SlideShare a Scribd company logo
1 of 154
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนาเสนอ
และการนาไปใช้ประโยชน์
I การเขียนรายงานการวิจัย
2
โครงร่างรายงานการวิจัย
แนวทางจัดทารายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์
ก. ส่วนประกอบตอนต้น
1. หน้าปก (Cover) ระบุคาว่า “รายงานการวิจัย” และชื่อ
เรื่องเป็น ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ พร้อมทั้งชื่อผู้วิจัย
2. กิตติกรรมประกาศ (Accknowledgement) ผู้ที่มี
ส่วนเกี่ยวข้องให้ความช่วยเหลือแก่ผู้วิจัย
3. บทคัดย่อภาษาไทยและบทคัดย่อภาษาอังกฤษ(Abstract)
4. สารบัญเรื่อง (Table of Contents)
5. สารบัญตาราง (List of Tables)
6. สารบัญภาพ (List of Illustrations)
7. คาอธิบายสัญลักษณ์และคาย่อที่ใช้ในการวิจัย
(List of Abbreaviations)
ก. ส่วนประกอบตอนต้น (ต่อ)
ข. ส่วนประกอบเนื้อเรื่อง
 1. บทนา (Introduction) ซึ่งกล่าวถึงเนื้อหาของเรื่องที่เคยมี
ผู้ทาการวิจัยมาก่อน ความสาคัญ และที่มาของปัญหา
วัตถุประสงค์และขอบเขตการวิจัย ประโยชน์ที่คาดว่าจะ
ได้รับ วิธีการดาเนินการวิจัยโดยสรุป ทฤษฏี และ / หรือ
แนวความคิดที่นามาใช้ในการวิจัย ฯลฯ
 2. เนื้อเรื่อง (Main Body) ซึ่งกล่าวถึงรายละเอียดเกี่ยวกับ
วิธีดาเนินการวิจัย (Material & Method) ผลการวิจัย
(Result) ฯลฯ
ข. ส่วนประกอบเนื้อเรื่อง (ต่อ)
 3. อภิปราย/วิจารณ์ (Discussion)
ผลการทดลอง/ ผลการวิจัย ที่ได้ทั้งหมด
 (ทั้งที่เป็นและไม่เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้)
 4. สรุปและเสนอแนะ (Conclusion and Recommendation)
โดยสรุปเรื่องราวในการวิจัยพร้อมทั้งเสนอแนะเกี่ยวกับ
การวิจัยในขั้นต่อไป ตลอดจนประโยชน์ในทางประยุกต์
ของผลงานวิจัยที่ได้
ค. ส่วนประกอบตอนท้าย
 1. บรรณานุกรม (Bibliography) ระบุชื่อเอกสารอ้างอิง
โดยเรียงลาดับเอกสารอ้างอิงภาษาไทยก่อนแล้วตาม
ด้วยเอกสารภาษาต่างประเทศ ทั้งนี้ให้เรียงตามลาดับ
 2. ภาคผนวก (Appendix) ถ้ามี
 3. ประวัติผู้วิจัย
ส่วนประกอบตอนต้น
 คานา
 กิตติกรรมประกาศ
 บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
 บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
 บทสรุปสาหรับผู้บริหาร
 สารบัญ
 สารบัญตาราง
 สารบัญแผนภูมิ
 คาอธิบายสัญลักษณ์และคาย่อ(ถ้ามี)
 เป็ นส่วนที่จะบอกให้ผู้อ่านทราบว่ารายงานวิจัยเรื่องนี้
ชื่ออะไร ดาเนินการวิจัยโดยใคร มีหน่วยงานใดให้ทุน
สนับสนุน ปกในที่นี้หมายถึงทั้งปกนอกและปกใน ซึ่ง
อาจจะใช้ข้อความเหมือนกัน หรือเพิ่มรายละเอียดมากขึ้น
ในส่วนปกในก็ได้
(รูปแบบการจัดพิมพ์หน้ารายงานวิจัย)
หน้าแรกของแต่ละบท
2 นิ้ว
1 นิ้ว1.5 นิ้ว
1 นิ้ว
ขอบกระดาษ
ขอบกระดาษ (เลขหน้าจากขอบ 1 นิ้ว)
1.5 นิ้ว 2
1 นิ้ว
1.5 นิ้ว
1 นิ้ว
ขอบกระดาษ
(รูปแบบการจัดพิมพ์หน้ารายงานวิจัย)
หน้าปกติ
รายงานการวิจัย
เรื่อง
ปัจจัยเชิงเหตุ และผล เกี่ยวกับพฤติกรรมตารวจ
ในการปลูกฝังอบรมบุตรชายให้เคารพกฎระเบียบ
Antecedents and Consequences Concerning
Parental Discipline Practices in Thai Police
โดย
พ.ต.ต. หญิง ดร. ทิพย์ฆัมพร เกษโกมล
พ.ต.ท. หญิง ดร. ปราณี เสนีย์
พ.ต.อ. หญิง ยุพิน เนียมแสง
วิทยาลัยพยาบาลตารวจ
โรงพยาบาลตารวจ สานักงานตารวจแห่งชาติ
รายงานการวิจัยฉบับนี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจาก
สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
พ.ศ. 2550
ISBN………………..
คานาและกิตติกรรมประกาศ หรือประกาศคุณูปการ
เป็ นการชี้แจงสิ่งที่ผู้วิจัยต้องการให้ผู้อ่านทราบเป็นพิเศษ เช่น
มูลเหตุที่ทาวิจัยเรื่องนั้น การทาวิจัยในครั้งนั้นทาขึ้นเพื่ออะไร
มีความมุ่งหมายและขอบเขตสาคัญอย่างไร และผลของการวิจัยเรื่อง
นั้นใช้เป็นประโยชน์อะไรได้บ้าง รวมทั้งเป็นส่วนที่ใช้กล่าวขอบคุณ
ผู้ที่ให้ความสนับสนุนช่วยเหลือให้การวิจัยนั้นสาเร็จลุล่วงไปด้วย
ความเรียบร้อย โดยระบุชื่อสกุล ผู้เชี่ยวชาญที่ให้คาแนะนาหรือความ
ช่วยเหลือในด้านต่าง ๆ และระบุเอกสารต่าง ๆ ในภาคบรรณานุกรม
สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้จะช่วยเสริมให้ผู้อ่านเกิดความมั่นใจในคุณภาพของ
การศึกษาเรื่องนั้นมากยิ่งขึ้น ท้ายสุดลงชื่อสกุลผู้ทาวิจัยด้วย
กิตติกรรมประกาศ
รายงานการประเมินโครงการพัฒนาสถานศึกษา 3 ดี (3D)
เพื่อส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนวิทยาลัยเทคนิคอานาจเจริญฉบับนี้ สาเร็จด้วยดี
เพราะได้รับความอนุเคราะห์จากผู้เชี่ยวชาญ 5 ท่าน ในการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
เก็บรวบรวมข้อมูลการประเมินและร่วมประชุมเชิงวิชาการวิพากษ์ผลการประเมิน
โครงการ ประกอบด้วย
1. ดร.มนูญ ศิวารมย์ อาจารย์ประจาคณะบัณฑิตวิทยาลัย หลักสูตร
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
2. ดร.ประยุทธ ชูสอน อาจารย์ประจาคณะศึกษาศาสตร์ สาขาการบริหารการศึกษา
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
3. ว่าที่ร้อยตรีดร.ทวีศักดิ์ นามศรี ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2
4. นายลิขิต พลเหลา ผู้อานวยการเชี่ยวชาญวิทยาลัยเทคนิคอุบลราชธานี
5. นางวิไลลักษณ์ ราญสระน้อย ครูเชี่ยวชาญโรงเรียนชลกันยานุกูล
ขอขอบพระคุณดร.พงศ์เทพ จิระโร ภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาประยุกต์
และ ดร.สมชาย พัทธเสน อาจารย์พิเศษ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
ที่กรุณาให้แนวคิด ข้อแนะนา และตรวจทาน ทาให้การรายงานมีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น
ขอขอบพระคุณอาจารย์ทานอง รังสีปัญญา อดีตผู้อานวยการระดับ 9 โรงเรียน
มัธยมศึกษา กรมสามัญศึกษา ที่กรุณาให้คาปรึกษาการจัดทารายงานการประเมินโครงการ
ขอขอบพระคุณคณะผู้บริหารและครู คณะกรรมการสมาคมผู้ปกครองและครู
กับคณะกรรมการชมรมศิษย์เก่า และนักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยเทคนิคอานาจเจริญ
ตลอดจนผู้เกี่ยวข้องอื่น ๆ ที่มีส่วนร่วมอย่างดียิ่งในการดาเนินโครงการจนสาเร็จลุล่วง
ตามวัตถุประสงค์ ส่งผลให้ได้รับรางวัลชนะเลิศการดาเนินงานพัฒนาสถานศึกษา 3 ดี (3D)
จากกระทรวงศึกษาธิการ
ผู้ประเมินขอมอบคุณค่าของรายงานการประเมินโครงการนี้บูชาคุณบุพการีและผู้มี
พระคุณทุกท่าน
อักษรศิลป์ แก้วมหาวงศ์
ผู้อานวยการวิทยาลัยเทคนิคอานาจเจริญ
กิตติกรรมประกาศ (ต่อ)
บทคัดย่อ เป็นข้อความโดยสรุปของรายงานการวิจัยที่
สั้น กะทัดรัด ชัดเจน และได้ข้อความครอบคลุมเนื้อหาของ
รายงานการวิจัยทั้งหมด โดยตัดรายละเอียดออก บทคัดย่อ
นิยมทาเป็ น 2 ภาษาคือ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ บาง
สถาบันการศึกษานิยมวางบทคัดย่อไว้หลังบรรณานุกรมหรือ
หลังภาคผนวก (ถ้ามี)
ในบทคัดย่อ
1. ไม่ควรระบุสิ่งใดที่มิได้มีปรากฏอยู่ในเนื้อเรื่อง และนาเอาชื่อเรื่อง
มากล่าวซ้า ควรกล่าวถึงวัตถุประสงค์และวิธีการหรือแนวการศึกษา
สาหรับวิธีการใหม่ควรกาหนดหลักการ แนวการปฏิบัติ และขอบเขต
ของความแน่นอน
2. ไม่ควรอ้างอิงเอกสาร รูปภาพ และตารางใด ๆ ในบทคัดย่อ ควร
พยายามเน้นถึงสิ่งที่มีชีวิตหรือสารที่พบใหม่ หากผู้เขียนต้องอ้างอิง
เอกสาร ก็จะต้องให้แหล่งของเอกสารอ้างอิงในบทคัดย่อนั้นเองเลย
โดยใส่ในวงเล็บ
3. ต้องไม่มีบัญชีรายชื่อเอกสารอ้างอิงอยู่ในบทคัดย่อ
4. ควรพยายามรักษาให้บทคัดย่ออยู่ในความยาวไม่เกิน 200 คา หรือ
ประมาณ 3% ของเนื้อเรื่อง
บทคัดย่อมีประโยชน์ 2 ประการ คือ :
1. เมื่อใช้บทคัดย่อนาเนื้อเรื่อง จะช่วยให้ผู้อ่านทราบสาระโดยสังเขป
ของเรื่องทั้งหมด โดยไม่ต้องเสียเวลาอ่านทั้งเรื่อง โปรดอย่าลืมว่า
นักวิทยาศาสตร์ส่วนใหญ่ไม่ค่อยมีเวลาว่างนัก แม้กระทั่งที่จะอ่าน
บทความทางวิทยาศาสตร์ ฉะนั้นหากท่านเรียบเรียงบทคัดย่อได้สั้นที่
สุดแต่ได้ใจความมากที่สุดจะช่วยประหยัดเวลาของนักวิทยาศาสตร์
ทั้งหลายได้มาก
2. วารสารทุติยภูมิหรือวารสารประเภท abstracts ทั้งหลายสามาร
นาเอาข้อความใน “บทคัดย่อ” ทั้งหมดไปลงพิมพ์ได้ทันที จึงเป็นการ
ช่วยให้เรื่องที่ปรากฏในวารสารปฐมภูมิได้ไปปรากฏในวารสารทุติย
ภูมิรวดเร็วและถูกต้องยิ่งขึ้น
วิธีที่ใคร่จะแนะนาก็คือ ผู้เขียนควรจะพิมพ์สาเนาของ
บทคัดย่อแยกต่างหาก ใส่ชื่อผู้เขียน ที่อยู่ และชื่อเรื่อง รวมทั้ง
ชื่อของวารสารที่ประสงค์จะส่งเรื่องไปตีพิมพ์ เว้นช่องว่าง
สาหรับปีที่ (volume) หน้าที่ (pages) และปีปฏิทิน (พ.ศ. หรือ
ค.ศ. แล้วแต่กรณี) แล้วจึงตามด้วยบทคัดย่อ บรรณาธิการ
ของวารสารนั้น ๆ จะเติมข้อความที่ว่างไว้แล้วส่งไปวารสาร
ทุติยภูมิที่เกี่ยวข้องเอง
ตอนที่ 1 กล่าวถึงปัญหาและวัตถุประสงค์
ตอนที่ 2 กล่าวถึงวิธีดาเนินการวิจัย
ตอนที่ 3 กล่าวถึงผลของการวิจัย การค้นพบ
และข้อเสนอแนะ
แบบฟอร์มบทคัดย่อ
สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
- - - - - - - - - - - - - - - -
ส่วนที่ 1รายละเอียดเกี่ยวกับโครงการวิจัย
ชื่อโครงการ (ภาษาไทย).......................................................
(ภาษาอังกฤษ)..............................................................
ชื่อผู้วิจัย (นาย นาง นางสาว).........................................................
สถาบันระดับอุดมศึกษาที่สังกัด......................................................
........................................................................................................
หมายเลขโทรศัพท์.........................................ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัย
ประเภท...........................................ประจาปี...........................................
จานวนเงิน................................................ระยะเวลาทาการวิจัย............ปี
ตั้งแต่.........................................................ถึง..........................................
ส่วนที่ 2 บทคัดย่อ
ภาษาไทย
- ปัญหา วัตถุประสงค์ และวิธีการดาเนินการ (6-10 บรรทัด)
- ผลของการศึกษา
- สรุปผลของการค้นพบ
- ข้อเสนอแนะ (ถ้ามี)
ภาษาอังกฤษ
- ปัญหา วัตถุประสงค์ และวิธีการดาเนินการ (6-10 บรรทัด)
- ผลของการศึกษา
- สรุปผลของการค้นพบ
- ข้อเสนอแนะถ้ามี (ถามี)
ความยาวของบทคัดย่อไม่ควรเกิน 2 หน้ากระดาษ A 4
อัตราส่วนผสม ปริมาณจุลินทรีย์และอุณหภูมิที่มีผลต่อคุณภาพกะปิ
บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์ : กะปิเป็นผลิตภัณฑ์แปรรูปสัตว์น้าจาพวกกุ้งเคย หรือปลา
เป็นส่วนประกอบหลักของการการทาอาหารพื้นบ้าน ปัจจุบันกระบวนการทากะปิ
ได้ถูกแปรรูปเป็นแบบอุตสาหกรรมใหม่ผลิตครั้งละมาก ๆ ทาให้เกิดปัญหาด้าน
คุณภาพและมีผลต่อความเชื่อมั่นของผู้บริโภค
วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้
1) เพื่อศึกษาอัตราส่วนผสมของเคยกับเกลือ ปริมาณจุลินทรีย์และอุณหภูมิ
ที่เหมาะสมต่อคุณภาพกะปิ
2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้บริโภคต่อคุณภาพกะปิกลุ่มตัวอย่าง เป็นกลุ่ม
พ่อบ้านและแม่บ้าน จานวน 50 คน โดยการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random
Sampling)
วัสดุอุปกรณ์และวิธีการศึกษา : อุปกรณ์ เครื่องมือ และสารเคมี
ในการทากะปิ อุปกรณ์วัดอุณหภูมิ และอุปกรณ์ตรวจสอบปริมาณจุลินทรีย์
ได้ดาเนินการทดลองหาอัตราส่วนผสม ปริมาณจุลินทรีย์และอุณหภูมิ ที่มีผลต่อ
คุณภาพกะปิ เป็นการดาเนินการวิจัยในเชิงทดลองทางวิทยาศาสตร์ จานวน 4 ซ้า
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การ
วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA)
อัตราส่วนผสม ปริมาณจุลินทรีย์และอุณหภูมิที่มีผลต่อคุณภาพกะปิ
ผลการศึกษา : พบว่า
1. อัตราส่วนผสมของเคยกับเกลือที่เหมาะสมต่อคุณภาพกะปิ คือ เคย
10 ส่วน ต่อ เกลือ 1.4 ส่วน
2. ปริมาณจุลินทรีย์ที่มีผลต่อคุณภาพกะปิ คือ ปริมาณยีสต์และราปนเปื้อน
ไม่เกิน 50 โคโลนีต่อน้าหนักกะปิ 1 กรัม
3. อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อคุณภาพกะปิ คือ อุณหภูมิอากาศปกติ (ตากแดด)
4. ความพึงพอใจของผู้บริโภคต่อคุณภาพกะปิ อยู่ในระดับดีมาก เมื่อ
จาแนกตามลักษณะเนื้อ สี กลิ่น และรส พบว่า ระดับความพึงพอใจมากที่สุด
คือ กลิ่น รองลงมา คือ สี ลักษณะเนื้อ และน้อยที่สุด คือ รส
อัตราส่วนผสม ปริมาณจุลินทรีย์และอุณหภูมิที่มีผลต่อคุณภาพกะปิ
อัตราส่วนผสม ปริมาณจุลินทรีย์และอุณหภูมิที่มีผลต่อคุณภาพกะปิ
บทสรุป :
1. กะปิซึ่งมีอัตราส่วนผสมของเคยกับเกลือ 10 : 1.4 เป็นกะปิที่มีคุณภาพดีที่สุด โดย
ใช้เกณฑ์การตรวจสอบคุณภาพกะปิของสานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม และ
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ซึ่งได้แก่ ลักษณะเนื้อ สี กลิ่น รส ปริมาณจุลินทรีย์ และ
อุณหภูมิที่เหมาะสม
2. ในแต่ละสูตรจุลินทรีย์มีการเปลี่ยนแปลงปริมาณเมื่อเวลาผ่านไป ซึ่งหากการเติม
สารอาหารของจุลินทรีย์ลงในกะปิ จะทาให้จุลินทรีย์มีการเจริญเติบโตได้ดี
3. การหมักกะปิที่อุณหภูมิต่างๆ ทาให้ปริมาณแบคทีเรียแตกต่างกัน โดยเฉพาะอุณหภูมิ
อากาศปกติ (ตากแดด) ซึ่งพบปริมาณจุลินทรีย์น้อยที่สุด จัดเป็นอุณหภูมิที่เหมาะสมที่สุด
เนื่องเพราะสามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ได้ดี และการที่ไม่พบการปนเปื้อน
ของแบคทีเรียก่อโรค
4. ระดับความพึงพอใจมากที่สุด คือ กลิ่น รองลงมา คือ สี ลักษณะเนื้อ และน้อยที่สุด
คือ รส
รหัสคา : กะปิ คุณภาพกะปิ
Agricultural Sci. J. 36 5-6 (Suppl) : 1013-1016(2005) ว.วิทย.เกษ.36 5-6(พิเศษ):1013-
1016(2548)
อิทธิพลของการตัดแต่งดอกต่อคุณภาพและปริมาณเมล็ดพันธุ์ลูกผสมบรอคโคลี่-คะน้าในจังหวัดเลย
Influence of Inflorescence Thinning on Seed Quality and Seed Yield of
Broccoli-Chinese Kale Hybrid in Loei
มยุรี สักทอง1
Mayuree Sukthong1
บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์ของการศึกษาเรื่องอิทธิพลของการตัดแต่งดอกต่อคุณภาพ
และปริมาณเมล็ดพันธุ์ลูกผสมบรอคโคลี่-คะน้า ในจังหวัดเลย เป็นการหาวิธี
ที่เหมาะสมในการตัดแต่งดอกที่ให้ได้เมล็ดพันธุ์ที่มีปริมาณ
และคุณภาพสูงสุด ได้นาเมล็ดพันธุ์ที่ปรับปรุงโดย
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มาทาการศึกษา
วางแผนการทดลองแบบ RCBD มี 3 ซ้า และตัดแต่งดอก 6 วิธี
คือ ตัดแต่งกลางดอกออก 50 % และ 75 % ของขนาดดอก
เมื่อดอกโตเต็มที่และระยะดอกย่อยเริ่มแยกตัว ตัดแต่งให้
ช่อดอกให้เหลือ 15 ช่อ และไม่มีการตัดแต่งดอก ผลปรากฏ
ว่าวิธีการตัดแต่งทั้ง 6 วิธีให้จานวนฝักต่อช่อ ความยาวของ
ฝักจานวนเมล็ดต่อฝักและน้าหนัก ,000 เมล็ด ไม่แตกต่างกัน
ทางสถิติ แต่จะแตกต่างกันในเรื่องจานวนช่อต่อต้น ความยาว
ช่อและจะแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญยิ่งสาหรับน้าหนักเมล็ด
ต่อต้น
การตัดแต่งช่อดอกให้เหลือ 15 ช่อจะได้เมล็ดน้าหนัก
มากที่สุดคือ 8.22 กรัมต่อต้น รองลงมาคือ เมล็ดจากต้นไม่มี
การตัดแต่งดอกเลย ซึ่งได้น้าหนัก 7.64 กรัมต่อต้นส่วนคุณภาพ
ของเมล็ดพันธุ์วัดได้จากดัชนีความเร็วในการงอกและเปอร์
เซ็นต์ความงอกแม้ว่าจะไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ แต่การ
ตัดแต่งช่อให้เหลือ 15 ช่อ จะให้คุณภาพเมล็ดพันธุ์ดีที่สุด โดย
สรุปแล้วการตัดแต่งดอกลูกผสม
บรอคโคลี่-คะน้า ที่ให้ปริมาณและคุณภาพเมล็ดพันธุ์สูงที่สุดคือ การตัดแต่ง
ช่อดอกให้เหลือ 15 ช่อ และรองลงมาคือไม่ตัดแต่งดอกเลย
Agricultural Sci. J. 36 5-6 (Suppl) : 1080-1082(2005) ว.วิทย.กษ.36 5-6 (พิเศษ):1080-1082(2548)
ผลของการให้น้าในปริมาณที่แตกต่างกันที่มีต่อการเจริญเติบโตของตะไคร้ 2 พันธุ์
Effect of Different Irrigation Amounts on Growth of Two Lemon Grass Cultivars
สัจจา ธรรมาวิสุทธิผล1 และ สมยศ เดชภิรัตนมงคล1
Sutja Tummavisuttipon 1 and Somyot Detpiratmangkol1
บทคัดย่อ
จุดประสงค์ของการทดลองนี้เพื่อต้องการศึกษาถึงผลของการให้น้าในระดับที่
แตกต่างกันที่มีต่อการเจริญเติบโตของตะไคร้ 2 พันธุ์ วางแผนการทดลองแบบ split
plot มีจานวน 3 ซ้า Main plot ได้แก่ ตะไคร้ 2 พันธุ์ คือ ตะไคร้กอ (Cymbopogon
citratus) และ ตะไคร้หอม (Cymbopogon nardus) ส่วน Sub plots ได้แก่ปริมาณ
น้าที่ให้แก่ตะไคร้ 5 ระดับ คือให้น้าตามสัดส่วนของค่าปริมาณน้าที่ให้ต่อค่าการระเหย
สะสม
(irrigation water / evaporation, IW/E) 0.1,0.3,0.5,0.7
และ1.0 ตามลาดับ ผลจากการทดลองพบว่า ตะไคร้หอม
มี น้าหนักต้น ใบและน้าหนักแห้งทั้งหมดมีค่ามากกว่าตะไคร้
กอความสูง พื้นที่ใบและน้าหนักแห้งทั้งหมดมีค่าเพิ่มมากขึ้น
เมื่อปริมาณน้าที่ให้แก่ตะไคร้มีค่าเพิ่มมากขึ้นจาก IW/E 0.1 จน
ถึง IW/E 1.0 ตะไคร้ที่ได้รับน้าในสัดส่วนของ IW/E มีค่ามาก
ที่สุดจะมีการเจริญเติบโตทางลาต้นและน้าหนักแห้งรวมมีค่า
มากที่สุด ในขณะที่เมื่อได้รับน้าในสัดส่วนของ IW/E มีค่าน้อย
ที่สุดจะมีค่าต่าที่สุด อย่างไรก็ตามไม่พบความสัมพันธ์ระหว่าง
พันธุ์ของตะไคร้กับปริมาณน้าที่ให้แก่ตะไคร้
Agricultural Sci. J. 36 5-6 (Suppl) : 749-752(2005) ว.วิทย.กษ. 36 5-6(พิเศษ) :
749-752(2548)
การศึกษาวัสดุเพาะที่เหมาะสมในการเพาะต้นกล้าแพงพวยพันธุ์ แปซิฟิ ค่า เรด
A Study on Suitable Sowing Media for Periwinkle (Catharanthus rosea) Pacifica Red
ศรีประไพ ธรรมแสง1 และจารุวัฒน์ คาสะอาด1
Sriprapai Thummasaeng1 and Jaruwat Kumsaart1
บทคัดย่อ
การศึกษาชนิดวัสดุเพาะที่เหมาะสมในการเพาะกล้าแพงพวย พันธุ์แปซิฟิ
ค่า เรด มีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการหาวัสดุเพาะที่ สามารถนามาทดแทนการ
ใช้พีทในการเพาะเมล็ดไม้ดอก ทาการทดลองที่
คณะเกษตรศาตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
วางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design
เพาะเมล็ดแพงพวยในวัสดุเพาะ 6 สูตร ได้แก่ สูตรที่ 1 แกลบ
เผาหยาบ สูตรที่ 2 ขุยมะพร้าว สูตรที่ 3 พีท สูตรที่ 4 5 และ
6 ใช้ พีท : ขุยมะพร้าว : แกลบเผาหยาบ อัตรา 2:1:1, 1:2:1
และ 1:1:2 ตามลาดับ ผลการทดลองพบว่า วัสดุเพาะที่เหมาะสม
ในการเพาะกล้าแพงพวยพันธุ์แปซิฟิ ค่า เรด คือวัสดุเพาะสูตร
ที่ 3,4,5 และ 6 ซึ่งต้นพืชมีความสูง ความกว้างทรงพุ่ม จานวน
ใบ น้าหนักสด และน้าหนักแห้ง ไม่แตกต่างกัน ดังนั้นวัสดุ
เพาะสูตรที่ 4 5 และ 6 จึงสามารถใช้เป็นวัสดุเพาะกล้าแทนการ
ใช้พีทได้ ทั้งนี้พบว่าสูตรที่ 5 ละ 6 สามารถลดปริมาณการใช้พีทลงได้ถึง 75
เปอร์เซ็นต์
Agricultural Sci. J. 36 5-6 (Suppl) : 974-977(2005) ว.วิทย.กษ. 36 5-6 (พิเศษ) : 974-977(2548)
ศักยภาพทางอัลลีโลพาทีของสารที่แยกได้จากสารสกัดใบประยงค์ในชั้นคลอโรฟอร์มชั้นที่ 8
Alleiopathic Potential of Isolated Substances from Eighth Chloroform Fraction of
Aglaia odorataLour Leaf Extract.
วิรัตน์ ภูวิวัฒน์1 พัชนี เจริญยิ่ง2 จารูญ เล้าสินวัฒนา1 และยิ่งยง เมฆลอย1
Wirat Phuwiwat1 Patchanee Charoenying 2 Chamroon Laosinwattana1 and Yingyon Makol1
บทคัดย่อ
จากการแยกสารสกัดจากใบประยงค์ (Ag;aia odorata Lour) ในชั้นคลอโรฟิ ร์มชั้นที่
8 ด้วยวิธีคอลัมน์โครมาโตกราฟี ปรากฏว่าสามารแยกสารสกัดได้เป็นจานวน 8 ชั้น และเมื่อ
ทาการทดสอบผลของสารสกัดทั้ง 8 ชั้นที่ระดับความเข้มข้น 0 (น้ากลั่น) 62.5, 125, 250
และ 500ppm
ต่อการงอกของเมล็ดวัชพืช 4 ชนิด ได้แก่ ผักโขม
(Amaranthus viridis L.) หงอนไก่ป่ า (Celosia argentea L.) หญ้าขจร
จบดอกเหลือง (Pennisetum setosum L.) และหญ้าข้าวนก
(Echinochioa crus-galli (L) Beauv.) พบว่าสารสกัดในชั้นที่ 4 ให้ผล
ในการยับยั้งการงอกของเมล็ดมากที่สุด รองลงมาคือสารสกัดในชั้นที่ 5
ซึ่งสารสกัดในชั้นที่ 4 ที่ระดับความเข้มขน 125 ppm สามารถยับยั้ง
การงอกของเมล็ดพืชทั้ง 4 ชนิดได้อย่างสมบูรณ์ ขณะที่สารสกัดใน
ชั้นที่ 5 ให้ผลในการยับยั้งการงอกของเมล็ดอย่างสมบูรณ์ที่ระดับ
ความเข้มข้น 500 ppm
1 ภาควิชาพืชสวน คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพ
ฯ 10520
1 Dept. of Horticulture, Faculty of Agricultural Technology, King Mongkut’s Institute of
Technology Ladkrabang, Bangkok, 10520
2 ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพ ฯ 10520
2 Dept. of Chemistry, Faculty of Science, King Mongkut’s Institute of Technology
Ladkrabang, Bangkok, 10520
Agricultural Sci. J. 36 5-6 (Suppl) : 689-692 (2005) ว.วิทย.กษ. 36 5-6 (พิเศษ) : 689-
692(2548)
ผลของสารพาโคลบิวทราโซลต่อการเจริญเติบโตของกุหลาบในสภาพปลอดเชื้อ
Effect of Paclobutrazole on Growth of Roses In Vitro
พินิจ กรินท์ธัญญกิจ1 กัลยาณี สุวิทวัส1
Pinit Karintanyakit 1 Kunlayamee
Suvittaws1
บทคัดย่อ
การศึกษาการเลี้ยงกุหลาบในอาหารสูตร MS ที่เติม BA เข้มข้น 1 มก./ล.
ร่วมกับสารพาโคลบิวทราโซล เข้มข้น 0, 5, 10, 15 และ 20 มก./ล. เป็นเวลา 5
เดือน พบว่ากุหลาบสามารถเพิ่มปริมาณยอดได้ ในอาหารสูตร MS เติม BA 1มก./
ล. ร่วมกับพาโคลบิวทราโซล เข้มข้น 0 และ 5 มก./ล. โดยมีคะแนนการเพิ่มปริมาณ
ยอดเฉลี่ยเป็น 3.1 และ 2.6 ตามลาดับ หลังจากเลี้ยงไปได้ 1 เดือน
และมีการเพิ่มปริมาณยอดมากขึ้นในเดือนที่ 2 โดยคะแนนการเพิ่มปริมาณยอดเฉลี่ย
เป็น 3.7 และ 3 ต้นกุหลาบมีความสูงมากที่สุด 4.76 ซม. ในอาหารที่ไม่เติมสารโคล
บิวทราโซล และมีความสูงของต้นน้อยที่สุด 0.74 ซม. ในอาหารที่เติมสารโคลบิวทรา
โซล เข้มข้น 20 มก./ล. หลังจากเลี้ยงไปได้ 2 เดือนพบการเกิดราก 60% ในกุหลาบ
ที่เลี้ยงในอาการสูตรที่เติมสารพาโคลบิวทราโซล 5 มก./ล. ร่วมกับ BA 1 มก./ล.
เมื่อเลียงกุหลาบไปได้ 4 และ 5 เดือน พบการตายของต้น โดยมี % การตายสูงสุด
83.33 และ 84% ในกุหลาบที่เลี้ยงในอาหารที่เติมสารพาโคลบิวทราโซล เข้มข้น 20
มก./ล. เมื่อนาคะแนนการเพิ่มปริมาณยอดและความสูงของต้นเฉลี่ยเปรียบเทียบกัน
ทางสถิติ พบว่ามีความแตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนัยสาคัญยิ่ง
บทสรุปสาหรับผู้บริหาร
1. รายงานทางวิชาการหรือรายงานวิจัย มักจัดทาบทสรุปสาหรับ
ผู้บริหาร เพื่อให้ผู้บริหารได้อ่านในเวลาอันสั้น
2. หลังจากที่ผู้เขียนได้เขียนเรื่องทั้งหมดจบลงแล้ว ควรอ่านบท
ทบทวนและบันทึกสาระสาคัญในเรื่อง ลักษณะของปั ญหา,
วัตถุประสงค์ วิธีการ, ผล, สรุปผล, และข้อเสนอแนะสาหรับงานขั้น
ต่อไป, แล้วนามาเรียบเรียงเป็นบทสรุปสาหรับผู้บริหารในภายหลัง
ในบทสรุปของผู้บริหาร
1. ไม่ควรระบุสิ่งใดที่มิได้มีปรากฏอยู่ในเนื้อเรื่อง และนาเอาชื่อเรื่องมากล่าว
ซ้า ควรกล่าวถึงวัตถุประสงค์และวิธีการหรือแนวการศึกษา
2. อาจมีรูปภาพ และตาราง ในบทสรุปสาหรับผู้บริหารได้ หากผู้เขียนต้อง
อ้างอิงเอกสาร ก็จะต้องให้แหล่งของเอกสารอ้างอิงในบทสรุปย่อนั้นเอง
เลยโดยใส่ในวงเล็บ ภาษาที่ใช้เข้าใจง่าย
3. ต้องไม่มีบัญชีรายชื่อเอกสารอ้างอิงอยู่ในบทสรุป
4. ควรพยายามรักษาให้บทสรุปอยู่ในความยาวไม่เกิน 3 – 5 หน้ากระดาษ
A4
บทสรุปสาหรับผู้บริหารมีประโยชน์ 2 ประการ คือ
1. เมื่อผู้บริหารได้อ่าน จะช่วยให้ทราบสาระโดยสังเขปของเรื่องทั้งหมดโดยไม่ต้องเสียเวลา
อ่านทั้งเรื่อง โปรดอย่าลืมว่าผู้บริหารส่วนใหญ่ไม่ค่อยมีเวลาว่างนัก ฉะนั้นหากท่านเรียบ
เรียงบทสรุปได้สั้นที่สุดแต่ได้ใจความมากที่สุดจะช่วยประหยัดเวลาของผู้บริหารทั้งหลาย
ได้มาก
2. บทสรุปสาหรับผู้บริหารจะต้องมีข้อเสนอแนะสาหรับให้ผู้บริหารได้ทราบหรือตัดสินใจ
ได้
บทสรุปสาหรับผู้บริหาร
เป็นข้อความโดยสรุปของรายงานการวิจัยที่สั้น กะทัดรัดชัดเจน และ
ได้ข้อความครอบคลุมเนื้อหาของรายงานการวิจัยทั้งหมด โดยตัด
รายละเอียดออก บทสรุปอาจทาเป็น 2 ภาษา คือ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
บทสรุปสาหรับผู้บริหารโดยทั่วไปประกอบด้วยเนื้อหา 4 ตอน
ดังต่อไปนี้
ตอนที่ 1 กล่าวถึงปัญหาและวัตถุประสงค์
ตอนที่ 2 กล่าวถึงวิธีการดาเนินการวิจัย
ตอนที่ 3 กล่าวถึงผลของการวิจัย การค้นพบ
ตอนที่ 4 ข้อเสนอแนะ
บทสรุปสาหรับผู้บริหาร
การประเมินโครงการพัฒนาสถานศึกษา 3 ดี (3D) เพื่อส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนวิทยาลัยเทคนิค
อานาจเจริญครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ประเมินโครงการพัฒนาสถานศึกษา 3 ดี (3D) เพื่อส่งเสริม
คุณภาพผู้เรียนวิทยาลัยเทคนิคอานาจเจริญ อย่างเป็ นระบบใน 5 ด้าน คือ ประเมินบริบท ปัจจัย
ป้ อนเข้า กระบวนการ ผลลัพธ์ และผลกระทบของโครงการ 2) เพื่อวิพากษ์ผลการประเมินโครงการ
พัฒนาสถานศึกษา 3 ดี (3D) เพื่อส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนวิทยาลัยเทคนิคอานาจเจริญ โดยใช้รูปแบบ
การประเมินเชิงระบบและรวมพลังตามทัศนะของวิโรจน์ สารรัตนะ กลุ่มผู้ให้ข้อมูลเป็นผู้บริหารและ
ครู จานวน 94 คน คณะกรรมการสมาคมผู้ปกครองและครู กับคณะกรรมการชมรมศิษย์เก่า จานวน 28
คน และ นักเรียน นักศึกษา จานวน 344 คน รวมทั้งหมด 466 คน เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน ได้แก่
แบบสอบถาม แบบสารวจ ระยะเวลาในการประเมินโครงการ 3 ระยะ คือ 1) ประเมินก่อนเรี่มดาเนิน
โครงการ 2) ประเมินระหว่างดาเนินโครงการ 3) ประเมินหลังดาเนินโครงการ สถิติที่ใช้ในการ
วิเคราะห์เชิงปริมาณ ได้แก่ ค่าร้อยละ, ความถี่, ค่าเฉลี่ย และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการ
วิเคราะห์เชิงคุณภาพ โดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการประเมินและข้อเสนอแนะ สรุปได้ดังนี้
สรุปผลการประเมิน
1. ผลการประเมินโครงการพัฒนาสถานศึกษา 3 ดี (3D) เพื่อส่งเสริมคุณภาพ
ผู้เรียนวิทยาลัยเทคนิคอานาจเจริญตามรูปแบบการประเมินเชิงระบบและรวม
พลัง พบว่า ผลการประเมินโครงการโดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด
พิจารณารายด้าน พบว่า ทุกด้านอยู่ในระดับมากที่สุดเรียงตามลาดับค่าเฉลี่ย
จากมากไปหาน้อยคือ 1) ผลกระทบ 2) กระบวนการ 3) ผลลัพธ์ 4) ปัจจัย
ป้ อนเข้า 5) บริบท จากการสารวจผลงานการจัดกิจกรรมโครงการ พบว่า มีทั้ง
กิจกรรมที่มีผลงานตามเป้ าหมายและเกินเป้ าหมาย ผลการประเมินทุก
รายการผ่านเกณฑ์การประเมินที่กาหนดไว้ ซึ่งผลการประเมินรายประเด็น
และตัวชี้วัด เป็นรายด้าน สรุปได้ดังนี้
1.1 ผลการประเมินบริบท พบว่า ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด
พิจารณาตามตัวชี้วัดพบว่า ความต้องการจาเป็นของโครงการ ความ
สอดคล้องของวัตถุประสงค์โครงการ และ ความเหมาะสมของ
วัตถุประสงค์โครงการอยู่ในระดับมากที่สุด
1.2 ผลการประเมินปัจจัยป้ อนเข้า พบว่า ทั้งภาพรวมและตาม
ตัวชี้วัดอยู่ในระดับมากที่สุด คือ ความพร้อมของบุคลากร ความ
เพียงพอและเหมาะสมของงบประมาณ และความเหมาะสมของ
ปัจจัยในการดาเนินโครงการ
1.3 ผลการประเมินกระบวนการ พบว่า ทั้งภาพรวมและตาม
ตัวชี้วัดอยู่ในระดับมากที่สุด คือ การมีส่วนร่วมของบุคลากร การ
ประเมินและปรับปรุงงาน และการรายงานการจัดกิจกรรม

สรุปผลการประเมิน
1.4 ผลการประเมินผลลัพธ์ พบว่า ทั้งภาพรวมและตามตัวชี้วัดอยู่ในระดับ
มากที่สุด คือ ผลงานการจัดกิจกรรมโครงการ และความพึงพอใจของผู้มี
ส่วนได้เสีย
1.5 ผลการประเมินผลกระทบโครงการเกี่ยวกับพฤติกรรมคุณลักษณะที่
พึงประสงค์ของผู้เรียน พบว่า ทั้งภาพรวมและตามตัวชี้วัด ผู้เรียนมี
พฤติกรรมในระดับดีมาก คือ ด้านประชาธิปไตย ด้านคุณธรรม จริยธรรม
และความเป็นไทย และด้านการมีภูมิคุ้มกันภัยห่างไกลยาเสพติด
สรุปผลการประเมิน
2. ผลการวิพากษ์ผลการประเมินโครงการพัฒนาสถานศึกษา 3 ดี (3D) เพื่อ
ส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนวิทยาลัยเทคนิคอานาจเจริญ โดยผู้แทนคณะ
กรรมการบริหารวิทยาลัย ผู้แทนคณะกรรมการสมาคมผู้ปกครองและครู กับ
คณะกรรมการชมรมศิษย์เก่า ผู้แทนคณะกรรมการองค์การนักเรียน
นักศึกษา และผู้เชี่ยวชาญ พบว่า ที่ประชุมมีมติเอกฉันท์เห็นด้วยกับผลการ
ประเมินโครงการ ใน 4 มาตรฐาน คือ 1) การประเมินโครงการ ดาเนินการ
ตามขอบข่ายของอรรถประโยชน์หรือความเป็นประโยชน์ 2) การประเมิน
โครงการนี้มีความเป็นไปได้ 3) การประเมินโครงการนี้มีความชอบธรรม
หรือเหมาะสม 4) การประเมินโครงการนี้มีความถูกต้อง
สรุปผลการประเมิน
ข้อเสนอแนะ
1. สถานศึกษาควรดาเนินงานตามโครงการพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของ
ผู้เรียนด้าน 3 ดี (3D) ให้เกิดความต่อเนื่องและยั่งยืน
2. สถานศึกษาควรดาเนินการบริหารจัดการศึกษาของสถานศึกษาโดยใช้หลักการมี
ส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสียให้ครอบคลุมการบริหารจัดการทุกกลุ่มงาน
3. สถานศึกษาควรส่งเสริมให้บุคลากรมีการประเมินโครงการอื่น ๆ ในรูปแบบการ
ประเมิน เชิงระบบแบบรวมพลังและการประเมินโดยใช้รูปแบบอื่น ๆ เช่น รูปแบบ
การประเมินของไทเลอร์ (Tyler) รูปแบบการประเมินของโปรวัส (Provus)
รูปแบบการประเมินของสเต้ก (Stake) และรูปแบบการประเมินของสคริฟเวน
(Scriven) เป็นต้น

4. สถานศึกษาควรส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมที่ผู้เรียนทุก
คนมีส่วนร่วม ในทุกกิจกรรมแบบบูรณาการ มีการประชาสัมพันธ์ให้ทุก
หน่วยงานเข้ามามีส่วนร่วม นาจุดเด่นของแต่ละกิจกรรมไปพัฒนาเป็น
มาตรฐานโครงการอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนสร้างความรู้ความเข้าใจในด้าน
ประชาธิปไตย ด้านคุณธรรม จริยธรรมและความเป็นไทย และด้านการมี
ภูมิคุ้มกันภัยห่างไกลยาเสพติด ให้เกิดขึ้นในครอบครัวชุมชน และสังคม
เพื่อให้ทุกส่วนของสังคมมีส่วนร่วม
ข้อเสนอแนะ
สารบัญ (Content)
เป็นส่วนที่อยู่ในลาดับต่อจากบทคัดย่อ จะทาหน้าที่บอกว่า
เรื่องต่าง ๆ ของรายงานการวิจัยตั้งแต่ คานา
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ เนื้อเรื่องบทที่ 1 ถึงบทสุดท้าย
รวมทั้งเอกสารอ้างอิงและภาคผนวกว่าแต่ละเรื่องเหล่านั้นอยู่ใน
หน้าที่เท่าใด การจัดทาสารบัญอาจจะทาเฉพาะหัวข้อใหญ่ ๆ
หรือจะทาอย่างละเอียดก็ได้
ตัวอย่าง สารบัญแบบย่อ
สารบัญ
เรื่อง หน้า
คานา ก
กิตติกรรมประกาศ ข
บทคัดย่อ(ภาษาไทย) ค
บทคัดย่อ(ภาษาอังกฤษ) จ
สารบัญ ซ
สารบัญตาราง ฎ
สารบัญภาพ ฏ
บทที่ 1 : บทนา 1
บทที่ 2 : แนวความคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 7
บทที่ 3 : ระเบียบวิธีวิจัย 35
บทที่ 4 : ผลการวิเคราะห์ข้อมูลและอภิปรายผล 45
บทที่ 5 : สรุปและข้อเสนอแนะ 100
บรรณานุกรม 115
ภาคผนวก 120
สารบัญ
หน้า
คานา ก
กิตติกรรมประกาศ ข
บทคัดย่อ(ภาษาไทย) ค
บทคัดย่อ(ภาษาอังกฤษ) ง
สารบัญ จ
สารบัญตาราง ช
สารบัญแผนภูมิ ญ
ตัวอธิบายสัญลักษณ์แบบคาย่อ (ถ้ามี)
บทที่ 1 : บทนา 1
1. ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา 1
2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 3
3. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 4
4. ขอบเขตของการวิจัย 5
5. ข้อตกลงเบื้องต้น (ถ้ามี) 7
6. ข้อจากัดของการวิจัย (ถ้ามี) 7
7. นิยามศัพท์ที่ใช้ในการวิจัย 8
บทที่ 2 :แนวความคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 13
1. แนวความคิด 13
2. ทฤษฎี 25
3. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 35
4. กรอบแนวความคิดในการวิจัย 40
5. สมมติฐานในการวิจัย 41
6. นิยามปฏิบัติการ 45
บทที่ 3 : ระเบียบวิจัย 48
1. วิธีวิจัย 48
2. หน่วยที่ใช้ในการวิเคราะห์ 48
3. ประชากร 49
4. กลุ่มตัวอย่าง 50
5. พื้นที่ที่ใช้ในการวิจัย 51
6. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 52
7. การวัดตัวแปร 52
8. การเก็บรวบรวมข้อมูล 53
8.1 วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล 53
8.2 ระยะเวลาการเก็บข้อมูล 56
9. การประมวลผลและการวิเคราะห์ข้อมูล 57
9.1 วิธีการประมวลผลข้อมูล 57
9.2 สถิติที่ใช้ 57
9.3 วิธีการนาเสนอ 58
บทที่ 4 : ผลการวิเคราะห์ข้อมูลและอภิปรายผล 59
1. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง
2. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อตอบวัตถุประสงค์ข้อ 1
3. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อตอบวัตถุประสงค์ข้อ 2
4. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อตอบสมมุติฐานที่ตั้งไว้
5. อภิปรายผลเพื่อตอบวัตถุประสงค์และสมมุติฐานที่ตั้งไว้
บทที่ 5 : บทสรุปและข้อเสนอแนะ 100
1. สรุปผลการวิจัย 100
2. ข้อเสนอแนะจากผลการวิจัย 107
2.1 ข้อเสนอแนะเชิงวิชาการ 107
(พัฒนาองค์ความรู้และสนับสนุนทฤษฎี)
2.2 ข้อเสนอแนะเชิงพัฒนา
(นโยบายและปฏิบัติการ)
2.3 ข้อเสนอแนะสาหรับการศึกษาครั้งต่อไป
บรรณานุกรม 120
ภาคผนวก 130
ก. แบบสอบถาม
ข. รายชื่อผู้เชี่ยวชาญ
ค. ตารางข้อมูล (เพิ่มเติม)
ประวัติผู้วิจัย 140
สารบัญตาราง
1.5 ช่วงบรรทัด
ตารางที่ หน้า
1.5 ช่วงบรรทัด
///1//ชื่อตาราง................................................................................เลขหน้า
2 ชื่อตาราง...............................................................................เลขหน้า
3 ชื่อตาราง...............................................................................เลขหน้า
4 ชื่อตาราง...............................................................................เลขหน้า
5 ชื่อตาราง..............................................................................เลขหน้า
6 ชื่อตาราง...............................................................................เลขหน้า
(รูปแบบสารบัญภาพ)
2 นิ้วจากขอบกระดาษ
สารบัญภาพ
1.5 ช่วงบรรทัด
ตารางที่ หน้า
1.5 ช่วงบรรทัด
///1 // ชื่อภาพ.............................................................................................เลขหน้า
2 // ชื่อภาพ.............................................................................................เลขหน้า
3 // ชื่อภาพ.............................................................................................เลขหน้า
4 // ชื่อภาพ.............................................................................................เลขหน้า
5 // ชื่อภาพ.............................................................................................เลขหน้า
6 // ชื่อภาพ............................................................................................เลขหน้า
บัญชีตาราง
เป็นหน้าที่ใช้แสดงรายการตารางที่มีทั้งหมดในรายงาน
การวิจัยนั้น โดยบอกเลขที่ตาราง ชื่อตาราง และหน้าที่มี
ตารางเรียงลาดับเลขที่ตาราง
บัญชีแผนภูมิรูปภาพ
เป็ นหน้าที่ใช้แสดงรายการรูปภาพซึ่งรวมทั้งแผนภูมิ
แผนผังและแผนภาพทางสถิติต่าง ๆ ที่มีปรากฏอยู่ในรายงาน
การวิจัยนั้น โดยบอกเลขที่รูปภาพและหน้าที่มีรูปภาพนั้น
บทที่1 : บทนา
1. ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา
2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย
3. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
4. ขอบเขตของการวิจัย
5. ข้อตกลงเบื้องต้น (ถ้ามี)
6. ข้อจากัดของการวิจัย (ถ้ามี)
7. นิยามศัพท์ที่ใช้ในการวิจัย
(รูปแบบการแบ่งบทและหัวข้อในบท)
2 นิ้วจากขอบกระดาษ
บทที่
1.5 ช่วงบรรทัด
......................ชื่อบท......................
.............................................................................
1.5 ช่วงบรรทัด
หัวข้อสาคัญ
1.5 ช่วงบรรทัด
/ / / / / / /หัวข้อย่อย................................................................................................................
..............................................................................................................................................
/ / / / / / /1./ /.........................................................................................................................
/ / / / / / / / / /1.1/ /...................................................................................................................
/ / / / / / / / / / / / /1.1/ /............................................................................................................
...............................................................................................................................................
(7)
(7)
(13)
(10)
/ / / / / / / / / / / / / / / /1.1.1/ /......................................................................................
...................................................................................................................................
/ / / / / / / / / / / / / / / /1.1.1.2/ /...................................................................................
..................................................................................................................................
/ / / / / / / / / /1.2/ /.....................................................................................................
.................................................................................................................................
/ / / / / / / / / / / / / 1.2.1/ /..........................................................................................
................................................................................................................................
(16)
1. ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา
บรรยายความเป็นมา และความสาคัญของปัญหาที่จะวิจัยว่ามีมูลเหตุ
อย่างไรที่จะทาวิจัยในปัญหานั้น ผู้วิจัยต้องยกทฤษฎีและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องมา
สนับสนุนวิเคราะห์ วิจารณ์ และอ้างอิง เพื่อชี้ประเด็นให้เห็นความสาคัญและความ
จาเป็นที่จะต้องทาวิจัยเรื่องนั้น
หัวข้อที่ควรเขียนประกอบด้วย
1. เรื่องที่ศึกษาเป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร (เสนอทฤษฎี แนวคิด)
2. ความสาคัญ (ของเรื่องนี้ เสนอข้อมูลสถิติให้เห็นความสาคัญ)
3. สถานภาพของเรื่องที่ศึกษา (ดี เลว เหมาะสม มีปัญหา อุปสรรค
อะไร)
4. อะไรทาให้เกิดสถานการณ์เหล่านี้ (ที่มาของปัญหา)
5. ประเด็นที่จะวิจัย
6. ความจาเป็นต้องรีบดาเนินการ
หลักการเขียนสภาพและความสาคัญของปัญหา
1. เขียนให้ตรงปัญหาอย่าเขียน เยิ่นเย้อ อ้อมค้อม วกวน
2. เขียนให้ครอบคลุมประเด็นที่สาคัญของปัญหา ที่จะศึกษา
3. อย่าเขียนความสาคัญให้สั้นเกินไปจนจับประเด็นปัญหาที่จะศึกษาไม่ได้
4. อย่านาตัวเลข หรือตารางยาว ๆ หรือข้อมูลอื่น ๆ ซึ่งไม่เกี่ยวข้องมากนักมาใส่อ้างอิง ใน
ส่วนความสาคัญของปัญหานี้มากเกินไปขอให้เลือกเอาเฉพาะข้อมูลที่เกี่ยวข้องจริง ๆ
5. จะต้องมีการอ้างอิงเอกสารแหล่งที่มาประกอบด้วยเสมอ
6. การเขียนต้องให้เนื้อเรื่องมีความสัมพันธ์กันอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะการขึ้นย่อหน้าใหม่
ในแต่ละตอน ต้องมีส่วนเชื่อมโยงกับเรื่องในส่วนท้ายของย่อหน้าตอนเก่าด้วย
7. ในส่วนท้ายของความสาคัญของปัญหา ต้องเขียนขมวดท้ายหรือสรุปเพื่อให้มีส่วน
เชื่อมโยงกับหัวข้อในวัตถุประสงค์การศึกษาต่อไปด้วย
2. วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัย
เป็นส่วนที่บอกเป้ าหมายหรือความต้องการของงานวิจัย (ผู้วิจัย) ว่า
“อยากทราบอะไร” เพื่อใช้เป็นทิศทางและแนวทางการวิจัย
การเขียน
1. เขียนให้ชัดเจน อ่านแล้วเข้าใจได้ว่า “ต้องการทราบอะไร”
2. อยู่ในขอบเขตของปัญหาวิจัย
3. ครอบคลุมสิ่งสาคัญที่ควรแก่การศึกษา
4. ทาวิจัยได้จริง หรือ หาข้อมูลได้
5. จัดเรียงตามลาดับความสาคัญ หรือตามขั้นตอนดาเนินการ
6. อาจเขียนเป็นประโยคบอกเล่า แบ่งเป็นข้อ ๆ หรือเขียนเป็นเป้ าหมายรวม แล้วตามด้วย
ปัญหาวิจัยย่อย ๆ (คาถามการวิจัย)
7. อย่าเขียนในรูปของวิธีการดาเนินการ
8. อย่าเขียนวัตถุประสงค์มากเกินไป
9. อย่าเอาประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับมาเขียนเป็นวัตถุประสงค์
10 เขียนให้มีลักษณะ SMART
S : Sensible (เหมาะ, สาคัญ, จาเป็น)
M : Measurable (วัดได้, ตรวจสอบได้)
A : Attainable (บรรลุได้, ทาได้)
R : Reasonable (สมเหตุสมผล, สอดคล้องกับปัญหา)
T : Time (ระยะเวลาดาเนินการ และสิ้นสุด)
วิธีการเขียน
เพื่อ.................................................................................................
เพื่อ..................................................................................................
เพื่อ.................................................................................................
(เพื่อศึกษา, เพื่อวิเคราะห์, เพื่อเปรียบเทียบ, เพื่อสร้าง, เพื่อค้นหา,
เพื่อพัฒนา, เพื่ออธิบาย, เพื่อประเมิน, เพื่อตรวจสอบ, เพื่อ
..........................)
3. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับและหน่วยงานที่จะนาผลการวิจัยไป
ใช้ประโยชน์
☻แสดงคุณค่าหรือประโยชน์ของข้อค้นพบ
☻เขียนให้อยู่ในขอบเขตของวัตถุประสงค์
วิธีการเขียน
ระบุถึงประโยชน์ของการวิจัยที่จะได้รับ(อย่างเดียวหรือหลายอย่าง)
1. แก้ปัญหาในการดาเนินงานของหน่วยงานที่ทาวิจัย (ระบุ)
2. เป็นองค์ความรู้ในการวิจัยต่อไป (ระบุ)
3. บริการความรู้แก่ประชาชน (ระบุ)
4. บริการความรู้แก่ภาคธุรกิจ (ระบุ)
5. นาไปสู่การผลิตเชิงพาณิชย์ (ระบุ)
6. เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต(ระบุ)
7. เป็นประโยชน์ต่อประชากรกลุ่มเป้ าหมาย(ระบุ)
8. อื่น ๆ (ระบุ)
มูลค่าในทางเศรษฐกิจที่วัดได้
☻มูลค่าและประโยชน์ที่เพิ่มขึ้นจากปริมาณและมูลค่าในการส่งออก (ระบุ)
☻ปริมาณและมูลค่าในการนาเข้า (ระบุ)
☻ปริมาณและมูลค่าที่ใช้ในประเทศ (ระบุ)
☻โอกาสหรือลู่ทางใหม่ ๆ ของงานวิจัยนั้น (ระบุ)
☻ปริมาณการใช้หลังจากการวิจัยประสบผลสาเร็จ (ระบุ)
☻ผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม (ระบุ)
☻การประหยัดพลังงาน (ระบุ)
☻การจ้างงาน (ระบุ)
☻การประหยัดงบประมาณ (ระบุ)
☻ประหยัดการใช้ทรัพยากร (ระบุ)
☻การเพิ่มประสิทธิภาพ (ระบุ)
ฯลฯ
คุณค่าในทางสังคม
♥ ได้แนวทางในการแก้ปัญหาที่สาคัญ (ระบุ)
♥ ช่วยปรับปรุงวิธีการ แนวทาง รูปแบบที่เป็นอยู่ให้เกิดประโยชน์
มากขึ้นกว่าเดิม (ระบุ)
♥ ช่วยลดค่าใช้จ่าย (ระบุ)
♥ ลดการสูญเสียทรัพยากรที่มีอยู่ (ระบุ)
♥ ลดผลกระทบต่อสังคม (ระบุ)
♥ ช่วยปรับปรุงมาตรฐานในการดารงชีวิตของมนุษย์ให้ดีขึ้น
(ระบุ)
♥ ก่อให้เกิดคุณค่าทางจิตใจ (ระบุ)
ฯลฯ
4. ขอบเขตของโครงการวิจัย
มีขอบเขตดังนี้
4.1ขอบเขตของสถานที่ทาการวิจัย (place)
...........................................................................................................
4.2 ขอบเขตของประชากรที่ศึกษา (people)
...........................................................................................................
4.3ขอบเขตของเนื้อหาสาระที่ศึกษา (variable)
...........................................................................................................
4.4 ขอบเขตของเวลา (Time)
...........................................................................................................
เหตุผลที่กาหนดขอบเขตเช่นนี้เพราะ
..........................................................................................................
5. นิยามศัพท์เฉพาะ
ให้ความหมายของคาศัพท์เฉพาะบางคาที่นามาใช้ในการวิจัย
เป็นคาที่คนส่วนน้อยรู้ หรือเป็นคาที่มีความหมายหลายอย่าง ก็ต้อง
ให้การนิยามไว้ว่าการวิจัยครั้งนี้ต้องการในความหมายใดและอย่างไร
และสิ่งที่ผู้วิจัยต้องระลึกและจาไว้เสมอว่าการให้ความหมายของ
คาศัพท์ในนิยามศัพท์เฉพาะนั้นต้องมีความสอดคล้องกับชื่อเรื่อง
วิจัย ขอบเขตด้านเนื้อหาและแบบสอบถาม
บทที่ 2 : แนวความคิด ทฤษฎี และงานวัยที่เกี่ยวข้อง
1. แนวความคิด
2. ทฤษฎี
3. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
4. กรอบแนวความคิดในการวิจัย
5. สมมติฐานในการวิจัย
6. นิยามปฏิบัติการ
บทที่ 2
แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
1. แนวคิด - เรื่องที่ทาวิจัยมีผู้รู้หรือ ปราชญ์ ให้แนวคิดว่าอย่างไร
บ้างในเรื่องที่กาลังศึกษา
2. ทฤษฎี - มีทฤษฎีอะไรบ้างที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยที่กาลังศึกษา
อยู่ ผู้วิจัยใช้ทฤษฎีของใครในการศึกษา เพราะเหตุใด
3. เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
เป็นการนาผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องสอดคล้องกับชื่อเรื่องที่จะ
วิจัยซึ่งมีคนอื่นทาไว้แล้วมาวิเคราะห์และวิจารณ์ เพื่อช่วยให้ผู้อ่าน
เข้าใจภูมิหลังของพัฒนาการในการแก้ปัญหานี้ตั้งแต่อดีตจนถึง
ปัจจุบันว่ามีความสัมพันธ์กับเรื่องที่จะทาวิจัยอย่างไร มีอะไรบ้างที่
เห็นด้วยและไม่เห็นด้วย รวมทั้งผลงานวิจัยทีมีอยู่แล้วเหล่านั้น มี
จุดอ่อนอะไรบ้าง มีส่วนใดอีกบ้างที่ยังไม่ได้ทาวิจัย น่าจะได้ทาให้
สมบูรณ์
ผู้วิจัยจึงต้องพยายามเรียบเรียงแนวความคิดของตนเอง
ที่ได้จากการอ่านงานวิจัยที่เกี่ยวข้องนี้ให้เป็นเนื้อเดียวและต่อเนื่อง
สอดคล้องสัมพันธ์กับเรื่องที่จะทาวิจัย เป็นลาดับตามขั้นตอนของ
เหตุผล ทั้งนี้จะช่วยทาให้เห็นความสาคัญและความจาเป็นที่จะต้อง
ทาวิจัยเรื่องนั้นยิ่งขึ้น
ผู้วิจัยต้องระลึกและจาไว้เสมอว่าการเขียนงานวิจัยในบทที่ 2
นี้ ต้องเว้นการเขียนโดยยกงานวิจัยของแต่ละคนมาอ้างเป็ นตอน ๆ
โดยไม่ต่อเนื่อง
วิธีการเขียน
1. วรรณกรรมที่นามาทบทวนหรืออ้างถึงนั้นต้องสัมพันธ์กับงานวิจัยที่
กาลังดาเนินอยู่ ไม่ควรเขียนรวมถึงทุกสิ่งทุกอย่างที่ผู้วิจัยได้อ่านมา
2. แต่ละงานวิจัยที่สาคัญที่นามาทบทวนอาจอภิปรายทีละเรื่องในแต่ละ
ย่อหน้า บอกวัตถุประสงค์ของการศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย กลุ่ม
ตัวอย่าง ผลการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ถ้างานวิจัยนั้นสาคัญน้อยอาจอ้างแต่ตัด
รายละเอียดออกบ้าง
3. ถ้ามีงานวิจัยที่ผ่านมาหลายเรื่องที่ศึกษาปัญหาเดียวกัน
ในแง่มุมที่คล้ายคลึงกัน อาจนามาทบทวนรวมกันในย่อหน้า
เดียวกัน เช่น นาย ก, นาย ข, นาย ค และ นาย ง ได้ศึกษาถึง
เรื่อง...............และสรุปผลออกมาเป็นกลุ่มมากกว่าแยกจากกัน
4. ควรเขียนทบทวนวรรณกรรมที่ได้มีการรวบรวม
และสังเคราะห์ศึกษาเรื่องนี้มาอย่างดี เลือกเฉพาะที่เป็นจุดเด่น
ที่ทบทวนวรรณกรรมในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาที่ดาเนินอยู่
5. เรียบเรียงสาระสาคัญเป็นขั้นเป็นตอน ตั้งแต่ผลงานวิจัย
ที่มาก่อนจนถึงปัจจุบัน ยังขาดอะไรอยู่ มีจุดอ่อนอะไรบ้าง
มีความแตกต่างกันอย่างไร
6. ควรเขียนให้ลักษณะที่นามาใช้ได้อนาคต ซึ่งนามาใช้ในการ
อภิปรายผลการวิจัย
สรุป เนื้อหาที่เขียนควรมีลักษณะดังนี้
1 นาเสนอทฤษฎี หลักการ บทความ แนวความคิด
ที่เกี่ยวข้องกับตัวแปรที่จะศึกษา
2. นาเสนอผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับตัวแปรที่จะศึกษาว่ามีข้อค้นพบ
อะไรบ้าง
3. เขียนในลักษณะย่อใจความเป็นภาษาของผู้วิจัยให้เชื่อมโยงต่อกัน
ตลอดทั้งเรื่อง
4. วิเคราะห์ให้เห็นความต่อเนื่องหรือความขัดแย้งของแนวคิดทฤษฎีที่
เกี่ยวข้องที่นามาเสนอ
5. สังเคราะห์แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องและนาเสนอเป็นกรอบแนวคิด
หรือรูปแบบการวิจัย
4. กรอบแนวคิดการวิจัย
ให้จัดทากรอบแนวความคิดในการวิจัย ในรูปของแผนภูมิ
(Chart)
5. สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า
กล่าวถึงสมมุติฐานคาดคะเนผลการวิจัยไว้ล่วงหน้าว่าจะ
ได้ผลอย่างไร พร้อมทั้งมีแนวความคิดทางทฤษฎีสนับสนุนเป็ น
เหตุผลว่า ทาไมจึงตั้งสมมุติฐานไว้อย่างนั้น และสมมุติฐานที่ตั้งไว้
มีข้อตกลงเบื้องต้นอย่างไร ผู้วิจัยต้องกล่าวไว้ให้ชัดเจน
สมมุติฐานการวิจัย
♠เป็นส่วนที่คาดคะเนผลหรือการตอบปัญหาวิจัยโดยอาศัย
ทฤษฎีงานวิจัยอื่น ๆ หรืออาศัยเหตุผล (rational approach)
♠การเขียน
1. การเขียนเป็นข้อความสมบูรณ์ที่แสดงความสัมพันธ์ เชิงเหตุผล
ระหว่างตัวแปร (2 ตัวหรือมากกว่า)
2. ความสัมพันธ์ที่กาหนดควรมีทิศทางชัดเจน
3. เขียนโดยมีทฤษฎี หรืองานวิจัยรองรับ
4. ครอบคลุมและสอดคล้องกับความมุ่งหมายและปัญหาวิจัย
5. ใช้ถ้อยคาที่คงเส้นคงวา
6.อย่าใช้คาที่แสดงถึงความไม่แน่ใจ หรือความคิดเห็น
6. นิยามปฏิบัติการ
คานิยามปฏิบัติการ เป็นคานิยาม ที่กาหนดความหมายให้แก่
ตัวแปรโดยการระบุกิจกรรม หรือการดาเนินงาน ที่จาเป็ นต่อ
การวัดตัวแปร คานิยามปฏิบัติการ เปรียบเสมือนคู่มือหรือคาสั่ง
สาหรับผู้วิจัย ในการวัด ตัวแปร เช่น
คน คือ สิ่งมีชีวิตที่มีขนาดมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า มีศีรษะ
ตั้งตรง มีตาอยู่ใต้คิ้ว จมูกอยู่ใต้ตา ถัดลงมาจากจมูกเป็นปาก มีหูสอง
ข้างอยู่ด้านข้างของศีรษะ มีแขนสองแขนติดกับลาตัวด้านข้างและมี
ขาสองขาติดอยู่บริเวณด้านล่างของลาตัว
บทที่ 3 ระเบียบวิธีการวิจัย
1.วิธีวิจัย
2.หน่วยที่ใช้ในการวิเคราะห์
3.ประชากร
4.กลุ่มตัวอย่าง
5.พื้นที่ที่ใช้ในการวิจัย
6.เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
6.1 เครื่องมือที่ใช้
6.2 วิธีการสร้าง
6.3 การทดสอบเครื่องมือ
7. การวัดตัวแปร
8. การเก็บรวบรวมข้อมูล
8.1 วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
8.2 ระยะเวลาการเก็บข้อมูล
9. การประมวลผลและการวิเคราะห์ข้อมูล
9.1 วิธีการประมวลผลข้อมูล
9.2 สถิติที่ใช้
9.3 วิธีการนาเสนอ
บทที่ 3
ระเบียบการวิจัย
1. วิธีวิจัย
การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบ (เช่น การวิจัยเชิงสารวจ
ฯลฯ)
2.หน่วยที่ใช้ในการวิเคราะห์ (Unit of analysis)
คือใคร
......................................................................................
3. ประชากร (Population)
ประชากรที่ศึกษามีจานวนเท่าใด อยู่ที่ไหนบ้าง
4. กลุ่มตัวอย่าง
4.1 ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง(SAMPLE SIZE)
N =
1+N(D )
N = POPULATION
D = ความคลาดเคลื่อนของตัวอย่าง
N = ขนาดของตัวอย่าง
4.2 วิธีการสุ่มตัวอย่าง
อธิบายวิธีการสุ่มตัวอย่างว่ามีขั้นตอนอะไรบ้าง
5. พื้นที่ที่ใช้ในการวิจัย (พื้นที่เก็บข้อมูลอยู่ที่ไหนบ้าง)
6. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
6.1 ใช้เครื่องมืออะไรในการเก็บข้อมูล เช่น แบบสอบถาม
แบบสัมภาษณ์
6.2 รายละเอียดเนื้อหาของเครื่องมือ มีอะไรบ้าง
- ข้อมูลทั่วไป
- ข้อมูลตัวแปรอิสระแต่ละตัว
- ข้อมูลตัวแปรตาม
6.3 วิธีการสร้างเครื่องมือ มีวิธีการสร้างเครื่องมืออย่างไร
6.4 การทดสอบเครื่องมือ
- การหาความตรงตามเนื้อหา (CONTENT VALIDITY)
- ความเชื่อมั่น (RELIABILITY)
7. การวัดค่าตัวแปร
7.1 วิธีการวัดค่าตัวแปรอิสระ มีวิธีการวัดตัวแปรอิสระแต่ละ
ตัวต้องวัดอย่างไร
7.2 วิธีการวัดค่าตัวแปรตาม มีวิธีการวัดตัวแปรตามวัด
อย่างไร
8. การเก็บรวบรวมข้อมูล
8.1 มีวิธีการเก็บข้อมูลอย่างไร
8.2 ระยะเวลาในการเก็บข้อมูลจากเดือนไหนถึงเดือนไหน
9. การประมวลผลและการวิเคราะห์ข้อมูล
9.1 มีวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลอย่างไร
9.2 ใช้สถิติอะไรในการวิเคราะห์เพื่อตอบวัตถุประสงค์และ
สมมุติฐานที่ตั้งไว้
9.3 มีวิธีการนาเสนอข้อมูลแบบไหนบ้าง
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้

More Related Content

What's hot

การเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัยการเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัยnoinasang
 
การเขียนบทความวิจัย บุรีรัมย์ ๙ พค ๒๕๕๔
การเขียนบทความวิจัย บุรีรัมย์ ๙  พค ๒๕๕๔การเขียนบทความวิจัย บุรีรัมย์ ๙  พค ๒๕๕๔
การเขียนบทความวิจัย บุรีรัมย์ ๙ พค ๒๕๕๔บรรลุ ช่อชู
 
การนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยการนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยNU
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนวyutict
 
โครงงานคอม ใบท 6
โครงงานคอม ใบท  6โครงงานคอม ใบท  6
โครงงานคอม ใบท 6StampPamika
 
Research9 writing research_report
Research9 writing research_reportResearch9 writing research_report
Research9 writing research_reportSani Satjachaliao
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6pompameiei
 
Thai(ตัวอย่าง)
Thai(ตัวอย่าง)Thai(ตัวอย่าง)
Thai(ตัวอย่าง)guest49ef9e
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...Totsaporn Inthanin
 
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัยการกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัยDuangdenSandee
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจkhuwawa2513
 
การเขียนบทความวิจัย2559 1
การเขียนบทความวิจัย2559 1การเขียนบทความวิจัย2559 1
การเขียนบทความวิจัย2559 1Prachyanun Nilsook
 

What's hot (17)

การเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัยการเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัย
 
การนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัยการนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัย
 
การเขียนบทความวิจัย บุรีรัมย์ ๙ พค ๒๕๕๔
การเขียนบทความวิจัย บุรีรัมย์ ๙  พค ๒๕๕๔การเขียนบทความวิจัย บุรีรัมย์ ๙  พค ๒๕๕๔
การเขียนบทความวิจัย บุรีรัมย์ ๙ พค ๒๕๕๔
 
การนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยการนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัย
 
Km1
Km1Km1
Km1
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนว
 
Chapter2 literaturereview
Chapter2 literaturereviewChapter2 literaturereview
Chapter2 literaturereview
 
โครงงานคอม ใบท 6
โครงงานคอม ใบท  6โครงงานคอม ใบท  6
โครงงานคอม ใบท 6
 
Research9 writing research_report
Research9 writing research_reportResearch9 writing research_report
Research9 writing research_report
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6
 
Thai(ตัวอย่าง)
Thai(ตัวอย่าง)Thai(ตัวอย่าง)
Thai(ตัวอย่าง)
 
Academic article
Academic articleAcademic article
Academic article
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
 
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
 
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัยการกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
 
การเขียนบทความวิจัย2559 1
การเขียนบทความวิจัย2559 1การเขียนบทความวิจัย2559 1
การเขียนบทความวิจัย2559 1
 

Viewers also liked

โครงงานเพคติน Power Point
โครงงานเพคติน Power Pointโครงงานเพคติน Power Point
โครงงานเพคติน Power Pointampornchai
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbal extract
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbal extractตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbal extract
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbal extractNattakorn Sunkdon
 
งานนำเสนอ Ppt. วิจัย
งานนำเสนอ Ppt. วิจัยงานนำเสนอ Ppt. วิจัย
งานนำเสนอ Ppt. วิจัยsavokclash
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนวดแผนไทย(Thai massage)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนวดแผนไทย(Thai massage)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนวดแผนไทย(Thai massage)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนวดแผนไทย(Thai massage)Nattakorn Sunkdon
 
รายงาน Power point
รายงาน Power pointรายงาน Power point
รายงาน Power pointThank Chiro
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดBio Beau
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยNick Nook
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนพัน พัน
 
การเปรียบเทียบความเข้มข้นของวิตามินซีในผลไม้
การเปรียบเทียบความเข้มข้นของวิตามินซีในผลไม้ การเปรียบเทียบความเข้มข้นของวิตามินซีในผลไม้
การเปรียบเทียบความเข้มข้นของวิตามินซีในผลไม้ ดีโด้ ดีโด้
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดพัน พัน
 

Viewers also liked (13)

ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 2
ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 2ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 2
ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 2
 
ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 1
ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 1ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 1
ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 1
 
โครงงานเพคติน Power Point
โครงงานเพคติน Power Pointโครงงานเพคติน Power Point
โครงงานเพคติน Power Point
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbal extract
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbal extractตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbal extract
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbal extract
 
งานนำเสนอ Ppt. วิจัย
งานนำเสนอ Ppt. วิจัยงานนำเสนอ Ppt. วิจัย
งานนำเสนอ Ppt. วิจัย
 
Power point นำเสนองานวิจัย
Power point นำเสนองานวิจัยPower point นำเสนองานวิจัย
Power point นำเสนองานวิจัย
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนวดแผนไทย(Thai massage)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนวดแผนไทย(Thai massage)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนวดแผนไทย(Thai massage)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนวดแผนไทย(Thai massage)
 
รายงาน Power point
รายงาน Power pointรายงาน Power point
รายงาน Power point
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
การเปรียบเทียบความเข้มข้นของวิตามินซีในผลไม้
การเปรียบเทียบความเข้มข้นของวิตามินซีในผลไม้ การเปรียบเทียบความเข้มข้นของวิตามินซีในผลไม้
การเปรียบเทียบความเข้มข้นของวิตามินซีในผลไม้
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 

Similar to การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้

ใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงานใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงานDuangsuwun Lasadang
 
Ppt1ความเรียงขั้นสูง
Ppt1ความเรียงขั้นสูงPpt1ความเรียงขั้นสูง
Ppt1ความเรียงขั้นสูงAttaporn Saranoppakun
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนnang_phy29
 
การเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างการเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างอรุณศรี
 
มาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ.pdf
มาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ.pdfมาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ.pdf
มาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ.pdfTassanee Lerksuthirat
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมSupaporn Khiewwan
 
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 3
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 3อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 3
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 3Mahidol University, Thailand
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practicepyopyo
 
สารานุกรม (Encyclopedias)
สารานุกรม  (Encyclopedias)สารานุกรม  (Encyclopedias)
สารานุกรม (Encyclopedias)Srion Janeprapapong
 
ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูง
ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูงปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูง
ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูงvru.ac.th
 
Strategies for reading journal articles 1
Strategies for reading journal articles 1Strategies for reading journal articles 1
Strategies for reading journal articles 1Sunee Suvanpasu
 
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60Supaporn Khiewwan
 

Similar to การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้ (20)

ใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงานใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงาน
 
Ppt1ความเรียงขั้นสูง
Ppt1ความเรียงขั้นสูงPpt1ความเรียงขั้นสูง
Ppt1ความเรียงขั้นสูง
 
โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทยโครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
 
การเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างการเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่าง
 
มาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ.pdf
มาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ.pdfมาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ.pdf
มาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ.pdf
 
Km1
Km1Km1
Km1
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 
01
0101
01
 
01
0101
01
 
Bliography
BliographyBliography
Bliography
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
Outline
OutlineOutline
Outline
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรายงาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรายงานความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรายงาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรายงาน
 
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 3
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 3อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 3
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 3
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
 
สารานุกรม (Encyclopedias)
สารานุกรม  (Encyclopedias)สารานุกรม  (Encyclopedias)
สารานุกรม (Encyclopedias)
 
ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูง
ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูงปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูง
ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูง
 
Strategies for reading journal articles 1
Strategies for reading journal articles 1Strategies for reading journal articles 1
Strategies for reading journal articles 1
 
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
 

การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ์ ราญสระน้

  • 3. โครงร่างรายงานการวิจัย แนวทางจัดทารายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ ก. ส่วนประกอบตอนต้น 1. หน้าปก (Cover) ระบุคาว่า “รายงานการวิจัย” และชื่อ เรื่องเป็น ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ พร้อมทั้งชื่อผู้วิจัย 2. กิตติกรรมประกาศ (Accknowledgement) ผู้ที่มี ส่วนเกี่ยวข้องให้ความช่วยเหลือแก่ผู้วิจัย 3. บทคัดย่อภาษาไทยและบทคัดย่อภาษาอังกฤษ(Abstract)
  • 4. 4. สารบัญเรื่อง (Table of Contents) 5. สารบัญตาราง (List of Tables) 6. สารบัญภาพ (List of Illustrations) 7. คาอธิบายสัญลักษณ์และคาย่อที่ใช้ในการวิจัย (List of Abbreaviations) ก. ส่วนประกอบตอนต้น (ต่อ)
  • 5. ข. ส่วนประกอบเนื้อเรื่อง  1. บทนา (Introduction) ซึ่งกล่าวถึงเนื้อหาของเรื่องที่เคยมี ผู้ทาการวิจัยมาก่อน ความสาคัญ และที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์และขอบเขตการวิจัย ประโยชน์ที่คาดว่าจะ ได้รับ วิธีการดาเนินการวิจัยโดยสรุป ทฤษฏี และ / หรือ แนวความคิดที่นามาใช้ในการวิจัย ฯลฯ  2. เนื้อเรื่อง (Main Body) ซึ่งกล่าวถึงรายละเอียดเกี่ยวกับ วิธีดาเนินการวิจัย (Material & Method) ผลการวิจัย (Result) ฯลฯ
  • 6. ข. ส่วนประกอบเนื้อเรื่อง (ต่อ)  3. อภิปราย/วิจารณ์ (Discussion) ผลการทดลอง/ ผลการวิจัย ที่ได้ทั้งหมด  (ทั้งที่เป็นและไม่เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้)  4. สรุปและเสนอแนะ (Conclusion and Recommendation) โดยสรุปเรื่องราวในการวิจัยพร้อมทั้งเสนอแนะเกี่ยวกับ การวิจัยในขั้นต่อไป ตลอดจนประโยชน์ในทางประยุกต์ ของผลงานวิจัยที่ได้
  • 7. ค. ส่วนประกอบตอนท้าย  1. บรรณานุกรม (Bibliography) ระบุชื่อเอกสารอ้างอิง โดยเรียงลาดับเอกสารอ้างอิงภาษาไทยก่อนแล้วตาม ด้วยเอกสารภาษาต่างประเทศ ทั้งนี้ให้เรียงตามลาดับ  2. ภาคผนวก (Appendix) ถ้ามี  3. ประวัติผู้วิจัย
  • 8. ส่วนประกอบตอนต้น  คานา  กิตติกรรมประกาศ  บทคัดย่อ (ภาษาไทย)  บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)  บทสรุปสาหรับผู้บริหาร  สารบัญ  สารบัญตาราง  สารบัญแผนภูมิ  คาอธิบายสัญลักษณ์และคาย่อ(ถ้ามี)
  • 9.  เป็ นส่วนที่จะบอกให้ผู้อ่านทราบว่ารายงานวิจัยเรื่องนี้ ชื่ออะไร ดาเนินการวิจัยโดยใคร มีหน่วยงานใดให้ทุน สนับสนุน ปกในที่นี้หมายถึงทั้งปกนอกและปกใน ซึ่ง อาจจะใช้ข้อความเหมือนกัน หรือเพิ่มรายละเอียดมากขึ้น ในส่วนปกในก็ได้
  • 11. ขอบกระดาษ (เลขหน้าจากขอบ 1 นิ้ว) 1.5 นิ้ว 2 1 นิ้ว 1.5 นิ้ว 1 นิ้ว ขอบกระดาษ (รูปแบบการจัดพิมพ์หน้ารายงานวิจัย) หน้าปกติ
  • 12. รายงานการวิจัย เรื่อง ปัจจัยเชิงเหตุ และผล เกี่ยวกับพฤติกรรมตารวจ ในการปลูกฝังอบรมบุตรชายให้เคารพกฎระเบียบ Antecedents and Consequences Concerning Parental Discipline Practices in Thai Police โดย พ.ต.ต. หญิง ดร. ทิพย์ฆัมพร เกษโกมล พ.ต.ท. หญิง ดร. ปราณี เสนีย์ พ.ต.อ. หญิง ยุพิน เนียมแสง วิทยาลัยพยาบาลตารวจ โรงพยาบาลตารวจ สานักงานตารวจแห่งชาติ รายงานการวิจัยฉบับนี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจาก สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ พ.ศ. 2550 ISBN………………..
  • 13. คานาและกิตติกรรมประกาศ หรือประกาศคุณูปการ เป็ นการชี้แจงสิ่งที่ผู้วิจัยต้องการให้ผู้อ่านทราบเป็นพิเศษ เช่น มูลเหตุที่ทาวิจัยเรื่องนั้น การทาวิจัยในครั้งนั้นทาขึ้นเพื่ออะไร มีความมุ่งหมายและขอบเขตสาคัญอย่างไร และผลของการวิจัยเรื่อง นั้นใช้เป็นประโยชน์อะไรได้บ้าง รวมทั้งเป็นส่วนที่ใช้กล่าวขอบคุณ ผู้ที่ให้ความสนับสนุนช่วยเหลือให้การวิจัยนั้นสาเร็จลุล่วงไปด้วย ความเรียบร้อย โดยระบุชื่อสกุล ผู้เชี่ยวชาญที่ให้คาแนะนาหรือความ ช่วยเหลือในด้านต่าง ๆ และระบุเอกสารต่าง ๆ ในภาคบรรณานุกรม สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้จะช่วยเสริมให้ผู้อ่านเกิดความมั่นใจในคุณภาพของ การศึกษาเรื่องนั้นมากยิ่งขึ้น ท้ายสุดลงชื่อสกุลผู้ทาวิจัยด้วย
  • 14. กิตติกรรมประกาศ รายงานการประเมินโครงการพัฒนาสถานศึกษา 3 ดี (3D) เพื่อส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนวิทยาลัยเทคนิคอานาจเจริญฉบับนี้ สาเร็จด้วยดี เพราะได้รับความอนุเคราะห์จากผู้เชี่ยวชาญ 5 ท่าน ในการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ เก็บรวบรวมข้อมูลการประเมินและร่วมประชุมเชิงวิชาการวิพากษ์ผลการประเมิน โครงการ ประกอบด้วย 1. ดร.มนูญ ศิวารมย์ อาจารย์ประจาคณะบัณฑิตวิทยาลัย หลักสูตร ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2. ดร.ประยุทธ ชูสอน อาจารย์ประจาคณะศึกษาศาสตร์ สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น 3. ว่าที่ร้อยตรีดร.ทวีศักดิ์ นามศรี ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 4. นายลิขิต พลเหลา ผู้อานวยการเชี่ยวชาญวิทยาลัยเทคนิคอุบลราชธานี 5. นางวิไลลักษณ์ ราญสระน้อย ครูเชี่ยวชาญโรงเรียนชลกันยานุกูล
  • 15. ขอขอบพระคุณดร.พงศ์เทพ จิระโร ภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาประยุกต์ และ ดร.สมชาย พัทธเสน อาจารย์พิเศษ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ที่กรุณาให้แนวคิด ข้อแนะนา และตรวจทาน ทาให้การรายงานมีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น ขอขอบพระคุณอาจารย์ทานอง รังสีปัญญา อดีตผู้อานวยการระดับ 9 โรงเรียน มัธยมศึกษา กรมสามัญศึกษา ที่กรุณาให้คาปรึกษาการจัดทารายงานการประเมินโครงการ ขอขอบพระคุณคณะผู้บริหารและครู คณะกรรมการสมาคมผู้ปกครองและครู กับคณะกรรมการชมรมศิษย์เก่า และนักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยเทคนิคอานาจเจริญ ตลอดจนผู้เกี่ยวข้องอื่น ๆ ที่มีส่วนร่วมอย่างดียิ่งในการดาเนินโครงการจนสาเร็จลุล่วง ตามวัตถุประสงค์ ส่งผลให้ได้รับรางวัลชนะเลิศการดาเนินงานพัฒนาสถานศึกษา 3 ดี (3D) จากกระทรวงศึกษาธิการ ผู้ประเมินขอมอบคุณค่าของรายงานการประเมินโครงการนี้บูชาคุณบุพการีและผู้มี พระคุณทุกท่าน อักษรศิลป์ แก้วมหาวงศ์ ผู้อานวยการวิทยาลัยเทคนิคอานาจเจริญ กิตติกรรมประกาศ (ต่อ)
  • 16. บทคัดย่อ เป็นข้อความโดยสรุปของรายงานการวิจัยที่ สั้น กะทัดรัด ชัดเจน และได้ข้อความครอบคลุมเนื้อหาของ รายงานการวิจัยทั้งหมด โดยตัดรายละเอียดออก บทคัดย่อ นิยมทาเป็ น 2 ภาษาคือ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ บาง สถาบันการศึกษานิยมวางบทคัดย่อไว้หลังบรรณานุกรมหรือ หลังภาคผนวก (ถ้ามี)
  • 17. ในบทคัดย่อ 1. ไม่ควรระบุสิ่งใดที่มิได้มีปรากฏอยู่ในเนื้อเรื่อง และนาเอาชื่อเรื่อง มากล่าวซ้า ควรกล่าวถึงวัตถุประสงค์และวิธีการหรือแนวการศึกษา สาหรับวิธีการใหม่ควรกาหนดหลักการ แนวการปฏิบัติ และขอบเขต ของความแน่นอน 2. ไม่ควรอ้างอิงเอกสาร รูปภาพ และตารางใด ๆ ในบทคัดย่อ ควร พยายามเน้นถึงสิ่งที่มีชีวิตหรือสารที่พบใหม่ หากผู้เขียนต้องอ้างอิง เอกสาร ก็จะต้องให้แหล่งของเอกสารอ้างอิงในบทคัดย่อนั้นเองเลย โดยใส่ในวงเล็บ 3. ต้องไม่มีบัญชีรายชื่อเอกสารอ้างอิงอยู่ในบทคัดย่อ 4. ควรพยายามรักษาให้บทคัดย่ออยู่ในความยาวไม่เกิน 200 คา หรือ ประมาณ 3% ของเนื้อเรื่อง
  • 18. บทคัดย่อมีประโยชน์ 2 ประการ คือ : 1. เมื่อใช้บทคัดย่อนาเนื้อเรื่อง จะช่วยให้ผู้อ่านทราบสาระโดยสังเขป ของเรื่องทั้งหมด โดยไม่ต้องเสียเวลาอ่านทั้งเรื่อง โปรดอย่าลืมว่า นักวิทยาศาสตร์ส่วนใหญ่ไม่ค่อยมีเวลาว่างนัก แม้กระทั่งที่จะอ่าน บทความทางวิทยาศาสตร์ ฉะนั้นหากท่านเรียบเรียงบทคัดย่อได้สั้นที่ สุดแต่ได้ใจความมากที่สุดจะช่วยประหยัดเวลาของนักวิทยาศาสตร์ ทั้งหลายได้มาก 2. วารสารทุติยภูมิหรือวารสารประเภท abstracts ทั้งหลายสามาร นาเอาข้อความใน “บทคัดย่อ” ทั้งหมดไปลงพิมพ์ได้ทันที จึงเป็นการ ช่วยให้เรื่องที่ปรากฏในวารสารปฐมภูมิได้ไปปรากฏในวารสารทุติย ภูมิรวดเร็วและถูกต้องยิ่งขึ้น
  • 19. วิธีที่ใคร่จะแนะนาก็คือ ผู้เขียนควรจะพิมพ์สาเนาของ บทคัดย่อแยกต่างหาก ใส่ชื่อผู้เขียน ที่อยู่ และชื่อเรื่อง รวมทั้ง ชื่อของวารสารที่ประสงค์จะส่งเรื่องไปตีพิมพ์ เว้นช่องว่าง สาหรับปีที่ (volume) หน้าที่ (pages) และปีปฏิทิน (พ.ศ. หรือ ค.ศ. แล้วแต่กรณี) แล้วจึงตามด้วยบทคัดย่อ บรรณาธิการ ของวารสารนั้น ๆ จะเติมข้อความที่ว่างไว้แล้วส่งไปวารสาร ทุติยภูมิที่เกี่ยวข้องเอง
  • 20. ตอนที่ 1 กล่าวถึงปัญหาและวัตถุประสงค์ ตอนที่ 2 กล่าวถึงวิธีดาเนินการวิจัย ตอนที่ 3 กล่าวถึงผลของการวิจัย การค้นพบ และข้อเสนอแนะ
  • 21. แบบฟอร์มบทคัดย่อ สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ - - - - - - - - - - - - - - - - ส่วนที่ 1รายละเอียดเกี่ยวกับโครงการวิจัย ชื่อโครงการ (ภาษาไทย)....................................................... (ภาษาอังกฤษ).............................................................. ชื่อผู้วิจัย (นาย นาง นางสาว)......................................................... สถาบันระดับอุดมศึกษาที่สังกัด...................................................... ........................................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์.........................................ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัย ประเภท...........................................ประจาปี........................................... จานวนเงิน................................................ระยะเวลาทาการวิจัย............ปี ตั้งแต่.........................................................ถึง..........................................
  • 22. ส่วนที่ 2 บทคัดย่อ ภาษาไทย - ปัญหา วัตถุประสงค์ และวิธีการดาเนินการ (6-10 บรรทัด) - ผลของการศึกษา - สรุปผลของการค้นพบ - ข้อเสนอแนะ (ถ้ามี) ภาษาอังกฤษ - ปัญหา วัตถุประสงค์ และวิธีการดาเนินการ (6-10 บรรทัด) - ผลของการศึกษา - สรุปผลของการค้นพบ - ข้อเสนอแนะถ้ามี (ถามี) ความยาวของบทคัดย่อไม่ควรเกิน 2 หน้ากระดาษ A 4
  • 23. อัตราส่วนผสม ปริมาณจุลินทรีย์และอุณหภูมิที่มีผลต่อคุณภาพกะปิ บทคัดย่อ วัตถุประสงค์ : กะปิเป็นผลิตภัณฑ์แปรรูปสัตว์น้าจาพวกกุ้งเคย หรือปลา เป็นส่วนประกอบหลักของการการทาอาหารพื้นบ้าน ปัจจุบันกระบวนการทากะปิ ได้ถูกแปรรูปเป็นแบบอุตสาหกรรมใหม่ผลิตครั้งละมาก ๆ ทาให้เกิดปัญหาด้าน คุณภาพและมีผลต่อความเชื่อมั่นของผู้บริโภค วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้ 1) เพื่อศึกษาอัตราส่วนผสมของเคยกับเกลือ ปริมาณจุลินทรีย์และอุณหภูมิ ที่เหมาะสมต่อคุณภาพกะปิ 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้บริโภคต่อคุณภาพกะปิกลุ่มตัวอย่าง เป็นกลุ่ม พ่อบ้านและแม่บ้าน จานวน 50 คน โดยการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling)
  • 24. วัสดุอุปกรณ์และวิธีการศึกษา : อุปกรณ์ เครื่องมือ และสารเคมี ในการทากะปิ อุปกรณ์วัดอุณหภูมิ และอุปกรณ์ตรวจสอบปริมาณจุลินทรีย์ ได้ดาเนินการทดลองหาอัตราส่วนผสม ปริมาณจุลินทรีย์และอุณหภูมิ ที่มีผลต่อ คุณภาพกะปิ เป็นการดาเนินการวิจัยในเชิงทดลองทางวิทยาศาสตร์ จานวน 4 ซ้า สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การ วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) อัตราส่วนผสม ปริมาณจุลินทรีย์และอุณหภูมิที่มีผลต่อคุณภาพกะปิ
  • 25. ผลการศึกษา : พบว่า 1. อัตราส่วนผสมของเคยกับเกลือที่เหมาะสมต่อคุณภาพกะปิ คือ เคย 10 ส่วน ต่อ เกลือ 1.4 ส่วน 2. ปริมาณจุลินทรีย์ที่มีผลต่อคุณภาพกะปิ คือ ปริมาณยีสต์และราปนเปื้อน ไม่เกิน 50 โคโลนีต่อน้าหนักกะปิ 1 กรัม 3. อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อคุณภาพกะปิ คือ อุณหภูมิอากาศปกติ (ตากแดด) 4. ความพึงพอใจของผู้บริโภคต่อคุณภาพกะปิ อยู่ในระดับดีมาก เมื่อ จาแนกตามลักษณะเนื้อ สี กลิ่น และรส พบว่า ระดับความพึงพอใจมากที่สุด คือ กลิ่น รองลงมา คือ สี ลักษณะเนื้อ และน้อยที่สุด คือ รส อัตราส่วนผสม ปริมาณจุลินทรีย์และอุณหภูมิที่มีผลต่อคุณภาพกะปิ
  • 26. อัตราส่วนผสม ปริมาณจุลินทรีย์และอุณหภูมิที่มีผลต่อคุณภาพกะปิ บทสรุป : 1. กะปิซึ่งมีอัตราส่วนผสมของเคยกับเกลือ 10 : 1.4 เป็นกะปิที่มีคุณภาพดีที่สุด โดย ใช้เกณฑ์การตรวจสอบคุณภาพกะปิของสานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม และ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ซึ่งได้แก่ ลักษณะเนื้อ สี กลิ่น รส ปริมาณจุลินทรีย์ และ อุณหภูมิที่เหมาะสม 2. ในแต่ละสูตรจุลินทรีย์มีการเปลี่ยนแปลงปริมาณเมื่อเวลาผ่านไป ซึ่งหากการเติม สารอาหารของจุลินทรีย์ลงในกะปิ จะทาให้จุลินทรีย์มีการเจริญเติบโตได้ดี 3. การหมักกะปิที่อุณหภูมิต่างๆ ทาให้ปริมาณแบคทีเรียแตกต่างกัน โดยเฉพาะอุณหภูมิ อากาศปกติ (ตากแดด) ซึ่งพบปริมาณจุลินทรีย์น้อยที่สุด จัดเป็นอุณหภูมิที่เหมาะสมที่สุด เนื่องเพราะสามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ได้ดี และการที่ไม่พบการปนเปื้อน ของแบคทีเรียก่อโรค 4. ระดับความพึงพอใจมากที่สุด คือ กลิ่น รองลงมา คือ สี ลักษณะเนื้อ และน้อยที่สุด คือ รส รหัสคา : กะปิ คุณภาพกะปิ
  • 27. Agricultural Sci. J. 36 5-6 (Suppl) : 1013-1016(2005) ว.วิทย.เกษ.36 5-6(พิเศษ):1013- 1016(2548) อิทธิพลของการตัดแต่งดอกต่อคุณภาพและปริมาณเมล็ดพันธุ์ลูกผสมบรอคโคลี่-คะน้าในจังหวัดเลย Influence of Inflorescence Thinning on Seed Quality and Seed Yield of Broccoli-Chinese Kale Hybrid in Loei มยุรี สักทอง1 Mayuree Sukthong1 บทคัดย่อ วัตถุประสงค์ของการศึกษาเรื่องอิทธิพลของการตัดแต่งดอกต่อคุณภาพ และปริมาณเมล็ดพันธุ์ลูกผสมบรอคโคลี่-คะน้า ในจังหวัดเลย เป็นการหาวิธี ที่เหมาะสมในการตัดแต่งดอกที่ให้ได้เมล็ดพันธุ์ที่มีปริมาณ
  • 28. และคุณภาพสูงสุด ได้นาเมล็ดพันธุ์ที่ปรับปรุงโดย คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มาทาการศึกษา วางแผนการทดลองแบบ RCBD มี 3 ซ้า และตัดแต่งดอก 6 วิธี คือ ตัดแต่งกลางดอกออก 50 % และ 75 % ของขนาดดอก เมื่อดอกโตเต็มที่และระยะดอกย่อยเริ่มแยกตัว ตัดแต่งให้ ช่อดอกให้เหลือ 15 ช่อ และไม่มีการตัดแต่งดอก ผลปรากฏ ว่าวิธีการตัดแต่งทั้ง 6 วิธีให้จานวนฝักต่อช่อ ความยาวของ ฝักจานวนเมล็ดต่อฝักและน้าหนัก ,000 เมล็ด ไม่แตกต่างกัน ทางสถิติ แต่จะแตกต่างกันในเรื่องจานวนช่อต่อต้น ความยาว ช่อและจะแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญยิ่งสาหรับน้าหนักเมล็ด ต่อต้น
  • 29. การตัดแต่งช่อดอกให้เหลือ 15 ช่อจะได้เมล็ดน้าหนัก มากที่สุดคือ 8.22 กรัมต่อต้น รองลงมาคือ เมล็ดจากต้นไม่มี การตัดแต่งดอกเลย ซึ่งได้น้าหนัก 7.64 กรัมต่อต้นส่วนคุณภาพ ของเมล็ดพันธุ์วัดได้จากดัชนีความเร็วในการงอกและเปอร์ เซ็นต์ความงอกแม้ว่าจะไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ แต่การ ตัดแต่งช่อให้เหลือ 15 ช่อ จะให้คุณภาพเมล็ดพันธุ์ดีที่สุด โดย สรุปแล้วการตัดแต่งดอกลูกผสม บรอคโคลี่-คะน้า ที่ให้ปริมาณและคุณภาพเมล็ดพันธุ์สูงที่สุดคือ การตัดแต่ง ช่อดอกให้เหลือ 15 ช่อ และรองลงมาคือไม่ตัดแต่งดอกเลย
  • 30. Agricultural Sci. J. 36 5-6 (Suppl) : 1080-1082(2005) ว.วิทย.กษ.36 5-6 (พิเศษ):1080-1082(2548) ผลของการให้น้าในปริมาณที่แตกต่างกันที่มีต่อการเจริญเติบโตของตะไคร้ 2 พันธุ์ Effect of Different Irrigation Amounts on Growth of Two Lemon Grass Cultivars สัจจา ธรรมาวิสุทธิผล1 และ สมยศ เดชภิรัตนมงคล1 Sutja Tummavisuttipon 1 and Somyot Detpiratmangkol1 บทคัดย่อ จุดประสงค์ของการทดลองนี้เพื่อต้องการศึกษาถึงผลของการให้น้าในระดับที่ แตกต่างกันที่มีต่อการเจริญเติบโตของตะไคร้ 2 พันธุ์ วางแผนการทดลองแบบ split plot มีจานวน 3 ซ้า Main plot ได้แก่ ตะไคร้ 2 พันธุ์ คือ ตะไคร้กอ (Cymbopogon citratus) และ ตะไคร้หอม (Cymbopogon nardus) ส่วน Sub plots ได้แก่ปริมาณ น้าที่ให้แก่ตะไคร้ 5 ระดับ คือให้น้าตามสัดส่วนของค่าปริมาณน้าที่ให้ต่อค่าการระเหย สะสม
  • 31. (irrigation water / evaporation, IW/E) 0.1,0.3,0.5,0.7 และ1.0 ตามลาดับ ผลจากการทดลองพบว่า ตะไคร้หอม มี น้าหนักต้น ใบและน้าหนักแห้งทั้งหมดมีค่ามากกว่าตะไคร้ กอความสูง พื้นที่ใบและน้าหนักแห้งทั้งหมดมีค่าเพิ่มมากขึ้น เมื่อปริมาณน้าที่ให้แก่ตะไคร้มีค่าเพิ่มมากขึ้นจาก IW/E 0.1 จน ถึง IW/E 1.0 ตะไคร้ที่ได้รับน้าในสัดส่วนของ IW/E มีค่ามาก ที่สุดจะมีการเจริญเติบโตทางลาต้นและน้าหนักแห้งรวมมีค่า มากที่สุด ในขณะที่เมื่อได้รับน้าในสัดส่วนของ IW/E มีค่าน้อย ที่สุดจะมีค่าต่าที่สุด อย่างไรก็ตามไม่พบความสัมพันธ์ระหว่าง พันธุ์ของตะไคร้กับปริมาณน้าที่ให้แก่ตะไคร้
  • 32. Agricultural Sci. J. 36 5-6 (Suppl) : 749-752(2005) ว.วิทย.กษ. 36 5-6(พิเศษ) : 749-752(2548) การศึกษาวัสดุเพาะที่เหมาะสมในการเพาะต้นกล้าแพงพวยพันธุ์ แปซิฟิ ค่า เรด A Study on Suitable Sowing Media for Periwinkle (Catharanthus rosea) Pacifica Red ศรีประไพ ธรรมแสง1 และจารุวัฒน์ คาสะอาด1 Sriprapai Thummasaeng1 and Jaruwat Kumsaart1 บทคัดย่อ การศึกษาชนิดวัสดุเพาะที่เหมาะสมในการเพาะกล้าแพงพวย พันธุ์แปซิฟิ ค่า เรด มีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการหาวัสดุเพาะที่ สามารถนามาทดแทนการ ใช้พีทในการเพาะเมล็ดไม้ดอก ทาการทดลองที่ คณะเกษตรศาตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
  • 33. วางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design เพาะเมล็ดแพงพวยในวัสดุเพาะ 6 สูตร ได้แก่ สูตรที่ 1 แกลบ เผาหยาบ สูตรที่ 2 ขุยมะพร้าว สูตรที่ 3 พีท สูตรที่ 4 5 และ 6 ใช้ พีท : ขุยมะพร้าว : แกลบเผาหยาบ อัตรา 2:1:1, 1:2:1 และ 1:1:2 ตามลาดับ ผลการทดลองพบว่า วัสดุเพาะที่เหมาะสม ในการเพาะกล้าแพงพวยพันธุ์แปซิฟิ ค่า เรด คือวัสดุเพาะสูตร ที่ 3,4,5 และ 6 ซึ่งต้นพืชมีความสูง ความกว้างทรงพุ่ม จานวน ใบ น้าหนักสด และน้าหนักแห้ง ไม่แตกต่างกัน ดังนั้นวัสดุ เพาะสูตรที่ 4 5 และ 6 จึงสามารถใช้เป็นวัสดุเพาะกล้าแทนการ ใช้พีทได้ ทั้งนี้พบว่าสูตรที่ 5 ละ 6 สามารถลดปริมาณการใช้พีทลงได้ถึง 75 เปอร์เซ็นต์
  • 34. Agricultural Sci. J. 36 5-6 (Suppl) : 974-977(2005) ว.วิทย.กษ. 36 5-6 (พิเศษ) : 974-977(2548) ศักยภาพทางอัลลีโลพาทีของสารที่แยกได้จากสารสกัดใบประยงค์ในชั้นคลอโรฟอร์มชั้นที่ 8 Alleiopathic Potential of Isolated Substances from Eighth Chloroform Fraction of Aglaia odorataLour Leaf Extract. วิรัตน์ ภูวิวัฒน์1 พัชนี เจริญยิ่ง2 จารูญ เล้าสินวัฒนา1 และยิ่งยง เมฆลอย1 Wirat Phuwiwat1 Patchanee Charoenying 2 Chamroon Laosinwattana1 and Yingyon Makol1 บทคัดย่อ จากการแยกสารสกัดจากใบประยงค์ (Ag;aia odorata Lour) ในชั้นคลอโรฟิ ร์มชั้นที่ 8 ด้วยวิธีคอลัมน์โครมาโตกราฟี ปรากฏว่าสามารแยกสารสกัดได้เป็นจานวน 8 ชั้น และเมื่อ ทาการทดสอบผลของสารสกัดทั้ง 8 ชั้นที่ระดับความเข้มข้น 0 (น้ากลั่น) 62.5, 125, 250 และ 500ppm
  • 35. ต่อการงอกของเมล็ดวัชพืช 4 ชนิด ได้แก่ ผักโขม (Amaranthus viridis L.) หงอนไก่ป่ า (Celosia argentea L.) หญ้าขจร จบดอกเหลือง (Pennisetum setosum L.) และหญ้าข้าวนก (Echinochioa crus-galli (L) Beauv.) พบว่าสารสกัดในชั้นที่ 4 ให้ผล ในการยับยั้งการงอกของเมล็ดมากที่สุด รองลงมาคือสารสกัดในชั้นที่ 5 ซึ่งสารสกัดในชั้นที่ 4 ที่ระดับความเข้มขน 125 ppm สามารถยับยั้ง การงอกของเมล็ดพืชทั้ง 4 ชนิดได้อย่างสมบูรณ์ ขณะที่สารสกัดใน ชั้นที่ 5 ให้ผลในการยับยั้งการงอกของเมล็ดอย่างสมบูรณ์ที่ระดับ ความเข้มข้น 500 ppm 1 ภาควิชาพืชสวน คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพ ฯ 10520 1 Dept. of Horticulture, Faculty of Agricultural Technology, King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang, Bangkok, 10520 2 ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพ ฯ 10520 2 Dept. of Chemistry, Faculty of Science, King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang, Bangkok, 10520
  • 36. Agricultural Sci. J. 36 5-6 (Suppl) : 689-692 (2005) ว.วิทย.กษ. 36 5-6 (พิเศษ) : 689- 692(2548) ผลของสารพาโคลบิวทราโซลต่อการเจริญเติบโตของกุหลาบในสภาพปลอดเชื้อ Effect of Paclobutrazole on Growth of Roses In Vitro พินิจ กรินท์ธัญญกิจ1 กัลยาณี สุวิทวัส1 Pinit Karintanyakit 1 Kunlayamee Suvittaws1 บทคัดย่อ การศึกษาการเลี้ยงกุหลาบในอาหารสูตร MS ที่เติม BA เข้มข้น 1 มก./ล. ร่วมกับสารพาโคลบิวทราโซล เข้มข้น 0, 5, 10, 15 และ 20 มก./ล. เป็นเวลา 5 เดือน พบว่ากุหลาบสามารถเพิ่มปริมาณยอดได้ ในอาหารสูตร MS เติม BA 1มก./ ล. ร่วมกับพาโคลบิวทราโซล เข้มข้น 0 และ 5 มก./ล. โดยมีคะแนนการเพิ่มปริมาณ ยอดเฉลี่ยเป็น 3.1 และ 2.6 ตามลาดับ หลังจากเลี้ยงไปได้ 1 เดือน
  • 37. และมีการเพิ่มปริมาณยอดมากขึ้นในเดือนที่ 2 โดยคะแนนการเพิ่มปริมาณยอดเฉลี่ย เป็น 3.7 และ 3 ต้นกุหลาบมีความสูงมากที่สุด 4.76 ซม. ในอาหารที่ไม่เติมสารโคล บิวทราโซล และมีความสูงของต้นน้อยที่สุด 0.74 ซม. ในอาหารที่เติมสารโคลบิวทรา โซล เข้มข้น 20 มก./ล. หลังจากเลี้ยงไปได้ 2 เดือนพบการเกิดราก 60% ในกุหลาบ ที่เลี้ยงในอาการสูตรที่เติมสารพาโคลบิวทราโซล 5 มก./ล. ร่วมกับ BA 1 มก./ล. เมื่อเลียงกุหลาบไปได้ 4 และ 5 เดือน พบการตายของต้น โดยมี % การตายสูงสุด 83.33 และ 84% ในกุหลาบที่เลี้ยงในอาหารที่เติมสารพาโคลบิวทราโซล เข้มข้น 20 มก./ล. เมื่อนาคะแนนการเพิ่มปริมาณยอดและความสูงของต้นเฉลี่ยเปรียบเทียบกัน ทางสถิติ พบว่ามีความแตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนัยสาคัญยิ่ง
  • 38. บทสรุปสาหรับผู้บริหาร 1. รายงานทางวิชาการหรือรายงานวิจัย มักจัดทาบทสรุปสาหรับ ผู้บริหาร เพื่อให้ผู้บริหารได้อ่านในเวลาอันสั้น 2. หลังจากที่ผู้เขียนได้เขียนเรื่องทั้งหมดจบลงแล้ว ควรอ่านบท ทบทวนและบันทึกสาระสาคัญในเรื่อง ลักษณะของปั ญหา, วัตถุประสงค์ วิธีการ, ผล, สรุปผล, และข้อเสนอแนะสาหรับงานขั้น ต่อไป, แล้วนามาเรียบเรียงเป็นบทสรุปสาหรับผู้บริหารในภายหลัง
  • 39. ในบทสรุปของผู้บริหาร 1. ไม่ควรระบุสิ่งใดที่มิได้มีปรากฏอยู่ในเนื้อเรื่อง และนาเอาชื่อเรื่องมากล่าว ซ้า ควรกล่าวถึงวัตถุประสงค์และวิธีการหรือแนวการศึกษา 2. อาจมีรูปภาพ และตาราง ในบทสรุปสาหรับผู้บริหารได้ หากผู้เขียนต้อง อ้างอิงเอกสาร ก็จะต้องให้แหล่งของเอกสารอ้างอิงในบทสรุปย่อนั้นเอง เลยโดยใส่ในวงเล็บ ภาษาที่ใช้เข้าใจง่าย 3. ต้องไม่มีบัญชีรายชื่อเอกสารอ้างอิงอยู่ในบทสรุป 4. ควรพยายามรักษาให้บทสรุปอยู่ในความยาวไม่เกิน 3 – 5 หน้ากระดาษ A4
  • 40. บทสรุปสาหรับผู้บริหารมีประโยชน์ 2 ประการ คือ 1. เมื่อผู้บริหารได้อ่าน จะช่วยให้ทราบสาระโดยสังเขปของเรื่องทั้งหมดโดยไม่ต้องเสียเวลา อ่านทั้งเรื่อง โปรดอย่าลืมว่าผู้บริหารส่วนใหญ่ไม่ค่อยมีเวลาว่างนัก ฉะนั้นหากท่านเรียบ เรียงบทสรุปได้สั้นที่สุดแต่ได้ใจความมากที่สุดจะช่วยประหยัดเวลาของผู้บริหารทั้งหลาย ได้มาก 2. บทสรุปสาหรับผู้บริหารจะต้องมีข้อเสนอแนะสาหรับให้ผู้บริหารได้ทราบหรือตัดสินใจ ได้
  • 41. บทสรุปสาหรับผู้บริหาร เป็นข้อความโดยสรุปของรายงานการวิจัยที่สั้น กะทัดรัดชัดเจน และ ได้ข้อความครอบคลุมเนื้อหาของรายงานการวิจัยทั้งหมด โดยตัด รายละเอียดออก บทสรุปอาจทาเป็น 2 ภาษา คือ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ บทสรุปสาหรับผู้บริหารโดยทั่วไปประกอบด้วยเนื้อหา 4 ตอน ดังต่อไปนี้ ตอนที่ 1 กล่าวถึงปัญหาและวัตถุประสงค์ ตอนที่ 2 กล่าวถึงวิธีการดาเนินการวิจัย ตอนที่ 3 กล่าวถึงผลของการวิจัย การค้นพบ ตอนที่ 4 ข้อเสนอแนะ
  • 42. บทสรุปสาหรับผู้บริหาร การประเมินโครงการพัฒนาสถานศึกษา 3 ดี (3D) เพื่อส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนวิทยาลัยเทคนิค อานาจเจริญครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ประเมินโครงการพัฒนาสถานศึกษา 3 ดี (3D) เพื่อส่งเสริม คุณภาพผู้เรียนวิทยาลัยเทคนิคอานาจเจริญ อย่างเป็ นระบบใน 5 ด้าน คือ ประเมินบริบท ปัจจัย ป้ อนเข้า กระบวนการ ผลลัพธ์ และผลกระทบของโครงการ 2) เพื่อวิพากษ์ผลการประเมินโครงการ พัฒนาสถานศึกษา 3 ดี (3D) เพื่อส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนวิทยาลัยเทคนิคอานาจเจริญ โดยใช้รูปแบบ การประเมินเชิงระบบและรวมพลังตามทัศนะของวิโรจน์ สารรัตนะ กลุ่มผู้ให้ข้อมูลเป็นผู้บริหารและ ครู จานวน 94 คน คณะกรรมการสมาคมผู้ปกครองและครู กับคณะกรรมการชมรมศิษย์เก่า จานวน 28 คน และ นักเรียน นักศึกษา จานวน 344 คน รวมทั้งหมด 466 คน เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน ได้แก่ แบบสอบถาม แบบสารวจ ระยะเวลาในการประเมินโครงการ 3 ระยะ คือ 1) ประเมินก่อนเรี่มดาเนิน โครงการ 2) ประเมินระหว่างดาเนินโครงการ 3) ประเมินหลังดาเนินโครงการ สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์เชิงปริมาณ ได้แก่ ค่าร้อยละ, ความถี่, ค่าเฉลี่ย และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการ วิเคราะห์เชิงคุณภาพ โดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการประเมินและข้อเสนอแนะ สรุปได้ดังนี้
  • 43. สรุปผลการประเมิน 1. ผลการประเมินโครงการพัฒนาสถานศึกษา 3 ดี (3D) เพื่อส่งเสริมคุณภาพ ผู้เรียนวิทยาลัยเทคนิคอานาจเจริญตามรูปแบบการประเมินเชิงระบบและรวม พลัง พบว่า ผลการประเมินโครงการโดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด พิจารณารายด้าน พบว่า ทุกด้านอยู่ในระดับมากที่สุดเรียงตามลาดับค่าเฉลี่ย จากมากไปหาน้อยคือ 1) ผลกระทบ 2) กระบวนการ 3) ผลลัพธ์ 4) ปัจจัย ป้ อนเข้า 5) บริบท จากการสารวจผลงานการจัดกิจกรรมโครงการ พบว่า มีทั้ง กิจกรรมที่มีผลงานตามเป้ าหมายและเกินเป้ าหมาย ผลการประเมินทุก รายการผ่านเกณฑ์การประเมินที่กาหนดไว้ ซึ่งผลการประเมินรายประเด็น และตัวชี้วัด เป็นรายด้าน สรุปได้ดังนี้
  • 44. 1.1 ผลการประเมินบริบท พบว่า ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด พิจารณาตามตัวชี้วัดพบว่า ความต้องการจาเป็นของโครงการ ความ สอดคล้องของวัตถุประสงค์โครงการ และ ความเหมาะสมของ วัตถุประสงค์โครงการอยู่ในระดับมากที่สุด 1.2 ผลการประเมินปัจจัยป้ อนเข้า พบว่า ทั้งภาพรวมและตาม ตัวชี้วัดอยู่ในระดับมากที่สุด คือ ความพร้อมของบุคลากร ความ เพียงพอและเหมาะสมของงบประมาณ และความเหมาะสมของ ปัจจัยในการดาเนินโครงการ 1.3 ผลการประเมินกระบวนการ พบว่า ทั้งภาพรวมและตาม ตัวชี้วัดอยู่ในระดับมากที่สุด คือ การมีส่วนร่วมของบุคลากร การ ประเมินและปรับปรุงงาน และการรายงานการจัดกิจกรรม  สรุปผลการประเมิน
  • 45. 1.4 ผลการประเมินผลลัพธ์ พบว่า ทั้งภาพรวมและตามตัวชี้วัดอยู่ในระดับ มากที่สุด คือ ผลงานการจัดกิจกรรมโครงการ และความพึงพอใจของผู้มี ส่วนได้เสีย 1.5 ผลการประเมินผลกระทบโครงการเกี่ยวกับพฤติกรรมคุณลักษณะที่ พึงประสงค์ของผู้เรียน พบว่า ทั้งภาพรวมและตามตัวชี้วัด ผู้เรียนมี พฤติกรรมในระดับดีมาก คือ ด้านประชาธิปไตย ด้านคุณธรรม จริยธรรม และความเป็นไทย และด้านการมีภูมิคุ้มกันภัยห่างไกลยาเสพติด สรุปผลการประเมิน
  • 46. 2. ผลการวิพากษ์ผลการประเมินโครงการพัฒนาสถานศึกษา 3 ดี (3D) เพื่อ ส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนวิทยาลัยเทคนิคอานาจเจริญ โดยผู้แทนคณะ กรรมการบริหารวิทยาลัย ผู้แทนคณะกรรมการสมาคมผู้ปกครองและครู กับ คณะกรรมการชมรมศิษย์เก่า ผู้แทนคณะกรรมการองค์การนักเรียน นักศึกษา และผู้เชี่ยวชาญ พบว่า ที่ประชุมมีมติเอกฉันท์เห็นด้วยกับผลการ ประเมินโครงการ ใน 4 มาตรฐาน คือ 1) การประเมินโครงการ ดาเนินการ ตามขอบข่ายของอรรถประโยชน์หรือความเป็นประโยชน์ 2) การประเมิน โครงการนี้มีความเป็นไปได้ 3) การประเมินโครงการนี้มีความชอบธรรม หรือเหมาะสม 4) การประเมินโครงการนี้มีความถูกต้อง สรุปผลการประเมิน
  • 47. ข้อเสนอแนะ 1. สถานศึกษาควรดาเนินงานตามโครงการพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของ ผู้เรียนด้าน 3 ดี (3D) ให้เกิดความต่อเนื่องและยั่งยืน 2. สถานศึกษาควรดาเนินการบริหารจัดการศึกษาของสถานศึกษาโดยใช้หลักการมี ส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสียให้ครอบคลุมการบริหารจัดการทุกกลุ่มงาน 3. สถานศึกษาควรส่งเสริมให้บุคลากรมีการประเมินโครงการอื่น ๆ ในรูปแบบการ ประเมิน เชิงระบบแบบรวมพลังและการประเมินโดยใช้รูปแบบอื่น ๆ เช่น รูปแบบ การประเมินของไทเลอร์ (Tyler) รูปแบบการประเมินของโปรวัส (Provus) รูปแบบการประเมินของสเต้ก (Stake) และรูปแบบการประเมินของสคริฟเวน (Scriven) เป็นต้น 
  • 48. 4. สถานศึกษาควรส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมที่ผู้เรียนทุก คนมีส่วนร่วม ในทุกกิจกรรมแบบบูรณาการ มีการประชาสัมพันธ์ให้ทุก หน่วยงานเข้ามามีส่วนร่วม นาจุดเด่นของแต่ละกิจกรรมไปพัฒนาเป็น มาตรฐานโครงการอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนสร้างความรู้ความเข้าใจในด้าน ประชาธิปไตย ด้านคุณธรรม จริยธรรมและความเป็นไทย และด้านการมี ภูมิคุ้มกันภัยห่างไกลยาเสพติด ให้เกิดขึ้นในครอบครัวชุมชน และสังคม เพื่อให้ทุกส่วนของสังคมมีส่วนร่วม ข้อเสนอแนะ
  • 49. สารบัญ (Content) เป็นส่วนที่อยู่ในลาดับต่อจากบทคัดย่อ จะทาหน้าที่บอกว่า เรื่องต่าง ๆ ของรายงานการวิจัยตั้งแต่ คานา กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ เนื้อเรื่องบทที่ 1 ถึงบทสุดท้าย รวมทั้งเอกสารอ้างอิงและภาคผนวกว่าแต่ละเรื่องเหล่านั้นอยู่ใน หน้าที่เท่าใด การจัดทาสารบัญอาจจะทาเฉพาะหัวข้อใหญ่ ๆ หรือจะทาอย่างละเอียดก็ได้
  • 50. ตัวอย่าง สารบัญแบบย่อ สารบัญ เรื่อง หน้า คานา ก กิตติกรรมประกาศ ข บทคัดย่อ(ภาษาไทย) ค บทคัดย่อ(ภาษาอังกฤษ) จ สารบัญ ซ สารบัญตาราง ฎ สารบัญภาพ ฏ บทที่ 1 : บทนา 1 บทที่ 2 : แนวความคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 7 บทที่ 3 : ระเบียบวิธีวิจัย 35 บทที่ 4 : ผลการวิเคราะห์ข้อมูลและอภิปรายผล 45 บทที่ 5 : สรุปและข้อเสนอแนะ 100 บรรณานุกรม 115 ภาคผนวก 120
  • 51. สารบัญ หน้า คานา ก กิตติกรรมประกาศ ข บทคัดย่อ(ภาษาไทย) ค บทคัดย่อ(ภาษาอังกฤษ) ง สารบัญ จ สารบัญตาราง ช สารบัญแผนภูมิ ญ ตัวอธิบายสัญลักษณ์แบบคาย่อ (ถ้ามี)
  • 52. บทที่ 1 : บทนา 1 1. ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา 1 2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 3 3. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 4 4. ขอบเขตของการวิจัย 5 5. ข้อตกลงเบื้องต้น (ถ้ามี) 7 6. ข้อจากัดของการวิจัย (ถ้ามี) 7 7. นิยามศัพท์ที่ใช้ในการวิจัย 8
  • 53. บทที่ 2 :แนวความคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 13 1. แนวความคิด 13 2. ทฤษฎี 25 3. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 35 4. กรอบแนวความคิดในการวิจัย 40 5. สมมติฐานในการวิจัย 41 6. นิยามปฏิบัติการ 45
  • 54. บทที่ 3 : ระเบียบวิจัย 48 1. วิธีวิจัย 48 2. หน่วยที่ใช้ในการวิเคราะห์ 48 3. ประชากร 49 4. กลุ่มตัวอย่าง 50 5. พื้นที่ที่ใช้ในการวิจัย 51 6. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 52 7. การวัดตัวแปร 52 8. การเก็บรวบรวมข้อมูล 53 8.1 วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล 53 8.2 ระยะเวลาการเก็บข้อมูล 56 9. การประมวลผลและการวิเคราะห์ข้อมูล 57 9.1 วิธีการประมวลผลข้อมูล 57 9.2 สถิติที่ใช้ 57 9.3 วิธีการนาเสนอ 58
  • 55. บทที่ 4 : ผลการวิเคราะห์ข้อมูลและอภิปรายผล 59 1. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง 2. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อตอบวัตถุประสงค์ข้อ 1 3. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อตอบวัตถุประสงค์ข้อ 2 4. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อตอบสมมุติฐานที่ตั้งไว้ 5. อภิปรายผลเพื่อตอบวัตถุประสงค์และสมมุติฐานที่ตั้งไว้
  • 56. บทที่ 5 : บทสรุปและข้อเสนอแนะ 100 1. สรุปผลการวิจัย 100 2. ข้อเสนอแนะจากผลการวิจัย 107 2.1 ข้อเสนอแนะเชิงวิชาการ 107 (พัฒนาองค์ความรู้และสนับสนุนทฤษฎี) 2.2 ข้อเสนอแนะเชิงพัฒนา (นโยบายและปฏิบัติการ) 2.3 ข้อเสนอแนะสาหรับการศึกษาครั้งต่อไป
  • 57. บรรณานุกรม 120 ภาคผนวก 130 ก. แบบสอบถาม ข. รายชื่อผู้เชี่ยวชาญ ค. ตารางข้อมูล (เพิ่มเติม) ประวัติผู้วิจัย 140
  • 58. สารบัญตาราง 1.5 ช่วงบรรทัด ตารางที่ หน้า 1.5 ช่วงบรรทัด ///1//ชื่อตาราง................................................................................เลขหน้า 2 ชื่อตาราง...............................................................................เลขหน้า 3 ชื่อตาราง...............................................................................เลขหน้า 4 ชื่อตาราง...............................................................................เลขหน้า 5 ชื่อตาราง..............................................................................เลขหน้า 6 ชื่อตาราง...............................................................................เลขหน้า
  • 59. (รูปแบบสารบัญภาพ) 2 นิ้วจากขอบกระดาษ สารบัญภาพ 1.5 ช่วงบรรทัด ตารางที่ หน้า 1.5 ช่วงบรรทัด ///1 // ชื่อภาพ.............................................................................................เลขหน้า 2 // ชื่อภาพ.............................................................................................เลขหน้า 3 // ชื่อภาพ.............................................................................................เลขหน้า 4 // ชื่อภาพ.............................................................................................เลขหน้า 5 // ชื่อภาพ.............................................................................................เลขหน้า 6 // ชื่อภาพ............................................................................................เลขหน้า
  • 60. บัญชีตาราง เป็นหน้าที่ใช้แสดงรายการตารางที่มีทั้งหมดในรายงาน การวิจัยนั้น โดยบอกเลขที่ตาราง ชื่อตาราง และหน้าที่มี ตารางเรียงลาดับเลขที่ตาราง บัญชีแผนภูมิรูปภาพ เป็ นหน้าที่ใช้แสดงรายการรูปภาพซึ่งรวมทั้งแผนภูมิ แผนผังและแผนภาพทางสถิติต่าง ๆ ที่มีปรากฏอยู่ในรายงาน การวิจัยนั้น โดยบอกเลขที่รูปภาพและหน้าที่มีรูปภาพนั้น
  • 61. บทที่1 : บทนา 1. ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา 2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 3. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 4. ขอบเขตของการวิจัย 5. ข้อตกลงเบื้องต้น (ถ้ามี) 6. ข้อจากัดของการวิจัย (ถ้ามี) 7. นิยามศัพท์ที่ใช้ในการวิจัย
  • 62. (รูปแบบการแบ่งบทและหัวข้อในบท) 2 นิ้วจากขอบกระดาษ บทที่ 1.5 ช่วงบรรทัด ......................ชื่อบท...................... ............................................................................. 1.5 ช่วงบรรทัด หัวข้อสาคัญ 1.5 ช่วงบรรทัด / / / / / / /หัวข้อย่อย................................................................................................................ .............................................................................................................................................. / / / / / / /1./ /......................................................................................................................... / / / / / / / / / /1.1/ /................................................................................................................... / / / / / / / / / / / / /1.1/ /............................................................................................................ ............................................................................................................................................... (7) (7) (13) (10)
  • 63. / / / / / / / / / / / / / / / /1.1.1/ /...................................................................................... ................................................................................................................................... / / / / / / / / / / / / / / / /1.1.1.2/ /................................................................................... .................................................................................................................................. / / / / / / / / / /1.2/ /..................................................................................................... ................................................................................................................................. / / / / / / / / / / / / / 1.2.1/ /.......................................................................................... ................................................................................................................................ (16)
  • 64. 1. ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา บรรยายความเป็นมา และความสาคัญของปัญหาที่จะวิจัยว่ามีมูลเหตุ อย่างไรที่จะทาวิจัยในปัญหานั้น ผู้วิจัยต้องยกทฤษฎีและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องมา สนับสนุนวิเคราะห์ วิจารณ์ และอ้างอิง เพื่อชี้ประเด็นให้เห็นความสาคัญและความ จาเป็นที่จะต้องทาวิจัยเรื่องนั้น หัวข้อที่ควรเขียนประกอบด้วย 1. เรื่องที่ศึกษาเป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร (เสนอทฤษฎี แนวคิด) 2. ความสาคัญ (ของเรื่องนี้ เสนอข้อมูลสถิติให้เห็นความสาคัญ) 3. สถานภาพของเรื่องที่ศึกษา (ดี เลว เหมาะสม มีปัญหา อุปสรรค อะไร) 4. อะไรทาให้เกิดสถานการณ์เหล่านี้ (ที่มาของปัญหา) 5. ประเด็นที่จะวิจัย 6. ความจาเป็นต้องรีบดาเนินการ
  • 65. หลักการเขียนสภาพและความสาคัญของปัญหา 1. เขียนให้ตรงปัญหาอย่าเขียน เยิ่นเย้อ อ้อมค้อม วกวน 2. เขียนให้ครอบคลุมประเด็นที่สาคัญของปัญหา ที่จะศึกษา 3. อย่าเขียนความสาคัญให้สั้นเกินไปจนจับประเด็นปัญหาที่จะศึกษาไม่ได้ 4. อย่านาตัวเลข หรือตารางยาว ๆ หรือข้อมูลอื่น ๆ ซึ่งไม่เกี่ยวข้องมากนักมาใส่อ้างอิง ใน ส่วนความสาคัญของปัญหานี้มากเกินไปขอให้เลือกเอาเฉพาะข้อมูลที่เกี่ยวข้องจริง ๆ 5. จะต้องมีการอ้างอิงเอกสารแหล่งที่มาประกอบด้วยเสมอ 6. การเขียนต้องให้เนื้อเรื่องมีความสัมพันธ์กันอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะการขึ้นย่อหน้าใหม่ ในแต่ละตอน ต้องมีส่วนเชื่อมโยงกับเรื่องในส่วนท้ายของย่อหน้าตอนเก่าด้วย 7. ในส่วนท้ายของความสาคัญของปัญหา ต้องเขียนขมวดท้ายหรือสรุปเพื่อให้มีส่วน เชื่อมโยงกับหัวข้อในวัตถุประสงค์การศึกษาต่อไปด้วย
  • 66. 2. วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัย เป็นส่วนที่บอกเป้ าหมายหรือความต้องการของงานวิจัย (ผู้วิจัย) ว่า “อยากทราบอะไร” เพื่อใช้เป็นทิศทางและแนวทางการวิจัย การเขียน 1. เขียนให้ชัดเจน อ่านแล้วเข้าใจได้ว่า “ต้องการทราบอะไร” 2. อยู่ในขอบเขตของปัญหาวิจัย 3. ครอบคลุมสิ่งสาคัญที่ควรแก่การศึกษา 4. ทาวิจัยได้จริง หรือ หาข้อมูลได้ 5. จัดเรียงตามลาดับความสาคัญ หรือตามขั้นตอนดาเนินการ 6. อาจเขียนเป็นประโยคบอกเล่า แบ่งเป็นข้อ ๆ หรือเขียนเป็นเป้ าหมายรวม แล้วตามด้วย ปัญหาวิจัยย่อย ๆ (คาถามการวิจัย)
  • 67. 7. อย่าเขียนในรูปของวิธีการดาเนินการ 8. อย่าเขียนวัตถุประสงค์มากเกินไป 9. อย่าเอาประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับมาเขียนเป็นวัตถุประสงค์ 10 เขียนให้มีลักษณะ SMART S : Sensible (เหมาะ, สาคัญ, จาเป็น) M : Measurable (วัดได้, ตรวจสอบได้) A : Attainable (บรรลุได้, ทาได้) R : Reasonable (สมเหตุสมผล, สอดคล้องกับปัญหา) T : Time (ระยะเวลาดาเนินการ และสิ้นสุด)
  • 69. 3. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับและหน่วยงานที่จะนาผลการวิจัยไป ใช้ประโยชน์ ☻แสดงคุณค่าหรือประโยชน์ของข้อค้นพบ ☻เขียนให้อยู่ในขอบเขตของวัตถุประสงค์ วิธีการเขียน ระบุถึงประโยชน์ของการวิจัยที่จะได้รับ(อย่างเดียวหรือหลายอย่าง) 1. แก้ปัญหาในการดาเนินงานของหน่วยงานที่ทาวิจัย (ระบุ) 2. เป็นองค์ความรู้ในการวิจัยต่อไป (ระบุ) 3. บริการความรู้แก่ประชาชน (ระบุ) 4. บริการความรู้แก่ภาคธุรกิจ (ระบุ)
  • 70. 5. นาไปสู่การผลิตเชิงพาณิชย์ (ระบุ) 6. เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต(ระบุ) 7. เป็นประโยชน์ต่อประชากรกลุ่มเป้ าหมาย(ระบุ) 8. อื่น ๆ (ระบุ) มูลค่าในทางเศรษฐกิจที่วัดได้ ☻มูลค่าและประโยชน์ที่เพิ่มขึ้นจากปริมาณและมูลค่าในการส่งออก (ระบุ) ☻ปริมาณและมูลค่าในการนาเข้า (ระบุ) ☻ปริมาณและมูลค่าที่ใช้ในประเทศ (ระบุ) ☻โอกาสหรือลู่ทางใหม่ ๆ ของงานวิจัยนั้น (ระบุ)
  • 71. ☻ปริมาณการใช้หลังจากการวิจัยประสบผลสาเร็จ (ระบุ) ☻ผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม (ระบุ) ☻การประหยัดพลังงาน (ระบุ) ☻การจ้างงาน (ระบุ) ☻การประหยัดงบประมาณ (ระบุ) ☻ประหยัดการใช้ทรัพยากร (ระบุ) ☻การเพิ่มประสิทธิภาพ (ระบุ) ฯลฯ
  • 72. คุณค่าในทางสังคม ♥ ได้แนวทางในการแก้ปัญหาที่สาคัญ (ระบุ) ♥ ช่วยปรับปรุงวิธีการ แนวทาง รูปแบบที่เป็นอยู่ให้เกิดประโยชน์ มากขึ้นกว่าเดิม (ระบุ) ♥ ช่วยลดค่าใช้จ่าย (ระบุ) ♥ ลดการสูญเสียทรัพยากรที่มีอยู่ (ระบุ) ♥ ลดผลกระทบต่อสังคม (ระบุ) ♥ ช่วยปรับปรุงมาตรฐานในการดารงชีวิตของมนุษย์ให้ดีขึ้น (ระบุ) ♥ ก่อให้เกิดคุณค่าทางจิตใจ (ระบุ) ฯลฯ
  • 73. 4. ขอบเขตของโครงการวิจัย มีขอบเขตดังนี้ 4.1ขอบเขตของสถานที่ทาการวิจัย (place) ........................................................................................................... 4.2 ขอบเขตของประชากรที่ศึกษา (people) ........................................................................................................... 4.3ขอบเขตของเนื้อหาสาระที่ศึกษา (variable) ........................................................................................................... 4.4 ขอบเขตของเวลา (Time) ........................................................................................................... เหตุผลที่กาหนดขอบเขตเช่นนี้เพราะ ..........................................................................................................
  • 74. 5. นิยามศัพท์เฉพาะ ให้ความหมายของคาศัพท์เฉพาะบางคาที่นามาใช้ในการวิจัย เป็นคาที่คนส่วนน้อยรู้ หรือเป็นคาที่มีความหมายหลายอย่าง ก็ต้อง ให้การนิยามไว้ว่าการวิจัยครั้งนี้ต้องการในความหมายใดและอย่างไร และสิ่งที่ผู้วิจัยต้องระลึกและจาไว้เสมอว่าการให้ความหมายของ คาศัพท์ในนิยามศัพท์เฉพาะนั้นต้องมีความสอดคล้องกับชื่อเรื่อง วิจัย ขอบเขตด้านเนื้อหาและแบบสอบถาม
  • 75. บทที่ 2 : แนวความคิด ทฤษฎี และงานวัยที่เกี่ยวข้อง 1. แนวความคิด 2. ทฤษฎี 3. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 4. กรอบแนวความคิดในการวิจัย 5. สมมติฐานในการวิจัย 6. นิยามปฏิบัติการ
  • 76. บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 1. แนวคิด - เรื่องที่ทาวิจัยมีผู้รู้หรือ ปราชญ์ ให้แนวคิดว่าอย่างไร บ้างในเรื่องที่กาลังศึกษา 2. ทฤษฎี - มีทฤษฎีอะไรบ้างที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยที่กาลังศึกษา อยู่ ผู้วิจัยใช้ทฤษฎีของใครในการศึกษา เพราะเหตุใด
  • 77. 3. เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เป็นการนาผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องสอดคล้องกับชื่อเรื่องที่จะ วิจัยซึ่งมีคนอื่นทาไว้แล้วมาวิเคราะห์และวิจารณ์ เพื่อช่วยให้ผู้อ่าน เข้าใจภูมิหลังของพัฒนาการในการแก้ปัญหานี้ตั้งแต่อดีตจนถึง ปัจจุบันว่ามีความสัมพันธ์กับเรื่องที่จะทาวิจัยอย่างไร มีอะไรบ้างที่ เห็นด้วยและไม่เห็นด้วย รวมทั้งผลงานวิจัยทีมีอยู่แล้วเหล่านั้น มี จุดอ่อนอะไรบ้าง มีส่วนใดอีกบ้างที่ยังไม่ได้ทาวิจัย น่าจะได้ทาให้ สมบูรณ์
  • 78. ผู้วิจัยจึงต้องพยายามเรียบเรียงแนวความคิดของตนเอง ที่ได้จากการอ่านงานวิจัยที่เกี่ยวข้องนี้ให้เป็นเนื้อเดียวและต่อเนื่อง สอดคล้องสัมพันธ์กับเรื่องที่จะทาวิจัย เป็นลาดับตามขั้นตอนของ เหตุผล ทั้งนี้จะช่วยทาให้เห็นความสาคัญและความจาเป็นที่จะต้อง ทาวิจัยเรื่องนั้นยิ่งขึ้น ผู้วิจัยต้องระลึกและจาไว้เสมอว่าการเขียนงานวิจัยในบทที่ 2 นี้ ต้องเว้นการเขียนโดยยกงานวิจัยของแต่ละคนมาอ้างเป็ นตอน ๆ โดยไม่ต่อเนื่อง
  • 79. วิธีการเขียน 1. วรรณกรรมที่นามาทบทวนหรืออ้างถึงนั้นต้องสัมพันธ์กับงานวิจัยที่ กาลังดาเนินอยู่ ไม่ควรเขียนรวมถึงทุกสิ่งทุกอย่างที่ผู้วิจัยได้อ่านมา 2. แต่ละงานวิจัยที่สาคัญที่นามาทบทวนอาจอภิปรายทีละเรื่องในแต่ละ ย่อหน้า บอกวัตถุประสงค์ของการศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย กลุ่ม ตัวอย่าง ผลการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ถ้างานวิจัยนั้นสาคัญน้อยอาจอ้างแต่ตัด รายละเอียดออกบ้าง
  • 80. 3. ถ้ามีงานวิจัยที่ผ่านมาหลายเรื่องที่ศึกษาปัญหาเดียวกัน ในแง่มุมที่คล้ายคลึงกัน อาจนามาทบทวนรวมกันในย่อหน้า เดียวกัน เช่น นาย ก, นาย ข, นาย ค และ นาย ง ได้ศึกษาถึง เรื่อง...............และสรุปผลออกมาเป็นกลุ่มมากกว่าแยกจากกัน 4. ควรเขียนทบทวนวรรณกรรมที่ได้มีการรวบรวม และสังเคราะห์ศึกษาเรื่องนี้มาอย่างดี เลือกเฉพาะที่เป็นจุดเด่น ที่ทบทวนวรรณกรรมในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาที่ดาเนินอยู่ 5. เรียบเรียงสาระสาคัญเป็นขั้นเป็นตอน ตั้งแต่ผลงานวิจัย ที่มาก่อนจนถึงปัจจุบัน ยังขาดอะไรอยู่ มีจุดอ่อนอะไรบ้าง มีความแตกต่างกันอย่างไร 6. ควรเขียนให้ลักษณะที่นามาใช้ได้อนาคต ซึ่งนามาใช้ในการ อภิปรายผลการวิจัย
  • 81. สรุป เนื้อหาที่เขียนควรมีลักษณะดังนี้ 1 นาเสนอทฤษฎี หลักการ บทความ แนวความคิด ที่เกี่ยวข้องกับตัวแปรที่จะศึกษา 2. นาเสนอผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับตัวแปรที่จะศึกษาว่ามีข้อค้นพบ อะไรบ้าง 3. เขียนในลักษณะย่อใจความเป็นภาษาของผู้วิจัยให้เชื่อมโยงต่อกัน ตลอดทั้งเรื่อง 4. วิเคราะห์ให้เห็นความต่อเนื่องหรือความขัดแย้งของแนวคิดทฤษฎีที่ เกี่ยวข้องที่นามาเสนอ 5. สังเคราะห์แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องและนาเสนอเป็นกรอบแนวคิด หรือรูปแบบการวิจัย
  • 82. 4. กรอบแนวคิดการวิจัย ให้จัดทากรอบแนวความคิดในการวิจัย ในรูปของแผนภูมิ (Chart) 5. สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า กล่าวถึงสมมุติฐานคาดคะเนผลการวิจัยไว้ล่วงหน้าว่าจะ ได้ผลอย่างไร พร้อมทั้งมีแนวความคิดทางทฤษฎีสนับสนุนเป็ น เหตุผลว่า ทาไมจึงตั้งสมมุติฐานไว้อย่างนั้น และสมมุติฐานที่ตั้งไว้ มีข้อตกลงเบื้องต้นอย่างไร ผู้วิจัยต้องกล่าวไว้ให้ชัดเจน
  • 83. สมมุติฐานการวิจัย ♠เป็นส่วนที่คาดคะเนผลหรือการตอบปัญหาวิจัยโดยอาศัย ทฤษฎีงานวิจัยอื่น ๆ หรืออาศัยเหตุผล (rational approach) ♠การเขียน 1. การเขียนเป็นข้อความสมบูรณ์ที่แสดงความสัมพันธ์ เชิงเหตุผล ระหว่างตัวแปร (2 ตัวหรือมากกว่า) 2. ความสัมพันธ์ที่กาหนดควรมีทิศทางชัดเจน 3. เขียนโดยมีทฤษฎี หรืองานวิจัยรองรับ 4. ครอบคลุมและสอดคล้องกับความมุ่งหมายและปัญหาวิจัย 5. ใช้ถ้อยคาที่คงเส้นคงวา 6.อย่าใช้คาที่แสดงถึงความไม่แน่ใจ หรือความคิดเห็น
  • 84. 6. นิยามปฏิบัติการ คานิยามปฏิบัติการ เป็นคานิยาม ที่กาหนดความหมายให้แก่ ตัวแปรโดยการระบุกิจกรรม หรือการดาเนินงาน ที่จาเป็ นต่อ การวัดตัวแปร คานิยามปฏิบัติการ เปรียบเสมือนคู่มือหรือคาสั่ง สาหรับผู้วิจัย ในการวัด ตัวแปร เช่น คน คือ สิ่งมีชีวิตที่มีขนาดมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า มีศีรษะ ตั้งตรง มีตาอยู่ใต้คิ้ว จมูกอยู่ใต้ตา ถัดลงมาจากจมูกเป็นปาก มีหูสอง ข้างอยู่ด้านข้างของศีรษะ มีแขนสองแขนติดกับลาตัวด้านข้างและมี ขาสองขาติดอยู่บริเวณด้านล่างของลาตัว
  • 86. 8. การเก็บรวบรวมข้อมูล 8.1 วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล 8.2 ระยะเวลาการเก็บข้อมูล 9. การประมวลผลและการวิเคราะห์ข้อมูล 9.1 วิธีการประมวลผลข้อมูล 9.2 สถิติที่ใช้ 9.3 วิธีการนาเสนอ
  • 87. บทที่ 3 ระเบียบการวิจัย 1. วิธีวิจัย การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบ (เช่น การวิจัยเชิงสารวจ ฯลฯ) 2.หน่วยที่ใช้ในการวิเคราะห์ (Unit of analysis) คือใคร ...................................................................................... 3. ประชากร (Population) ประชากรที่ศึกษามีจานวนเท่าใด อยู่ที่ไหนบ้าง
  • 88. 4. กลุ่มตัวอย่าง 4.1 ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง(SAMPLE SIZE) N = 1+N(D ) N = POPULATION D = ความคลาดเคลื่อนของตัวอย่าง N = ขนาดของตัวอย่าง 4.2 วิธีการสุ่มตัวอย่าง อธิบายวิธีการสุ่มตัวอย่างว่ามีขั้นตอนอะไรบ้าง 5. พื้นที่ที่ใช้ในการวิจัย (พื้นที่เก็บข้อมูลอยู่ที่ไหนบ้าง)
  • 89. 6. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 6.1 ใช้เครื่องมืออะไรในการเก็บข้อมูล เช่น แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ 6.2 รายละเอียดเนื้อหาของเครื่องมือ มีอะไรบ้าง - ข้อมูลทั่วไป - ข้อมูลตัวแปรอิสระแต่ละตัว - ข้อมูลตัวแปรตาม 6.3 วิธีการสร้างเครื่องมือ มีวิธีการสร้างเครื่องมืออย่างไร 6.4 การทดสอบเครื่องมือ - การหาความตรงตามเนื้อหา (CONTENT VALIDITY) - ความเชื่อมั่น (RELIABILITY)
  • 90. 7. การวัดค่าตัวแปร 7.1 วิธีการวัดค่าตัวแปรอิสระ มีวิธีการวัดตัวแปรอิสระแต่ละ ตัวต้องวัดอย่างไร 7.2 วิธีการวัดค่าตัวแปรตาม มีวิธีการวัดตัวแปรตามวัด อย่างไร 8. การเก็บรวบรวมข้อมูล 8.1 มีวิธีการเก็บข้อมูลอย่างไร 8.2 ระยะเวลาในการเก็บข้อมูลจากเดือนไหนถึงเดือนไหน
  • 91. 9. การประมวลผลและการวิเคราะห์ข้อมูล 9.1 มีวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลอย่างไร 9.2 ใช้สถิติอะไรในการวิเคราะห์เพื่อตอบวัตถุประสงค์และ สมมุติฐานที่ตั้งไว้ 9.3 มีวิธีการนาเสนอข้อมูลแบบไหนบ้าง