ 37 ชั้น 6 ห้อง 5

More Related Content

Similar to สูงวัยกับโรคซึมเศร้า

medication counseling for asolescent with depression
medication counseling for asolescent with depressionmedication counseling for asolescent with depression
medication counseling for asolescent with depressionkamolwantnok
 
Presentation final
Presentation finalPresentation final
Presentation finalssuser5d7fc5
 
saiping,+Journal+manager,+1+สุดารัตน์vol20_no02 (1).pdf
saiping,+Journal+manager,+1+สุดารัตน์vol20_no02 (1).pdfsaiping,+Journal+manager,+1+สุดารัตน์vol20_no02 (1).pdf
saiping,+Journal+manager,+1+สุดารัตน์vol20_no02 (1).pdf60937
 
ไม่ล้มไม่ลืม
ไม่ล้มไม่ลืมไม่ล้มไม่ลืม
ไม่ล้มไม่ลืมUtai Sukviwatsirikul
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Tuk Diving
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Tuk Diving
 
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทยปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทยgeekan
 
โรควิตกกังวลคืออะไร
โรควิตกกังวลคืออะไรโรควิตกกังวลคืออะไร
โรควิตกกังวลคืออะไรfifa23122544
 

Similar to สูงวัยกับโรคซึมเศร้า (10)

medication counseling for asolescent with depression
medication counseling for asolescent with depressionmedication counseling for asolescent with depression
medication counseling for asolescent with depression
 
Presentation final
Presentation finalPresentation final
Presentation final
 
saiping,+Journal+manager,+1+สุดารัตน์vol20_no02 (1).pdf
saiping,+Journal+manager,+1+สุดารัตน์vol20_no02 (1).pdfsaiping,+Journal+manager,+1+สุดารัตน์vol20_no02 (1).pdf
saiping,+Journal+manager,+1+สุดารัตน์vol20_no02 (1).pdf
 
ไม่ล้มไม่ลืม
ไม่ล้มไม่ลืมไม่ล้มไม่ลืม
ไม่ล้มไม่ลืม
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
กิจกรรมที่ 5 นำเสนอโครงงาน
กิจกรรมที่ 5 นำเสนอโครงงานกิจกรรมที่ 5 นำเสนอโครงงาน
กิจกรรมที่ 5 นำเสนอโครงงาน
 
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทยปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย
 
N sdis 78_60_1
N sdis 78_60_1N sdis 78_60_1
N sdis 78_60_1
 
โรควิตกกังวลคืออะไร
โรควิตกกังวลคืออะไรโรควิตกกังวลคืออะไร
โรควิตกกังวลคืออะไร
 

สูงวัยกับโรคซึมเศร้า

  • 2. โรคซึมเศร้าถือเป็นโรคทางด้านจิตเวชที่พบมากเป็น อันดับต้นๆ ของเมืองไทย เกิดจาก 2 สาเหตุหลักคือ ปัจจัยทางชีวภาพหรือพันธุกรรมเนื่องจากมีการ เปลี่ยนแปลงของเคมีในสมอง เกิดจากปัจจัยด้านจิตใจ หรือสิ่งแวดล้อมที่เรียกว่าปัจจัยทางอารมณ์ เป็นผลมา จากสถานการณ์ความตึงเครียดทางอารมณ์
  • 3. บ่อยครั้งที่เรามักเห็นคนแก่นั่งเหม่อลอยอยู่คนเดียว เรื่องราวที่ผ่านมาชีวิต อันยาวนานทาให้ไม่สามารถลบออกจากห้วงคานึงได้ง่ายๆ และบ่อยครั้งที่ อยากกลับย้อนไปอยู่ในอดีตที่ผ่านมา เคยได้ทางานได้ทากับข้าว ได้ดูแล ผู้คนมากมาย แต่ปัจจุบันกลับต้องกลายเป็นผู้ถูกดูแล ทาให้ผู้สูงอายุหลาย คนรู้สึกไร้คุณค่า รู้สึกขาดความสาคัญแลขาดความมั่นใจในตัวเอง ภาวะ ซึมเศร้าจึงรุกเร้าเข้ามาแทนที่ ทำให้ผู้สูงอำยุหลำยคนรู้สึกไร้คุณค่ำ รู้สึกขำดควำมสำคัญแลขำดควำมมั่นใจในตัวเอง ภำวะ ซึมเศร้ำจึงรุกเร้ำเข้ำมำแทนที่ จำกกำรที่พบว่ำผู้สูงอำยุมีกำรเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเช่นนี้ถ้ำเป็น ไม่มำกนักอำจเข้ำข่ำย “ภำวะซึมเศร้ำ” แต่หำกมีอำกำรมำกและกินระยะเวลำนำนก็สำมำรถ พัฒนำกลำยเป็น “โรคซึมเศร้ำ” ซึ่งจะทำให้ไม่มีควำมสุขในชีวิต
  • 4. ข้อสังเกตว่าเมื่อคนในครอบครัวหรือใกล้ชิดเข้าข่ายซึมเศร้า 1. พฤติกรรมที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางความคิด คือมักจะมีความคิดไปในทาง Negative Thinking หรือความคิดที่เป็น ด้านลบตลอดเวลา มักจะรู้สึกสิ้นหวังมองโลกในแง่ร้าย รู้สึกผิดรู้สึกตัวเองไร้ค่าไม่มีความหมาย และคิดว่าไม่มีทางเยียวยาได้ จนทาให้มี มีความคิดที่จะทาร้ายตัวเอง ในที่สุดก็จะคิดทาร้ายตัวเอง คิดถึงแต่เรื่องความตายลพยายามที่จะฆ่าตัวตาย 2. พฤติกรรมที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางการเรียนรู้หรือการทางาน มักไม่สนใจสิ่งแวดล้อม ความสนุก งานอดิเรก หรือกิจกรรมที่เพิ่ม ความสนุกรวมทั้งกิจกรรมทางเพศ รู้สึกอ่อนเพลีย ไม่มีพลังงาน การทางานช้าลง การงานแย่ลง ไม่มีสมาธิ ความจาเสื่อม การตัดสินใจ แย่ลง 3. พฤติกรรมที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์คือ มักจะมีความรู้สึกซึมเศร้า กังวล อยู่ตลอดเวลา มักหงุดหงิดฉุนเฉียว โกรธง่าย อยู่ไม่สุข กระวนกระวาย เป็นต้น 4. พฤติกรรมที่เปลี่ยนปลงไปอย่างเด่นชัด เช่น นอนไม่หลับ ตื่นเร็ว หรือบางรายหลับมากเกินไป บางคนเบื่ออาหารทาให้น้าหนักลด บางคนรับประทานอาหารมากทาให้น้าหนักเพิ่ม มีอาการทางกายรักษาด้วยยาธรรมดาไม่หายเช่น อาการปวดศีรษะ แน่นท้อง ปวด เรื้อรัง ความสัมพันธ์กับบุคคลอื่นแย่ลง
  • 5. ข้อควรปฏิบัติสาหรับผู้ที่มีภาวะซึมเศร้า โดยมีหลัก 9 ข้อดังต่อไปนี้ 1. อย่าตั้งเป้าหมายในการทางาน และปฏิบัติตัวที่ยากเกินไป หรือรับผิดชอบมากเกินไป 2. แยกแยะปัญหาใหญ่ๆ ให้เป็นส่วนย่อยๆ พร้อมทั้งจัดเรียงความสาคัญก่อนหลังและลงมือทาเท่าที่สามารถทาได้ 3. อย่าพยายามบังคับตนเอง หรือตั้งเป้ากับตนเองให้สูงเกินไป เพราะอาจไปเพิ่มความรู้สึกล้มเหลวในภายหลัง 4. พยายามทากิจกรรมต่างๆร่วมกับบุคคลอื่น ซึ่งดีกว่าอยู่เพียงลาพัง 5. เลือกทากิจกรรมที่จะสร้างความรู้สึกที่ดีขึ้น หรือเพลิดเพลินและไม่หนักเกินไปเช่นการออกกาลังเบาๆ การชมภาพยนตร์ การร่วมทา กิจกรรมทางสังคม 6. อย่าตัดสินใจในเรื่องที่สาคัญต่อชีวิตมากๆ เช่น การลาออกจากงาน การแต่งงาน หรือ การหย่าร้าง โดยไม่ได้ปรึกษาผู้ใกล้ชิดที่รู้จักผู้ป่วย ดี และ ต้องเป็นบุคคลที่สามารถพิจารณาเหตุการณ์นั้นอย่าง ที่ยงตรง มีความเป็นกลาง และ ปราศจากอคติที่เกิดจากอารมณ์มาบดบัง ถ้า เป็นไปได้ และ ดีที่สุด คือ เลื่อนการตัดสินใจออกไปจนกว่าภาวะโรคซึมเศร้าจะหายไปหรือดีขึ้น มากแล้ว 7. ไม่ควรตาหนิ หรือลงโทษตนเองที่ไม่สามารถทา ได้อย่างที่ต้องการ เพราะ ไมใช่ความผิดของผู้ป่วย ควรทาเท่าที่ตนเองทาได้ 8. อย่ายอมรับว่าความคิดในแง่ร้ายที่เกิดขึ้นในภาวะ ซึมเศร้าว่าเป็นส่วนหนึ่งที่แท้จริงของตนเองเพราะโดยแท้จริงแล้วมันเป็นส่วนหนึ่งของ โรค หรือ ความเจ็บป่วย และ สามารถหายไปได้เมื่อรักษา 9. ในขณะที่ผู้ป่วยโรคซึมเศร้ากลายเป็นคนที่ต้องการ ความช่วยเหลือจากบุคคลอื่นแต่ก็อาจมีบุคคลรอบตัวๆ ที่ไม่เข้าใจในความเจ็บป่วย ของผู้ป่วย และ อาจสนองตอบในทางตรงกันข้ามและกลายเป็น การซ้าเติมโดยไม่ได้ตั้งใจ
  • 7. 1. การช่วยพยุง หรือประคับประคองทางอารมณ์นับเป็นสิ่งที่สาคัญที่สุดอันได้แก่การรับฟัง ความเข้าใจ ความอดทน ความห่วงใย 2. การสนับสนุนและให้กาลังใจการรับฟังผู้ป่วยอย่างตั้งใจ โดยแทนที่จะแสดงท่าทีราคาญ หรือดูแคลนผู้ป่วย แต่ควรจะชี้ให้เห็นถึงความ เป็นจริงตลอดจนความหวัง 3. การชักชวนผู้ป่วยเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม หรืองานอดิเรกที่เคยให้ความสนุกสนานต่อผู้ป่วย มาก่อน เช่น เดินเล่น ชมภาพยนตร์ หรือ เล่นกีฬา แต่ไม่ควรผลักดันมากเกินไป และเร็วเกินกว่าที่ผู้ป่วยจะรับได้เพราะอาจไปเพิ่มความรู้สึกไร้ค่าไร้ความ สามารถให้มากขึ้น 4. อย่าเรียกร้องให้ผู้ป่วยต้องหายจากโรคอย่างรวดเร็ว อย่ากล่าวโทษผู้ป่วยซึมเศร้าว่าแสร้งทา หรือขี้เกียจ เพราะถึงแม้ผู้ป่วยที่ได้รับการ รักษาก็ยังต้องใช้เวลา ช่วงหนึ่งจึงจะมีอาการดีขึ้น
  • 8. ผู้จัดทาโครงงาน 1 นางสาว ศุภนิดา ทาส้าว เลขที่ 32 ชั้น 6 ห้อง 5 2 นางสาว ธวัลรัตน์ จันต๊ะ เลขที่ 37 ชั้น 6 ห้อง 5