SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
Download to read offline
1

                                                             กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทยาศาสตร์
                                                                                   ิ
                                                                   ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑
สาระที่ ๑ สิ่ งมีชีวตกับกระบวนการดารงชีวต
                    ิ                        ิ
มาตรฐาน ว ๑. ๑ เข้ าใจหน่ วยพืนฐานของสิ่ งมีชีวต ความสั มพันธ์ ของโครงสร้ าง และหน้ าที่ของระบบต่ างๆ
                                       ้              ิ
                      ของ สิ่ งมีชีวตทีทางานสั มพันธ์ กน มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู้ สื่ อสารสิ่ งทีเ่ รี ยนรู้ และนาความรู้ ไปใช้ ในการดารงชี วตของตนเองและ
                                      ิ ่               ั                                                                                        ิ
                      ดูแลสิ่ งมีชีวต
                                    ิ

วิเคราะตัวชี้วด
              ั

                                                                                                                               คุณลักษณะ      คุณลักษณะ
                                                                                                               สมรรถนะ
     ตัวชี้วด
            ั                        รู้ อะไร ทาอะไรได้                         ภาระงาน/ชิ้นงาน                                ตามลักษณะ          อันพึง
                                                                                                                สาคัญ
                                                                                                                                   ของวิชา       ประสงค์
๑. สังเกตและ               เซลล์ของสิ่ งมีชีวตเซลล์เดียว และเซลล์ของ
                                             ิ                         - บันทึกผลการสังเกต                   1.การสื่ อสาร     การตั้ง       1. ซื่อสัตย์
   อธิ บายรู ปร่ าง   สิ่ งมีชีวตหลายเซลล์
                                ิ                                      - ผังความคิด สรุ ปองค์ความรู้         2. การคิด         คาถาม         สุ จริ ต
   ลักษณะของ               สังเกต ตั้งคาถาม ตั้งสมมติฐาน วางแผนการ     เกี่ยวกับเซลล์พืช เซลล์สัตว์สืบค้น
   เซลล์ของสิ่ ง      สารวจ สารวจ รวบรวม จัดกระทา วิเคราะห์                                                  3.ไฝ่ เรี ยนรู้   ตั้งคาถาม     2. มีวนยิ ั
                                                                       ข้อมูล สารวจ รวบรวมข้อมูล
   มีชีวตเซลล์
        ิ             บันทึกผลการสังเกต นาเสนอผลการสังเกตและ           - วางแผนการทดลอง                      4. มุ่งมันใน
                                                                                                                       ่       สังเกตและ     3. ใฝ่ เรี ยนรู้
   เดียวและเซลล์      อธิ บายรู ปร่ างและลักษณะของเซลล์สิ่งมีชีวต ิ    - รายงานผลการทดลองเรื่ องการใช้       การทา             สารวจ         4. มุ่งมันใน
                                                                                                                                                        ่
   ของสิ่ งมีชีวติ    เซลล์เดียวและหลายเซลล์                                                                                   รวบรวม        การทางาน
   หลายเซลล์                                                           กล้องจุลทรรศน์
                                                                       - รายงานผลการทดลอง เรื่ อง ศึกษา                        นาเสนอ
                                                                       เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
                                                                        - ทาแบบทดสอบ
2

                                                                                                                คุณลักษณะ      คุณลักษณะ
                                                                                                สมรรถนะ
     ตัวชี้วด
            ั                    รู้ อะไร ทาอะไรได้                       ภาระงาน/ชิ้นงาน                       ตามลักษณะ          อันพึง
                                                                                                 สาคัญ
                                                                                                                    ของวิชา       ประสงค์
๒.สังเกตและ                นิวเคลียส ไซโทพลาซึม และเยือหุมเซลล์
                                                      ่ ้          - อภิปราย ตั้งคาถาม        1.การสื่ อสาร     การตั้ง       1. ซื่อสัตย์
  เปรี ยบเทียบ     เป็ นส่ วนประกอบสาคัญของเซลล์ที่เหมือนกัน       - สื บค้นข้อมูล บันทึกผล   2. การคิด         คาถาม         สุ จริ ต
  ส่ วนประกอบ      ของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ผนังเซลล์และคลอ         - บัน
  สาคัญของ         โรพลาสต์ เป็ นส่ วนประกอบ ที่พบได้ในเซลล์       - ทาใบงานที่ 2             3.ไฝ่ เรี ยนรู้   ตั้งคาถาม     2. มีวนยิ ั
  เซลล์พืชและ      พืช                                                                        4. มุ่งมันใน
                                                                                                        ่       สังเกตและ     3. ใฝ่ เรี ยนรู้
  เซลล์สัตว์               สังเกต ตั้งคาถาม วางแผนการสารวจข้อมูล                              การทา             สารวจ         4. มุ่งมันใน
                                                                                                                                         ่
                   สารวจ รวบรวม จัดกระทา วิเคราะห์ บันทึก                                                       รวบรวม        การทางาน
                   แสดงผล และเปรี ยบเทียบส่ วนประกอบสาคัญ
                   ของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์                                                                     นาเสนอ
๓. ทดลองและ             นิวเคลียส ไซโทพลาซึม เยือหุมเซลล์ แวคิว
                                                 ่ ้               - อภิปราย ตั้งคาถาม        1.การสื่ อสาร     การตั้ง       1. ซื่อสัตย์
   อธิบายหน้าที่   โอล เป็ นส่ วนประกอบที่สาคัญของเซลล์สัตว์       - สื บค้นข้อมูล บันทึกผล   2. การคิด         คาถาม         สุ จริ ต
   ของ             มีหน้าที่แตกต่างกัน                             - บัน
   ส่ วนประกอบ          นิวเคลียส ไซโทพลาซึม เยือหุมเซลล์
                                                  ่ ้              - ทาใบงานที่ 3-4           3.ไฝ่ เรี ยนรู้   ตั้งคาถาม     2. มีวนยิ ั
   ที่สาคัญของ     แวคิวโอล ผนังเซลล์และครอโรพลาสต์เป็ น                                      4. มุ่งมันใน
                                                                                                        ่       สังเกตและ     3. ใฝ่ เรี ยนรู้
   เซลล์พืชและ     ส่ วนประกอบที่สาคัญของเซลล์พืช มีหน้าที่                                   การทา             สารวจ         4. มุ่งมันใน
                                                                                                                                         ่
   เซลล์สัตว์      แตกต่างกัน                                                                                   รวบรวม        การทางาน
                        สังเกต ตั้งคาถาม ตั้งสมมติฐาน วางแผน
                   การทดลอง ทดลอง รวบรวม จัดกระทา                                                               นาเสนอ
                   วิเคราะห์ บันทึกผล สรุ ป และสร้างแบบจาลอง
                   หรื อแผนภาพอธิ บายหน้าที่แต่ละส่ วนประกอบ
                   ของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ นาเสนอผลงาน
1


                                           แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 1
   สาระการเรี ยนรู้ วิทยาศาสตร์                                                          ชั้ นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
   ชื่อวิชา วิทยาศาสตร์                                                                  รหัสวิชา ว 21101
   เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์                                                    จานวน 4 ชัวโมง ่
   ************************************************************************************
          มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่ งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้ าง และหน้าที่ของระบบ
                                           ั
ต่างๆ ของสิ่ งมีชีวตที่ทางานสัมพันธ์กน มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู ้ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนาความรู ้ไปใช้
                          ิ
ในการดารงชีวตของตนเองและดูแลสิ่ งมีชีวต
                      ิ                            ิ
          ตัวชี้วด  ั
          ว 1.1 ม.1/1 สังเกตและอธิ บายรู ปร่ าง ลักษณะของเซลล์ของสิ่ งมีชีวตเซลล์เดียว และ
                                                                               ิ
เซลล์ของสิ่ งมีชีวตหลายเซลล์
                        ิ
          ว 1.1 ม.1/2 สังเกตและเปรี ยบเทียบส่ วนประกอบสาคัญของเซลล์พืชและเซลล์สตว์            ั
          ว 1.1 ม. 1/3 ทดลองและอธิ บายหน้าที่ของส่ วนประกอบที่สาคัญของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์
          มาตรฐาน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และจิ ตวิทยาศาสตร์ ในการสื บเสาะหาความรู้ การ
                ่
แก้ปัญหา รู ้ วาปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิ ดขึ้นส่ วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิ บายและตรวจสอบ
ได้ ภายใต้ขอมูลและเครื่ องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่ งแวดล้อมมี
              ้
ความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กน    ั
          ตัวชี้วดั
          ว 8.1 ม.1/8 บันทึกและอธิบายผลการสังเกต การสารวจตรวจสอบค้นคว้าเพิ่มเติมจาก
แหล่ ง ความรู ้ ต่าง ๆ ให้ไ ด้ข ้อมู ล ที่เชื่ อถื อได้ และยอมรับ การเปลี่ ยนแปลงความรู้ ที่ ค้นพบเมื่ อมี ขอมูล และ
                                                                                                            ้
ประจักษ์พยานใหม่เพิ่มขึ้นหรื อโต้แย้งจากเดิม
สาระการเรี ยนรู้
          เซลล์ของสิ่ งมีชีวตเซลล์เดียว และเซลล์ของ สิ่ งมีชีวตหลายเซลล์ เช่น เซลล์พืช และเซลล์สตว์มีรูปร่ าง
                              ิ                                   ิ                                       ั
ลักษณะแตกต่างกัน
          นิวเคลียส ไซโทพลาซึ ม และเยือหุ มเซลล์ เป็ นส่ วนประกอบสาคัญของเซลล์ท่ีเหมือนกันของเซลล์พืช
                                               ่ ้
และเซลล์สัตว์
          ผนังเซลล์และคลอโรพลาสต์ เป็ นส่ วนประกอบ ที่พบได้ในเซลล์พืช
นิวเคลียส ไซโทพลาซึ ม เยือหุ มเซลล์ แวคิวโอล เป็ นส่ วนประกอบที่สาคัญของเซลล์สัตว์ มีหน้าที่แตกต่างกัน
                                ่ ้
2

       นิวเคลียส ไซโทพลาซึม เยือหุมเซลล์ แวคิวโอล ผนังเซลล์ และคลอโรพลาสต์ เป็ นส่ วนประกอบที่
                                ่ ้
สาคัญของเซลล์พืช มีหน้าที่แตกต่างกัน

       ทักษะ/กระบวนการ
              1. ใช้กระบวนการวิจยในการเรี ยนรู้
                                ั
              2. ใช้ทกษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
                     ั

       คุณลักษณะอันพึงประสงค์
              1. ซื่อสัตย์สุจริ ต
              2. มีวนย
                     ิ ั
              3. ใฝ่ เรี ยนรู้
              4. มุ่งมันในการทางาน
                         ่

เปาหมาย/จุดเน้ นของโรงเรี ยน
  ้

       นักเรี ยนสามารถเรี ยนรู้โดยใช้กระบวนการวิจย
                                                 ั

ภาระงาน/ชิ้นงาน
       1. การตั้งคาถาม(ลักษณะของเซลล์ของสิ่ งมีชีวตเซลล์เดียว และ เซลล์ของสิ่ งมีชีวตหลายเซลล์)
                                                  ิ                                 ิ
       2. การวางแผนการค้นหาคาตอบ ตามคาถามที่ต้ งไว้ ั
       3. การค้นหาคาตอบโดยการใช้ทกษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
                                             ั
       4. จัดทาแผนผังความคิดเซลล์พืชและเซลล์สัตว์
       5. สรุ ปผลการศึกษา/นาเสนอผลงาน
กิจกรรมการเรียนรู้
       ขั้นที่ 1 ขั้นตั้งคาถาม (ชั่วโมงที่ 1-2 )
       1. กระตุนความสนใจของนักเรี ยนโดยการนาภาพ และวิดิทศน์ มาให้นกเรี ยนดู
                 ้                                           ั        ั
3

        วิดิทศน์
             ั




         2. แบ่งกลุ่มให้นกเรี ยนช่วยกันตั้งคาถามเพื่อหาว่าภาพที่เห็นคืออะไร
                           ั
         3. ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มสรุ ปคาถาม นาคาถาม ซึ่ งคาดว่าจะนาไปสู่ การค้นหาคาตอบได้มาเขียนสรุ ป
                 ั
คาถามของแต่ละกลุ่ม
         4. นักเรี ยนคิดว่า การศึกษาโครงสร้างของสิ่ งมีชีวตขนาดเล็ก ที่เป็ นพืช และ สัตว์ จะศึกษา
                                                              ิ
ได้อย่างไร
         5. นักเรี ยนคิดว่าหน่วยที่เล็กที่สุดของสิ่ งมีชีวตมีขนาดเท่าใด สามารถมองดูดวยตาเปล่าได้หรื อไม่
                                                          ิ                         ้
นักเรี ยนสามารถนาอุปกรณ์ชนิดใดมาช่วยในการมองดูได้บาง            ้

ขั้นที่ 2 ขั้นเตรียมการค้ นหาคาตอบ (ชั่วโมงที่ 3 )
           1. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มนาคาถามจากครั้งก่อนมาร่ วมกันค้นหาคาตอบโดยศึกษาใบความรู้ และดูวดิโอ ครู ิ
กระตุนให้นกเรี ยนออกแบบการค้นหาคาตอบ
        ้      ั
           2. นักเรี ยนคิดว่า การศึกษาโครงสร้างของสิ่ งมีชีวตขนาดเล็ก ที่เป็ นพืช และ สัตว์ จะศึกษาได้อย่างไร
                                                                ิ
           3. นักเรี ยนคิดว่าหน่วยที่เล็กที่สุดของสิ่ งมีชีวตมีขนาดเท่าใด สามารถมองดูดวยตาเปล่าได้หรื อไม่
                                                            ิ                         ้
นักเรี ยนสามารถนาอุปกรณ์ชนิดใดมาช่วยในการมองดูได้บาง              ้
           4. นักเรี ยนแต่ละกลุ่ม ร่ วมกันศึกษาใบกิจกรรมที่ 1 และร่ วมกันอภิปราย ตั้งปั ญหา ตั้งสมมติฐาน วาง
แผนการทดลอง
4

        5. ครู แนะนาวิธีการทาสไลด์สด จากเยือหอม และบอกข้อควรระวังในการทดลองและการสังเกตผลการ
                                           ่
ทดลอง

ขั้นที่ 3 ขั้นดาเนินการค้ นหาและตรวจสอบคาตอบ (ชั่วโมงที่ 4 - 5)

         1. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มทาการทดลองตามใบกิจกรรมที่ 2 เรื่ อง ส่ วนประกอบของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์
โดยครู เน้นย้าเรื่ อง การใช้กล้องจุลทรรศน์
         2. นักเรี ยนแต่ละกลุ่ม ร่ วมกันอภิปรายผลการทดลอง เกี่ยวกับภาพของเยือหอม สาหร่ ายหางกระรอก
                                                                                   ่
และเยือบุขางแก้ม ว่ามีความเหมือนหรื อแตกต่างกันอย่างไร
      ่ ้
         3. ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มศึกษาใบความรู ้ที่ 3 เกี่ยวกับ หน้าที่ของส่ วนประกอบของเซลล์พชและเซลล์
                   ั                                                                          ื
สัตว์
         4. นักเรี ยนแต่ละกลุ่ม วาดภาพเซลล์พืช และเซลล์สัตว์ที่ได้จากการทดลอง และแสดงส่ วนประกอบ
หน้าที่ของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์

ขั้นที่ 4 ขั้นสรุ ปและนาเสนอผลการค้ นหาคาตอบ (ชั่วโมงที่ 4)

            1. นักเรี ยนแต่ละกลุ่ม นาภาพวาดนาเสนอหน้าชั้นเรี ยน พร้อมทั้งอธิ บายถึงรู ปร่ าง ลักษณะของ
สิ่ งมีชีวตเซลล์เดียวและสิ่ งมีชีวตหลายเซลล์ หน้าที่ และส่ วนประกอบของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์
          ิ                        ิ
            2. นักเรี ยนแต่ละกลุ่ม ร่ วมกันอภิปราย ข้อแตกต่างระหว่าง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
            3. นักเรี ยนและครู ร่วมกันอภิปราย หน้าที่ของส่ วนประกอบที่สาคัญของเซลล์พชและ     ื
เซลล์สัตว์
            4. นักเรี ยนแต่ละกลุ่ม ศึกษาค้นคว้า เกี่ยวกับ รู ปร่ าง หน้าที่ และส่ วนประกอบที่สาคัญ
ของเซลล์พืชและเซลล์สตว์ เพิ่มเติม จากห้องสมุดโรงเรี ยน ห้องสมุดกลุ่มสาระ วิทยาศาสตร์ หรื อห้องศูนย์
                            ั
อินเตอร์เน็ต
            5. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลการค้นคว้า จากแหล่งเรี ยนรู ้ มานาเสนอหน้าชั้นเรี ยน
            6. ครู ชมเชยนักเรี ยน กลุ่มที่รับผิดชอบ งานที่ได้รับมอบหมาย และทางานเสร็ จตามกาหนด พร้อมทั้ง
แนะนากลุ่มที่ขาดความรับผิดชอบ
            7. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มประเมินชิ้นงาน ภาพวาดของแต่ละกลุ่ม โดยร่ วมกันตั้งเกณฑ์ เกี่ยวกับลักษณะ
รู ปร่ างเซลล์ หน้าที่ ส่ วนประกอบ ความถูกต้องของเนื้ อหา
            8. นักเรี ยนทาใบกิจกรรมที่ 2 เรื่ อง หน้าที่ส่วนประกอบของเซลล์
5

         9. นักเรี ยนทาใบกิจกรรมที่ 3 เรื่ อง แผนผังความคิดเซลล์พืชและเซลล์สัตว์
         10. นักเรี ยนทาแบบทดสอบหลังเรี ยน เรื่ อง โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์

สื่ อและอุปกรณ์
          1. ภาพปริ ศนา
          2. กล้องจุลทรรศน์
          3. วิดิโอ (ในภาคผนวก)
          4. ใบความรู้ที่ 1 เรื่ อง สิ่ งมีชีวต
                                              ิ   2 เรื่ องกล้องจุลทรรศน์ 3 เรื่ อง เซลล์พืช เซลล์สัตว์
          5. ใบกิจกรรมที่ 1 - 3
การวัดและประเมินผล
          วิธีการวัดและประเมิน
               รายการประเมิน                              วิธีการประเมิน                  เครื่องมือประเมิน
1. ด้ านความรู้                                     - ทดสอบ                        - แบบทดสอบ
การสารวจ การสังเกตส่ วนประกอบที่                    - ตรวจใบงาน                    - ใบงาน
สาคัญของเซลล์พืช และเซลล์สัตว์
 การสื บค้นข้อมูล และการอภิปราย
เกี่ยวกับ ลักษณะและรู ปร่ าง ของเซลล์ต่าง
ๆ ของสิ่ งมีชีวตเซลล์เดียว กับสิ่ งมีชีวต
                ิ                         ิ
หลายเซลล์ หน้าที่ของส่ วนประกอบของ
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
2. ด้ านทักษะกระบวนการ                              -การตั้ งคาถาม การ             -แบบสังเกตพฤติกรรมการ
1.ใช้กระบวนการวิจยในการเรี ยนรู้
                      ั                             เตรี ยมการค้นหาคาตอบ           เรี ยนรู้โดยใช้กระบวนการวิจย
                                                                                                              ั
2.ใช้ทกษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
        ั                                           การค้นหาคาตอบและตรวจ           -แบบสังเกตพฤติกรรมการ
                                                    คาตอบ การสรุ ปและ              เรี ยนรู้โดยใช้ทกษะกระบวนการ
                                                                                                   ั
                                                    นาเสนอ                         ทางวิทยาศาสตร์
3. ด้ านคุณลักษณะ
ใฝ่ เรี ยนรู้                                       -การสังเกตพฤติกรรม             - แบบสังเกตพฤติกรรม
6

                                                           บันทึกการเรียนรู้ เรื่องเซลล์ จาก VCD
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
7
                                                     ใบความรู้ ที่ 1
                                              เรื่อง เซลล์ของสิ่ งมีชีวต
                                                                       ิ


                                                            ่
           การศึกษาลักษณะและรู ปร่ างของเซลล์ตางๆ ของสิ่ งมีชีวตพบว่า สิ่ งมีชีวตที่มีเซลล์เพียงเซลล์เดียว
                                                                        ิ            ิ
เรี ยกว่า สิ่ งมีชีวตเซลล์เดียว ได้แก่ อะมีบา พารามีเซี ยม ยูกลีนา ฟาคัส ส่ วนสิ่ งมีชีวตที่ประกอบขึ้นจากเซลล์
                    ิ                                                                   ิ
หลายเซลล์รวมกันเป็ นรู ปร่ าง เรี ยกว่า สิ่ งมีชีวตหลายเซลล์ ได้แก่ พืช สัตว์
                                                      ิ
           เซลล์ของสิ่ งมีชีวตประกอบด้วยส่ วนห่อหุ มเซลล์ นิวเคลียส ไซโทพลาซึ ม เซลล์พืชมีส่วนที่ห่อหุ มเซลล์
                                   ิ                          ้                                            ้
2 ชั้น คือ ผนังเซลล์ (cell wall) เยือหุมเซลล์ (cell membrane) และ คลอโรพลาสต์
                                               ่ ้
                                 ่
(Chloroplast) ที่อยูในไซโทพลาซึ ม (Cytoplasm) ส่ วนเซลล์สัตว์ประกอบด้วย เยือหุมเซลล์ (cell       ่ ้
membrane) ไซโทพลาซึม (Cytoplasm) และนิวเคลียส (nucleus)
           เซลล์ คือหน่วยที่เล็กที่สุดของสิ่ งมีชีวต มีส่วนประกอบพื้นฐานที่สาคัญของสิ่ งมีชีวต เซลล์ของสิ่ งมีชีวต
                                                        ิ                                      ิ                 ิ
อาจมีรูปร่ างและส่ วนประกอบแตกต่างกันเพื่อความเหมาะสมกับการทาหน้าที่
           ผูคนพบเซลล์เป็ นคนแรก คือ โรเบิร์ต ฮูก (Robert Hook) เป็ นชาวอังกฤษ พบโครงร่ างที่เป็ นรู ป
               ้้
เหลี่ยมจากการศึกษาชิ้นไม้คอร์ ก และตั้งชื่ อว่า เซลล์ ต่อมา ชไลเดน (Schleiden) และชวาน (Schwann)
ได้ต้ งทฤษฏีเซลล์ (Cell Theory) มีใจความว่า “ สิ่ งมีชีวตทั้งหลายประกอบด้วยเซลล์และผลิตภัณฑ์ของ
       ั                                                            ิ
เซลล์ ”
           ส่ วนประกอบและหน้ าที่ของเซลล์พช         ื
              เซลล์พช (Plant cell) มีส่วนประกอบ 3 ส่ วน มีหน้าที่ต่างๆ ดังนี้
                      ื
                        1. ส่ วนที่ห่อหุ้มเซลล์ ประกอบด้วย
                              1.1 เยือหุมเซลล์ (cell membrane) เป็ นเยื่อบางๆ เหนี่ยว ประกอบด้วย
                                     ่ ้
สารประเภทไขมันและโปรตีน มีสมบัติเป็ น เยือเลือกผ่าน (semipermeable membrane) ทาหน้าที่
                                                          ่
ควบคุมปริ มาณและชนิ ดของสารที่ผานเข้าออกจากเซลล์ เช่น อาหาร อากาศ และสารละลายเกลือแร่ ต่างๆ
                                             ่
                                                                ่ ้
                            1.2 ผนังเซลล์ (cell wall) อยูดานนอกสุ ดของเซลล์ พบเฉพาะเซลล์พชเท่านั้น ทา
                                                                                                  ื
                                                                      ่
หน้าที่เสริ มสร้างความแข็งแรงของเซลล์ ทาให้เซลล์พืชคงรู ปอยูได้ ประกอบด้วยเซลล์ลูโลส
                        2.นิวเคลียส (nucleus) เป็ นส่ วนประกอบที่สาคัญของเซลล์ มีลกษณะค่อนข้างกลมภายใน
                                                                                          ั
ของเหลวมีนิวคลีโอลัสและโครมาทิน ทาหน้าที่ควบคุมการทางานของเซลล์ และกิจกรรมต่างๆ ภายในเซลล์
เช่น การหายใจ การบ่งเซลล์ การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุ กรรม
                        3. ไซโทพลาซึม (cytoplasm) เป็ นของเหลวภายในเยื่อหุมเซลล์ ยกเว้น นิวเคลียส มี
                                                                                   ้
ส่ วนประกอบที่สาคัญ เช่น โปรตีน ไขมัน และแก๊สต่างๆ ภายในไซโทพลาซึ มประด้วยออร์ แกเนลล์ต่างๆ ซึ่ งมี
รู ปร่ างลักษณะแตกต่างกัน ได้แก่
8



                       3.1 ไรโบโซม (ribosome) ทาหน้าที่เป็ นแหล่งสังเคราะห์โปรตีน
                       3.2 เอนโดพลาสมิกเรติคูลม (endoplasmic reticulum) ทาหน้าที่สร้างและ
                                              ั
ขนส่ งโปรตีน
                          3.3 กอลจิบอดี้ (Golgi body) ทาหน้าที่ขนส่ งโปรตีนออกนอกเซลล์
                          3.4 คลอโรพลาสต์ (Chloroplast) ประกอบด้วยเยือหุ ้มเซลล์ 2 ชั้น
                                                                              ่
                                           ่
ชั้นนอกทาหน้าที่ควบคุมโมเลกุลต่างๆ ที่ผานเข้าออก ชั้นในมีคลอโรฟิ ลล์ (chlorophyll) และเอนไซม์
ช่วยในกระบวนการสังเคราะห์ดวยแสง     ้
                          3.5 ไมโทคอนเดรี ย (mitochondria) ทาหน้าที่สร้างพลังงาน
                          3.6 แวคิวโอล (vacuole) ลักษณะเป็ นถุงใส ทาหน้าที่เก็บสะสมของเสี ยก่อนถูกขับ
ออกนอกเซลล์
                  ส่ วนประกอบและหน้ าที่ของเซลล์สัตว์
                  เซลล์สัตว์ (Animal cell) มีส่วนประกอบ 3 ส่ วน มีหน้าที่ต่างๆ ดังนี้
                                                                            ่
                          1. เยือหุมเซลล์ (cell membrane) เป็ นส่ วนที่อยูนอกสุ ดของเซลล์ประกอบด้วย
                                 ่ ้
โปรตีนและไขมัน
                                                   ่
                          2. มีลกษณะค่อนข้างกลม อยูตรงกลางเซลล์ เป็ นศูนย์กลางควบคุมกิจกรรมภายใน
                                  ั
เซลล์ ภายในนิวเคลียสบรรจุดวยสารควบคุมพันธุ กรรม แต่มีเซลล์บางชนิดเมื่อเจริ ญเติบโตเต็มที่ไม่มีนิวเคลียส
                               ้
เช่น เซลล์เม็ดเลือดแดง
                                                                          ่
                          3. ไซโทพลาซึม (cytoplasm) เป็ นของเหลวที่อยูระหว่างเยือหุ มเซลล์กบ
                                                                                  ่ ้         ั
นิวเคลียส ประกอบด้วยออร์ แกเนลล์หลายชนิด ยกเว้น คลอโรพลาสต์ ซึ่ งพบในเซลล์พืชเท่านั้น เซลล์สัตว์ไม่มี
ผนังเซลล์ และคลอโรพลาสต์ ฉะนั้นเซลล์สัตว์จึงอ่อนนุ่มและไม่สามารถสร้างอาหารเองได้




                          ตารางแสดงข้อแตกต่างระหว่างเซลล์พชและเซลล์สัตว์
                                                          ื

           รายการ                          เซลล์พืช                         เซลล์สัตว์
9

1. ผนังเซลล์                       มี                                 ไม่มี
2.เยือหุมเซลล์
     ่ ้                           มี                                 มี
3. นิวเคลียส                       มี                                 มี
4. ไซโทพลาซึม                      มี                                 มี
5. คลอโรพลาสต์                     มี                                 ไม่มี
6.รู ปร่ างของเซลล์                รู ปเหลี่ยม                        รู ปค่อนข้างกลม
7. ความแข็งแรงของเซลล์                               ่
                                    แข็งแรง คงรู ปอยูได้นาน           อ่อนนุ่มไม่สามารถคงรู ปได้

          สิ่ งมีชีวตเซลล์เดียวมีการดาเนินกิจกรรมในการดารงชี วตเช่น การกินอาหาร การขับถ่าย การหายใจ การ
                    ิ                                         ิ
สื บพันธุ์ และการเคลื่อนที่ สิ่ งมีชีวตหลายเซลล์ ประกอบด้วย เซลล์ (cell) ที่มีการจัดเรี ยงตัวกันเป็ น เนือเยือ
                                      ิ                                                                  ้ ่
(tissue) หลายๆ เนื้อเยื่อจัดเรี ยงตัวกันเป็ น อวัยวะ (organ) หลายๆ อวัยวะจัดเรี ยงตัวกันเป็ น ระบบอวัยวะ
(organ system) หลายๆ ระบบอวัยวะจัดเรี ยงตัวกันเป็ น ร่ างกาย (body) ของสิ่ งมีชีวต         ิ
10

                                                    ใบความรู้ ที่ 2
                                              เรื่อง กล้ องจุลทรรศน์


กล้ องจุลทรรศน์
         พ.ศ. 2215 แอนโทนี แวน ลิวเวนฮุก ( Antonie van Leeuwenhoek ) ชาวดัตช์ เป็ นผูประดิษฐ์กล้อง
                                                                                            ้
จุลทรรศน์ชนิดเลนส์เดียว
         พ.ศ. 2208 รอเบิร์ต ฮุก ( Robert Hooke ) ชาวอังกฤษ เป็ นผูประดิษฐ์กล้องจุลทรรศน์ชนิดเลนส์
                                                                     ้
                                                                                                     ่
ประกอบ และใช้ตรวจดูแผ่นไม้คอร์ กที่ฝานบางๆ พบว่าประกอบด้วยช่องเล็กๆ คล้ายรังผึ้ง เรี ยกช่องนี้วา เซลล์
         กล้องจุลทรรศน์เป็ นเครื่ องมือที่ช่วยขยายขนาดของสิ่ งที่มีขนาดเล็กเกินกว่าที่จะมองเห็นได้ดวยตาเปล่า
                                                                                                   ้
เช่น เซลล์พช เซลล์สัตว์ เป็ นต้น กล้องจุลทรรศน์มีส่วนประกอบและวิธีใช้ดงนี้
            ื                                                                 ั

ส่ วนประกอบของกล้ องจุลทรรศน์
        1. ฐาน เป็ นส่ วนที่ใช้วางบนโต๊ะ และรองรับน้ าหนักของตัวกล้อง
         2. แขน เป็ นส่ วนที่เชื่ อมระหว่างตัวกล้องกับฐาน
        2. แท่นวางวัตถุ เป็ นแท่นสาหรับวางวัตถุหรื อสไลด์ มีช่องกลมอยูตรงกลางเพื่อให้แสงจาก
                                                                       ่
ด้านล่างส่ องผ่านขึ้นมาได้
                                            ่                                   ่ ั
        3. ที่หนีบสไลด์ เป็ นแผ่นโลหะอยูบนแท่นวางวัตถุ ทาหน้าที่หนีบสไลด์ให้อยูกบที่
        4. ลากล้อง เป็ นท่อเชื่ อมระหว่างเลนส์ใกล้ตากับเลนส์ใกล้วตถุ
                                                                 ั
        5. เลนส์ใกล้ตา เป็ นเลนส์นูน ทาหน้าที่ขยายภาพของวัตถุ สามารถถอดเปลี่ยนกาลังขยายได้
        6. เลนส์ใกล้วตถุ เป็ นเลนส์นูน ทาหน้าที่ขยายภาพของวัตถุให้เลนส์ใกล้ตา มีกาลังขยายให้
                        ั
เลือกได้ 3 ขนาด
        7. กระจกเงา เป็ นกระจกเว้า ทาหน้าที่สะท้อนแสงให้ส่องไปที่วตถุั
        8. ปุ่ มปรับภาพหยาบ สาหรับใช้หมุนหาภาพของวัตถุก่อนใช้ปุ่มปรับภาพละเอียด
        9. ปุ่ มปรับภาพละเอียด สาหรับใช้หมุนปรับภาพของวัตถุให้เห็นชัดเจนยิงขึ้น
                                                                           ่

วิธีการใช้กล้องจุลทรรศน์
        กล้องจุลทรรศน์มีความสาคัญมากสาหรับการทางานในห้องปฏิบติการทางวิทยาศาสตร์
                                                                 ั
และเนื่องจากเป็ นอุปกรณ์ท่ีมีส่วนประกอบและการใช้งานที่ซบซ้อน ดังนั้นจึงจาเป็ นต้องเรี ยนรู ้วธีการใช้และ
                                                       ั                                     ิ
ฝึ กฝนเพื่อให้เกิดทักษะที่ถูกต้องดังนี้
11

          1. วางตัวกล้องบนพื้นราบที่มีความแข็งแรงและมีแสงสว่างเพียงพอโดยให้ลากล้องตั้งตรง
          2. หมุนเลนส์ใกล้วตถุ โดยเลือกเลนส์ที่มีกาลังขยายต่าสุ ดมาใช้ก่อน
                             ั
          3. ปรับกระจกเงาใต้แท่นวางวัตถุให้แสงส่ องผ่านเข้าสู่ ลากล้องได้เต็มที่ โดยมองผ่านเลนสใกล้ตาจะ
เห็นวงกลมสว่างที่สุด
                                                                    ่
          4. วางแผ่นสไลด์ที่เตรี ยมไว้บนแท่นวางวัตถุ จัดวัตถุให้อยูตรงตาแหน่งที่มีแสงส่ องผ่านได้
 แล้วใช้ที่หนีบสไลด์จบแผ่นสไลด์ให้แน่น
                       ั
          5. หมุนปุ่ มปรับภาพหยาบจนเลนส์ใกล้วตถุเลื่อนลงมาต่าที่สุด โดยไม่ชนแผ่นสไลด์
                                                     ั
          6. มองผ่านเลนส์ใกล้ตาแล้วค่อยๆ หมุนปุ่ มปรับภาพหยาบเลื่อนขึ้นจนมองเห็นภาพของวัตถุ ปรากฏ
ขึ้นชัดเจนที่สุด แล้วจึงหมุนปุ่ มปรับภาพละเอียด ขณะนี้ อาจเลื่อนแผ่นสไลด์เพื่อ
                                            ่
ให้มองเห็นวัตถุในตาแหน่งที่เราสนใจอยูตรงกลางพอดี
          7. ถ้าต้องการขยายภาพให้มีขนาดใหญ่ข้ ึน ให้หมุนเลนส์ ใกล้วตถุท่ีมีกาลังขยายสู งมาแทนที่
                                                                       ั
 โดยไม่ตองเลื่อนแผ่นสไลด์ แล้วให้หมุนปุ่ มปรับภาพละเอียด เพื่อปรับภาพให้ชดเจนมาก
           ้                                                                     ั
 ขึ้น (ห้ามใช้ปุ่มปรับภาพหยาบ)
          8. บันทึกภาพที่เห็นภายใต้กล้องจุลทรรศน์ และระบุกาลังขยายที่ใช้
วิธีคานวณกาลังขยาย
          กาลังขยายของกล้อง = กาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา x กาลังขยายของเลนส์ใกล้วตถุ        ั
          เช่น            กาลังขยายของกล้อง = 10 x 40
                                                  = 400
          หมายความว่า ภาพที่มองเห็นจากกล้องจุลทรรศน์มีขนาดใหญ่กว่าวัตถุจริ ง 400 เท่า
ข้ อควรระวังในการใช้ กล้ องจุลทรรศน์
          กล้องจุลทรรศน์เป็ นเครื่ องมือที่มีราคาแพงและมีความซับซ้อนในการใช้งาน ผูใช้  ้
จึงต้องใช้อย่างระมัดระวังและรักษาความสะอาดอยูเ่ สมอ เพื่อไม่ให้เกิดความเสี ยหายและสามารถนาไปใช้งาน
ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ข้อควรระวังมีดงนี้
                                         ั
          1. การยกกล้องเพื่อเคลื่อนย้าย ให้ใช้มือหนึ่งจับที่แขนของกล้อง อีกมือหนึ่งใช้รองที่ใต้ฐาน ปรับให้ตรง
และยกกล้องในลักษณะตั้งตรง
          2. ขณะที่หมุนปรับภาพหยาบเพื่อเลื่อนเลนส์ใกล้วตถุลงใกล้แผ่นสไลด์ ให้คอยมองด้านข้างของเลนส์
                                                             ั
ใกล้วตถุไม่ให้ชนแผ่นสไลด์
       ั
          3. การมองภาพในกล้องจุลทรรศน์ควรลืมตาทั้ง 2 ข้าง
          4. การเช็ดเลนส์ให้ใช้กระดาษเช็ดเลนส์เท่านั้น
          5. การเก็บกล้องจุลทรรศน์เมื่อใช้งานเสร็ จแล้ว ควรปฏิบติดงนี้
                                                                  ั ั
12

5.1ใช้ผาแห้งนุ่มทาความสะอาดตัวกล้อง
         ้
5.2 เลื่อนที่หนีบสไลด์ให้ขนานกัน
                        ่
5.3 ปรับกระจกเงาให้อยูในแนวดิ่งตั้งฉากกับตัวกล้อง
                                                                          ่
5.4 หมุนเลนส์ใกล้วตถุท่ีมีกาลังขยายต่าสุ ดให้ตรงกับลากล้อง และเลื่อนให้อยูในระดับต่าที่สุด
                    ั
13

                                ใบความรู้ ที่ 3 เรื่อง เซลล์พช และเซลล์สัตว์
                                                             ื

          เซลล์ (Cell) คือ หน่วยที่เล็กที่สุดของสิ่ งมีชีวต
                                                          ิ
                                                                 ่
          เซลล์พช คือหน่วยที่เล็กที่สุดของพืช เซลล์มีอยูในทุกส่ วนของพืช อาจจะมีรูปร่ าง หน้าที่และ
                  ื
ส่ วนประกอบแตกต่างกันบ้าง แต่โดยทัวไปเซลล์มีส่วนประกอบดังนี้
                                            ่
          1. ผนังเซลล์ (cell wall) อยูนอกสุ ด พบเฉพาะในเซลล์พืชเท่านั้น ผนังเซลล์ช่วยเสริ มสร้างความแข็งแรง
                                        ่
ให้แก่เซลล์ ทาให้เซลล์พืชคงรู ปอยูได้ ส่ วนใหญ่เป็ นสารพวกเซลลูโลสซึ่ งสร้างมาจากน้ าตาล ผนังเซลล์มีช่อง
                                      ่
เล็กๆให้สารต่างๆเข้าออกได้
           2. เยือหุมเซลล์ (cell membrane) มีลกษณะเป็ นเยือบางๆ ซึ่งเป็ นสารประเภทโปรตีน
                 ่ ้                            ั                    ่
และไขมัน ทาหน้าที่ห่อหุ มไซโทพลาสซึ มให้รวมกันอยูได้ และทาหน้าที่ควบคุมปริ มาณและชนิดของสารที่
                            ้                                  ่
ผ่านเข้าออกจากเซลล์ เช่น น้ า อากาศ ของเสี ย เกลือแร่ และอื่นๆ
                                                                   ่
          3. ไซโทพลาซึม (cytoplasm) เป็ นของเหลวที่อยูรอบ ๆ นิวเคลียส ประกอบด้วยสารประกอบหลาย
ชนิด เช่น น้ าตาล โปรตีน ไขมัน คาร์ โบไฮเดรต และเกลือแร่ ชนิ ดต่างๆ ในไซโท พลาสซึ ม มีเม็ดสี เขียว เรี ยกว่า
คลอโรพลาสต์ (chloroplast) ซึ่ งภายในมีน้ าและโมเลกุลของสารสี เขียว เรี ยกว่า คลอโรฟิ ลล์ (chlorophy) ซึ่งใช้
ในการสังเคราะห์ดวยแสงของพืช
                     ้
          4. นิวเคลียส (Nucleus) มีลกษณะค่อนข้างกลม ทาหน้าที่ควบคุมการทางานของเซลล์ การเจริ ญเติบโต
                                          ั
และการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุ กรรมจากพ่อแม่ไปสู่ ลูกหลาน
                                                             ่
          เซลล์สัตว์ คือหน่วยที่เล็กที่สุดของสัตว์ ซึ่ งมีอยูในทุก ๆส่ วนของสัตว์ อาจจะมีรูปร่ าง ขนาดและ
ลักษณะแตกต่างกันออกไป ตามแต่ชนิดและหน้าที่ของเซลล์ เช่น เซลล์กล้ามเนื้อและเซลล์ประสาทมีลกษณะ            ั
เป็ นเส้นยาว เซลล์เม็ดเลือดแดงของกบมีลกษณะรี เป็ นรู ปไข่มีนิวเคลียสตรงกลาง แต่เซลล์เม็ดเลือดแดงของ
                                              ั
สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมมีลกษณะกลมและไม่มีนิวเคลียส
                         ั
14

 ส่ วนประกอบและหน้ าที่ของเซลล์สัตว์
            เซลล์สัตว์มีส่วนประกอบและหน้าที่ของเซลล์ดงนี้
                                                        ั
1. เยือหุ้มเซลล์ เป็ นส่ วนนอกสุ ดของเซลล์ ประกอบด้วยไขมันและโปรตีน
      ่
                                            ่
2. นิวเคลียส มีลกษณะค่อนข้างกลม อยูบริ เวณกลางเซลล์ เป็ นศูนย์กลางควบคุมกิจกรรมภายในเซลล์ ใน
                      ั
นิวเคลียสบรรจุดวย สารควบคุมลักษณะทางพันธุ กรรม ในเซลล์บางชนิดที่เจริ ญเติบโตเต็มที่แล้ว อาจไม่มี
                    ้
นิวเคลียส เช่น เซลล์เม็ดเลือดแดงของคน เป็ นต้น
                                    ่
3. ไซโทพลาซึม เป็ นส่ วนที่อยูระหว่างเยื่อหุ มเซลล์ กับนิ วเคลียส ซึ่ งไม่พบคลอโรพลาสต์ เหมือนใน เซลล์พืช
                                                ้
            เซลล์สัตว์ก็เช่นเดียวกับเซลล์พืช คือ ประกอบด้วยส่ วนที่เป็ นนิวเคลียสและไซโทพลาซึ มแต่ในไซ
โทพลาซึ มของเซลล์สัตว์ไม่มีคลอโรพลาสต์ จึงเป็ นเหตุผลหนึ่งที่สัตว์สร้างอาหารเองไม่ได้ นอกจากนี้ เซลล์
สัตว์ยงต่างจากเซลล์พืชอีกประการหนึ่งคือ เซลล์สัตว์ไม่มีผนังเซลล์ (cell wall)
        ั
มีแต่เยือหุมเซลล์ (cell membranc) ล้อมรอบไซโทพลาซึ มเท่านั้น
          ่ ้
15

                                ใบกิจกรรมที่ 1

                สรุ ปคาถามของสมาชิกในกลุ่มที่...........


………………………………………………
                                                    …………………………………
………………………………………………
                                                    …………………………………
……………………………………………..
                                                    …………………………………
                                                    ….



…………………………………………                                           ………………………………………
…………………………………………                                           ………………………………………
………………………………………..                                          ……………………….




                                              ………………………………………………
   ……………………………………
                                              ………………………………………………
   ……………………………………
                                              ……………………………………………..
   ……………………………….




                     ชื่อสมาชิกในกลุ่ม
    …………………………………………………………………………………………………………
    …………………………………………………………………………………………………………
    …………………………………………………………………………………………………………
    ………
16

ใบกิจกรรมที่ 2
                               เรื่อง ส่ วนประกอบของเซลล์พชและเซลล์สัตว์
                                                                ื
        สิ่ งมีชีวตทุกชนิดประกอบด้วยหน่วยที่เล็กที่สุดเรี ยกว่า เซลล์ พืชและสัตว์คือสิ่ งมีชีวตที่เกิดขึ้นจาก
                  ิ                                                                           ิ
เซลล์แต่ละเซลล์มาเชื่อมต่อกันเป็ นจานวนหลายล้านเซลล์ เซลล์จึงเป็ นหน่วยย่อยขนาดเล็กที่มีการดาเนิน
กิจกรรมต่าง ๆ ภายในเซลล์

ขั้นตั้งคาถาม
          1. นักเรี ยนคิดว่าเซลล์พชและเซลล์สัตว์ มีรูปร่ างลักษณะเป็ นอย่างไร
                                   ื
          2. นักเรี ยนคิดว่าเซลล์พชและเซลล์สัตว์มีส่วนประกอบที่เหมือนกัน หรื อแตกต่างกันอย่างไร
                                     ื
          3. ประเด็นปั ญหาคืออะไร
          …………………………………………………………………………………………………
          …………………………………………………………………………………………………
          …………………………………………………………………………………………………
ขั้นเตรียมการค้ นหาคาตอบ
          1. นักเรี ยนร่ วมกันตั้งสมมติฐาน
          2. นักเรี ยนและครู ร่วมกันวางแผนออกแบบการทดลอง
          3. ครู ให้คาแนะนาวิธีการทดลองเพิ่มเติม พร้อมทั้งชี้ แนะข้อควรระวังในการทดลอง

ขั้นดาเนินการค้ นหาคาตอบและตรวจสอบคาตอบ
         1. ศึกษาเซลล์ของเยือหอม
                             ่
         หยดน้ าลงบนสไลด์ 1-2 หยด ให้พอท่วม
         1.1 ลอกเยือด้านในของกลีบหัวหอม วางลงบนหยดน้ า และปิ ดด้วยกระจกปิ ดสไลด์ระวังอย่า
                    ่
ให้มีฟองอากาศ
         1.2 ย้อมสี โดยหยดสารละลายไอโอดีน 1 หยด
         1.3 นาไปตรวจดูดวยกล้องจุลทรรศน์ โดยใช้เลนส์ใกล้วตถุกาลังขยายต่าและกาลังขยายสู ง
                           ้                             ั
ตามลาดับ วาดรู ป และชี้ส่วนประกอบของเซลล์ลงในตารางบันทึกผลการทดลอง
         2. ศึกษาเซลล์ของสาหร่ ายหางกระรอก โดยนาใบอ่อนบริ เวณยอดอ่อนมาวางบนหยดน้ าบนสไลด์ ปิ ด
ทับด้วยกระจกปิ ดสไลด์ และดาเนินการเช่นเดียวกับข้อ 1.3
         3. ศึกษาเซลล์เยือบุขางแก้ม
                         ่ ้
         3.1 หยดสารละลายโซเดียมคลอไรด์ ลงบนสไลด์ 1 หยด
17

         3.2 ใช้ปลายไม้จิ้มฟันด้านป้ านจุ่ม เอทิลแอลกอฮอล์ 70% ทิ้งให้แห้งสักครู่ นาไปขูดเบา ๆ
ที่ผวเยือบุขางแก้มในปาก และนามาเกลี่ยให้กระจายบนสไลด์
    ิ ่ ้
         3.3 ดาเนินการเช่นเดียวกับ ข้อ 1.3

อุปกรณ์ที่ใช้ในกิจกรรมนี้มีอะไรบ้าง
       1…………………………………………………………………………………………………
       2…………………………………………………………………………………………………
       3…………………………………………………………………………………………………

ตารางบันทึกผลการทดลอง
        เซลล์ทนามาศึกษา
              ี่                             ภาพของเซลล์                        ส่ วนประกอบทีพบ
                                                                                             ่
1. เยือหอม
      ่

2. สาหร่ ายหางกระรอก

3. เยือบุขางแก้ม
      ่ ้



สรุ ปผลการทดลองและการคิดวิเคราะห์
         …………………………………………………………………………………………………
          …………………………………………………………………………………………………
          …………………………………………………………………………………………………
คาถามท้ายการทดลองและการคิดวิเคราะห์
1. นักเรี ยนสังเกต เซลล์สาหร่ ายหางกระรอกมีลกษณะแตกต่างจากเซลล์เยือบุขางแก้มอย่างไร
                                                 ั                       ่ ้
2. เซลล์พืชมีรูปร่ างแตกต่างจากเซลล์สัตว์อย่างไร
3. ส่ วนประกอบใดบ้างที่พบในเซลล์พืชแต่ไม่พบในเซลล์สัตว์
ขั้นสรุ ปและนาเสนอผลการค้ นหาคาตอบ
         1. นักเรี ยนแต่ละกลุ่ม นาภาพวาดนาเสนอหน้าชั้นเรี ยน พร้อมทั้งอธิ บายถึงรู ปร่ าง ลักษณะ หน้าที่ และ
ส่ วนประกอบของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์
         2. นักเรี ยนแต่ละกลุ่ม ร่ วมกันอภิปราย ข้อแตกต่างระหว่าง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
18

          3. นักเรี ยนและครู ร่วมกันอภิปราย หน้าที่ของส่ วนประกอบที่สาคัญของเซลล์พชและ     ื
เซลล์สัตว์
          4. นักเรี ยนแต่ละกลุ่ม ศึกษาค้นคว้า เกี่ยวกับ รู ปร่ าง หน้าที่ และส่ วนประกอบที่สาคัญ
ของเซลล์พืชและเซลล์สตว์ เพิมเติม จากห้องสมุดโรงเรี ยน ห้องสมุดกลุ่มสาระ วิทยาศาสตร์ หรื อห้องศูนย์
                          ั      ่
อินเตอร์เน็ต
          5. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลการค้นคว้า จากแหล่งเรี ยนรู ้ มานาเสนอหน้าชั้นเรี ยน
          6. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มประเมินชิ้นงาน ภาพวาดของแต่ละกลุ่ม โดยร่ วมกันตั้งเกณฑ์
เกี่ยวกับ ลักษณะ รู ปร่ างเซลล์ หน้าที่ ส่ วนประกอบ ความถูกต้องของเนื้อหา
19

                                                   ใบกิจกรรมที่ 3
                                      เรื่อง หน้ าที่และส่ วนประกอบของเซลล์
คาชี้แจง นักเรี ยนร่ วมกันอภิปรายในกลุ่ม เพื่อตอบคาถามต่อไปนี้
                                                                                 ่
        1. นักเรี ยนคิดว่าเยื่อหุ มเซลล์มีคุณสมบัติอย่างไร จึงทาให้สารเคลื่อนที่ผานไปได้หรื อผ่าน
                                  ้
ไป ไม่ได้ นักเรี ยนมีวธีการทดลองอย่างไร
                       ิ
        2. เซลล์โดยทัวไปจะมีโครงสร้างพื้นฐานเป็ นอย่างไร จงอธิ บายพร้อมวาดภาพประกอบ
                         ่
        3. นักเรี ยนคิดว่ารู ปร่ างของเซลล์มีความสัมพันธ์ กับการทาหน้าที่ของเซลล์น้ นหรื อไม่
                                                                                       ั
อย่างไร จงอธิบาย พร้อมยกตัวอย่างประกอบ
        4. ถ้านักเรี ยนอยากทราบว่า รู ปร่ างลักษณะของสิ่ งมีชีวตเซลล์เดียวและสิ่ งสิ่ งมีชีวตหลายเซลล์มี
                                                                 ิ                          ิ
ลักษณะเหมือนหรื อต่างกันอย่างไร นักเรี ยนจะมีวธีการอย่างไร
                                                      ิ
20

                                           ใบกิจกรรมที่ 4
                             เรื่องแผนผังความคิด เซลล์พืช และเซลล์สัตว์

          ให้นกเรี ยนเขียนแผนผังความคิด ของเซลล์พช และ เซลล์สัตว์ เพื่อบอกถึงส่ วนประกอบและหน้าที่
              ั                                  ื
ของเซลล์พืชและเซลล์สตว์ ตามความคิดของนักเรี ยน ตกแต่งระบายสี ให้สวยงาม
                      ั
21



เกณฑ์ การให้ คะแนนผลงานหรือชิ้นงาน

                                                               นาหนักคะแนน (คุณภาพ)
                                                                ้
      ชิ้นงาน
                                     ๔                         ๓                        ๒                       ๑
๑. สรุ ปองค์ความรู ้   ๑. สรุ ปส่วนประกอบของ      ๑. สรุ ปส่วนประกอบ        ๑. สรุ ปส่วนประกอบ      ๑. สรุ ปส่วนประกอบ
เกี่ยวกับเซลล์         เซลล์พืชและหน้าที่ได้ครบ   และหน้าที่ของเซลล์พืช และหน้าที่ของเซลล์พืช       และหน้าที่ของเซลล์พืช
                       ทุกรายการ                  และเซลล์สตว์ ไม่ครบ ๒ และเซลล์สตว์ ไม่ครบ
                                                             ั                          ั           และเซลล์สตว์ ไม่ครบ
                                                                                                                ั
                       ๒. สรุ ปเกี่ยวกับ          รายการ                    ๓-๔ รายการ              มากกว่า ๔ รายการ
                       ส่วนประกอบของเซลล์         ๒. เขียนผังความคิด        ๒. เขียนผังความคิด      ๒. เขียนผังความคิด
                       สัตว์และหน้าที่ได้ครบทุก     - จัดวางองค์ประกอบ         - จัดวางองค์ประกอบ     - จัดวางองค์ประกอบ
                       รายการ                     ไม่ได้สดส่วน ๑-๒
                                                          ั                 ไม่ได้สดส่วน ๓-๔
                                                                                    ั               ไม่ได้สดส่วนตั้งแต่ ๕
                                                                                                            ั
                       ๓. เขียนผังความคิด         ตาแหน่ง                   ตาแหน่ง                 ตาแหน่ง
                         - จัดวางองค์ประกอบได้      - สะอาดหรื อความ           - ไม่ค่อยสะอาด มี      - ไม่สะอาด และไม่
                       เหมาะสมกับพื้นที่          สวยงามค่อนข้างดี          ร่ องรอยให้เห็นสะอาด    เป็ นระเบียบ
                         - สะอาดดี                                          พอสมควร
                         - สวยงามเป็ นระเบียบ
๒. การเขียน            ๑. รู ปแบบถูกต้อง       ถูกต้องตามเกณฑ์ที่ระบุ      ถูกต้องตามเกณฑ์ที่ระบุ ถูกต้องตามเกณฑ์ที่ระบุ
รายงานผลการ            ๒. เขียนจุดประสงค์ได้   ในน้ าหนักคะแนน ๔           ในน้ าหนักคะแนน ๔      ในน้ าหนักคะแนน ๔
ทดลอง                  ถูกต้อง                 ๖ รายการ                    ๕ รายการ               ต่ากว่า ๕ รายการ
                       ๓. มีการระบุตาแหน่งได้
                       ถูกต้อง
                       ๔. เขียนวิธีการทดลองได้
                       ถูกต้องชัดเจน
                       ๕. มีภาพประกอบการ
                       ทดลอง
                       ๖. บันทึกผลการทดลองได้
                       เหมาะสม
                       ๗. วิเคราะห์และสรุ ปได้
                       ถูกต้อง
22

                               แบบทดสอบ เรื่องเซลล์พชและเซลล์สัตว์
                                                    ื

คาสั่ ง : ให้นกเรี ยนบอกความแตกต่างของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ (อธิบายพอสังเขป)
              ั

                       ตารางเปรียบเทียบความแตกต่ างของเซลล์พชและเซลล์สัตว์
                                                            ื

            รายการ                 เซลล์พช
                                         ื                              เซลล์สัตว์

รู ปร่ าง

ผนังเซลล์

คลอโรพลาสต์

เซนทริ โอล

แวคคิวโอล

ไลโซโซม
23

ให้ ผ้ ูเรี ยนเติมส่ วนประกอบของเซลล์ ลงในช่ องว่ างและบอกหน้ าที่ของส่ วนประกอบต่ างๆ ให้ ถูกต้ อง

                                  1.

                                 2.




                                 3.
                                                                                 5.
                                                         4.




                ส่ วนประกอบที่                                         หน้าที่
1.
2.
3.
4.
5.
24


                                                           บันทึกการเรียนรู้ เรื่องเซลล์ จาก VCD
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................. …………
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................. …………
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................. …………
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................. …………
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................. …………
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................. …………
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................. …………
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................. …………
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................. …………
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................. …………
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์

More Related Content

What's hot

Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีrewat Chitthaing
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...Prachoom Rangkasikorn
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58renusaowiang
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้นTik Msr
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)kroofon fon
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์โทโต๊ะ บินไกล
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศKhwankamon Changwiriya
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...Prachoom Rangkasikorn
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5Wuttipong Tubkrathok
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์Aomiko Wipaporn
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465YingZaa TK
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมTa Lattapol
 
ข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่างข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่างkrupeak
 

What's hot (20)

แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้น
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
 
ข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่างข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่าง
 

Similar to แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์

Science1 110904043128-phpapp01
Science1 110904043128-phpapp01Science1 110904043128-phpapp01
Science1 110904043128-phpapp01korakate
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1korakate
 
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1krujaew77
 
Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01korakate
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2korakate
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3korakate
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3korakate
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตcivicton
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตcivicton
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตcivicton
 
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...Kobwit Piriyawat
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5supphawan
 
โครงงานงานคอม (2)
โครงงานงานคอม (2)โครงงานงานคอม (2)
โครงงานงานคอม (2)Onin Goh
 
ตารางกำหนดการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ว 11101
ตารางกำหนดการจัดการเรียนรู้  กลุ่มสาระการเรียนรู้  วิทยาศาสตร์  ว 11101ตารางกำหนดการจัดการเรียนรู้  กลุ่มสาระการเรียนรู้  วิทยาศาสตร์  ว 11101
ตารางกำหนดการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ว 11101kooda112233
 
ตารางกำหนดการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ว 11101
ตารางกำหนดการจัดการเรียนรู้  กลุ่มสาระการเรียนรู้  วิทยาศาสตร์  ว 11101ตารางกำหนดการจัดการเรียนรู้  กลุ่มสาระการเรียนรู้  วิทยาศาสตร์  ว 11101
ตารางกำหนดการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ว 11101kooda112233
 
ตารางกำหนดการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ว 11101
ตารางกำหนดการจัดการเรียนรู้  กลุ่มสาระการเรียนรู้  วิทยาศาสตร์  ว 11101ตารางกำหนดการจัดการเรียนรู้  กลุ่มสาระการเรียนรู้  วิทยาศาสตร์  ว 11101
ตารางกำหนดการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ว 11101kooda112233
 
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1supphawan
 
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1supphawan
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนPew Juthiporn
 
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 3
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 3ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 3
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 3Mam Chongruk
 

Similar to แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์ (20)

Science1 110904043128-phpapp01
Science1 110904043128-phpapp01Science1 110904043128-phpapp01
Science1 110904043128-phpapp01
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1
 
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
 
Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
 
โครงงานงานคอม (2)
โครงงานงานคอม (2)โครงงานงานคอม (2)
โครงงานงานคอม (2)
 
ตารางกำหนดการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ว 11101
ตารางกำหนดการจัดการเรียนรู้  กลุ่มสาระการเรียนรู้  วิทยาศาสตร์  ว 11101ตารางกำหนดการจัดการเรียนรู้  กลุ่มสาระการเรียนรู้  วิทยาศาสตร์  ว 11101
ตารางกำหนดการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ว 11101
 
ตารางกำหนดการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ว 11101
ตารางกำหนดการจัดการเรียนรู้  กลุ่มสาระการเรียนรู้  วิทยาศาสตร์  ว 11101ตารางกำหนดการจัดการเรียนรู้  กลุ่มสาระการเรียนรู้  วิทยาศาสตร์  ว 11101
ตารางกำหนดการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ว 11101
 
ตารางกำหนดการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ว 11101
ตารางกำหนดการจัดการเรียนรู้  กลุ่มสาระการเรียนรู้  วิทยาศาสตร์  ว 11101ตารางกำหนดการจัดการเรียนรู้  กลุ่มสาระการเรียนรู้  วิทยาศาสตร์  ว 11101
ตารางกำหนดการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ว 11101
 
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
 
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
 
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 3
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 3ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 3
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 3
 

More from korakate

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางkorakate
 
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมหลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมkorakate
 
P72808851751
P72808851751P72808851751
P72808851751korakate
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArt
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArtหน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArt
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArtkorakate
 
นิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญา
นิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญานิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญา
นิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญาkorakate
 
แจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกล
แจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกลแจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกล
แจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกลkorakate
 
Social Media Data
Social Media DataSocial Media Data
Social Media Datakorakate
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษาkorakate
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษาkorakate
 
Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02korakate
 
จำนวนครู
จำนวนครูจำนวนครู
จำนวนครูkorakate
 
จะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดีจะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดีkorakate
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์korakate
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์korakate
 
0 syllabus
0 syllabus0 syllabus
0 syllabuskorakate
 
Graphic design by gimp&inkscape
Graphic design by gimp&inkscapeGraphic design by gimp&inkscape
Graphic design by gimp&inkscapekorakate
 
Graphic design by gimp&inkscape
Graphic design by gimp&inkscapeGraphic design by gimp&inkscape
Graphic design by gimp&inkscapekorakate
 

More from korakate (20)

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
 
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมหลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
 
P72808851751
P72808851751P72808851751
P72808851751
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArt
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArtหน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArt
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArt
 
นิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญา
นิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญานิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญา
นิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญา
 
แจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกล
แจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกลแจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกล
แจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกล
 
Social Media Data
Social Media DataSocial Media Data
Social Media Data
 
Buriram1
Buriram1Buriram1
Buriram1
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
 
Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02
 
จำนวนครู
จำนวนครูจำนวนครู
จำนวนครู
 
จะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดีจะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดี
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
 
0 syllabus
0 syllabus0 syllabus
0 syllabus
 
Inkscape
InkscapeInkscape
Inkscape
 
Graphic design by gimp&inkscape
Graphic design by gimp&inkscapeGraphic design by gimp&inkscape
Graphic design by gimp&inkscape
 
Graphic design by gimp&inkscape
Graphic design by gimp&inkscapeGraphic design by gimp&inkscape
Graphic design by gimp&inkscape
 
Gimp11
Gimp11Gimp11
Gimp11
 

แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์

  • 1. 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทยาศาสตร์ ิ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑ สาระที่ ๑ สิ่ งมีชีวตกับกระบวนการดารงชีวต ิ ิ มาตรฐาน ว ๑. ๑ เข้ าใจหน่ วยพืนฐานของสิ่ งมีชีวต ความสั มพันธ์ ของโครงสร้ าง และหน้ าที่ของระบบต่ างๆ ้ ิ ของ สิ่ งมีชีวตทีทางานสั มพันธ์ กน มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู้ สื่ อสารสิ่ งทีเ่ รี ยนรู้ และนาความรู้ ไปใช้ ในการดารงชี วตของตนเองและ ิ ่ ั ิ ดูแลสิ่ งมีชีวต ิ วิเคราะตัวชี้วด ั คุณลักษณะ คุณลักษณะ สมรรถนะ ตัวชี้วด ั รู้ อะไร ทาอะไรได้ ภาระงาน/ชิ้นงาน ตามลักษณะ อันพึง สาคัญ ของวิชา ประสงค์ ๑. สังเกตและ เซลล์ของสิ่ งมีชีวตเซลล์เดียว และเซลล์ของ ิ - บันทึกผลการสังเกต 1.การสื่ อสาร การตั้ง 1. ซื่อสัตย์ อธิ บายรู ปร่ าง สิ่ งมีชีวตหลายเซลล์ ิ - ผังความคิด สรุ ปองค์ความรู้ 2. การคิด คาถาม สุ จริ ต ลักษณะของ สังเกต ตั้งคาถาม ตั้งสมมติฐาน วางแผนการ เกี่ยวกับเซลล์พืช เซลล์สัตว์สืบค้น เซลล์ของสิ่ ง สารวจ สารวจ รวบรวม จัดกระทา วิเคราะห์ 3.ไฝ่ เรี ยนรู้ ตั้งคาถาม 2. มีวนยิ ั ข้อมูล สารวจ รวบรวมข้อมูล มีชีวตเซลล์ ิ บันทึกผลการสังเกต นาเสนอผลการสังเกตและ - วางแผนการทดลอง 4. มุ่งมันใน ่ สังเกตและ 3. ใฝ่ เรี ยนรู้ เดียวและเซลล์ อธิ บายรู ปร่ างและลักษณะของเซลล์สิ่งมีชีวต ิ - รายงานผลการทดลองเรื่ องการใช้ การทา สารวจ 4. มุ่งมันใน ่ ของสิ่ งมีชีวติ เซลล์เดียวและหลายเซลล์ รวบรวม การทางาน หลายเซลล์ กล้องจุลทรรศน์ - รายงานผลการทดลอง เรื่ อง ศึกษา นาเสนอ เซลล์พืชและเซลล์สัตว์ - ทาแบบทดสอบ
  • 2. 2 คุณลักษณะ คุณลักษณะ สมรรถนะ ตัวชี้วด ั รู้ อะไร ทาอะไรได้ ภาระงาน/ชิ้นงาน ตามลักษณะ อันพึง สาคัญ ของวิชา ประสงค์ ๒.สังเกตและ นิวเคลียส ไซโทพลาซึม และเยือหุมเซลล์ ่ ้ - อภิปราย ตั้งคาถาม 1.การสื่ อสาร การตั้ง 1. ซื่อสัตย์ เปรี ยบเทียบ เป็ นส่ วนประกอบสาคัญของเซลล์ที่เหมือนกัน - สื บค้นข้อมูล บันทึกผล 2. การคิด คาถาม สุ จริ ต ส่ วนประกอบ ของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ผนังเซลล์และคลอ - บัน สาคัญของ โรพลาสต์ เป็ นส่ วนประกอบ ที่พบได้ในเซลล์ - ทาใบงานที่ 2 3.ไฝ่ เรี ยนรู้ ตั้งคาถาม 2. มีวนยิ ั เซลล์พืชและ พืช 4. มุ่งมันใน ่ สังเกตและ 3. ใฝ่ เรี ยนรู้ เซลล์สัตว์ สังเกต ตั้งคาถาม วางแผนการสารวจข้อมูล การทา สารวจ 4. มุ่งมันใน ่ สารวจ รวบรวม จัดกระทา วิเคราะห์ บันทึก รวบรวม การทางาน แสดงผล และเปรี ยบเทียบส่ วนประกอบสาคัญ ของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ นาเสนอ ๓. ทดลองและ นิวเคลียส ไซโทพลาซึม เยือหุมเซลล์ แวคิว ่ ้ - อภิปราย ตั้งคาถาม 1.การสื่ อสาร การตั้ง 1. ซื่อสัตย์ อธิบายหน้าที่ โอล เป็ นส่ วนประกอบที่สาคัญของเซลล์สัตว์ - สื บค้นข้อมูล บันทึกผล 2. การคิด คาถาม สุ จริ ต ของ มีหน้าที่แตกต่างกัน - บัน ส่ วนประกอบ นิวเคลียส ไซโทพลาซึม เยือหุมเซลล์ ่ ้ - ทาใบงานที่ 3-4 3.ไฝ่ เรี ยนรู้ ตั้งคาถาม 2. มีวนยิ ั ที่สาคัญของ แวคิวโอล ผนังเซลล์และครอโรพลาสต์เป็ น 4. มุ่งมันใน ่ สังเกตและ 3. ใฝ่ เรี ยนรู้ เซลล์พืชและ ส่ วนประกอบที่สาคัญของเซลล์พืช มีหน้าที่ การทา สารวจ 4. มุ่งมันใน ่ เซลล์สัตว์ แตกต่างกัน รวบรวม การทางาน สังเกต ตั้งคาถาม ตั้งสมมติฐาน วางแผน การทดลอง ทดลอง รวบรวม จัดกระทา นาเสนอ วิเคราะห์ บันทึกผล สรุ ป และสร้างแบบจาลอง หรื อแผนภาพอธิ บายหน้าที่แต่ละส่ วนประกอบ ของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ นาเสนอผลงาน
  • 3. 1 แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 1 สาระการเรี ยนรู้ วิทยาศาสตร์ ชั้ นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ชื่อวิชา วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว 21101 เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์ จานวน 4 ชัวโมง ่ ************************************************************************************ มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่ งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้ าง และหน้าที่ของระบบ ั ต่างๆ ของสิ่ งมีชีวตที่ทางานสัมพันธ์กน มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู ้ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนาความรู ้ไปใช้ ิ ในการดารงชีวตของตนเองและดูแลสิ่ งมีชีวต ิ ิ ตัวชี้วด ั ว 1.1 ม.1/1 สังเกตและอธิ บายรู ปร่ าง ลักษณะของเซลล์ของสิ่ งมีชีวตเซลล์เดียว และ ิ เซลล์ของสิ่ งมีชีวตหลายเซลล์ ิ ว 1.1 ม.1/2 สังเกตและเปรี ยบเทียบส่ วนประกอบสาคัญของเซลล์พืชและเซลล์สตว์ ั ว 1.1 ม. 1/3 ทดลองและอธิ บายหน้าที่ของส่ วนประกอบที่สาคัญของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ มาตรฐาน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และจิ ตวิทยาศาสตร์ ในการสื บเสาะหาความรู้ การ ่ แก้ปัญหา รู ้ วาปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิ ดขึ้นส่ วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิ บายและตรวจสอบ ได้ ภายใต้ขอมูลและเครื่ องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่ งแวดล้อมมี ้ ความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กน ั ตัวชี้วดั ว 8.1 ม.1/8 บันทึกและอธิบายผลการสังเกต การสารวจตรวจสอบค้นคว้าเพิ่มเติมจาก แหล่ ง ความรู ้ ต่าง ๆ ให้ไ ด้ข ้อมู ล ที่เชื่ อถื อได้ และยอมรับ การเปลี่ ยนแปลงความรู้ ที่ ค้นพบเมื่ อมี ขอมูล และ ้ ประจักษ์พยานใหม่เพิ่มขึ้นหรื อโต้แย้งจากเดิม สาระการเรี ยนรู้ เซลล์ของสิ่ งมีชีวตเซลล์เดียว และเซลล์ของ สิ่ งมีชีวตหลายเซลล์ เช่น เซลล์พืช และเซลล์สตว์มีรูปร่ าง ิ ิ ั ลักษณะแตกต่างกัน นิวเคลียส ไซโทพลาซึ ม และเยือหุ มเซลล์ เป็ นส่ วนประกอบสาคัญของเซลล์ท่ีเหมือนกันของเซลล์พืช ่ ้ และเซลล์สัตว์ ผนังเซลล์และคลอโรพลาสต์ เป็ นส่ วนประกอบ ที่พบได้ในเซลล์พืช นิวเคลียส ไซโทพลาซึ ม เยือหุ มเซลล์ แวคิวโอล เป็ นส่ วนประกอบที่สาคัญของเซลล์สัตว์ มีหน้าที่แตกต่างกัน ่ ้
  • 4. 2 นิวเคลียส ไซโทพลาซึม เยือหุมเซลล์ แวคิวโอล ผนังเซลล์ และคลอโรพลาสต์ เป็ นส่ วนประกอบที่ ่ ้ สาคัญของเซลล์พืช มีหน้าที่แตกต่างกัน ทักษะ/กระบวนการ 1. ใช้กระบวนการวิจยในการเรี ยนรู้ ั 2. ใช้ทกษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ั คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ซื่อสัตย์สุจริ ต 2. มีวนย ิ ั 3. ใฝ่ เรี ยนรู้ 4. มุ่งมันในการทางาน ่ เปาหมาย/จุดเน้ นของโรงเรี ยน ้ นักเรี ยนสามารถเรี ยนรู้โดยใช้กระบวนการวิจย ั ภาระงาน/ชิ้นงาน 1. การตั้งคาถาม(ลักษณะของเซลล์ของสิ่ งมีชีวตเซลล์เดียว และ เซลล์ของสิ่ งมีชีวตหลายเซลล์) ิ ิ 2. การวางแผนการค้นหาคาตอบ ตามคาถามที่ต้ งไว้ ั 3. การค้นหาคาตอบโดยการใช้ทกษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ั 4. จัดทาแผนผังความคิดเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ 5. สรุ ปผลการศึกษา/นาเสนอผลงาน กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 ขั้นตั้งคาถาม (ชั่วโมงที่ 1-2 ) 1. กระตุนความสนใจของนักเรี ยนโดยการนาภาพ และวิดิทศน์ มาให้นกเรี ยนดู ้ ั ั
  • 5. 3 วิดิทศน์ ั 2. แบ่งกลุ่มให้นกเรี ยนช่วยกันตั้งคาถามเพื่อหาว่าภาพที่เห็นคืออะไร ั 3. ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มสรุ ปคาถาม นาคาถาม ซึ่ งคาดว่าจะนาไปสู่ การค้นหาคาตอบได้มาเขียนสรุ ป ั คาถามของแต่ละกลุ่ม 4. นักเรี ยนคิดว่า การศึกษาโครงสร้างของสิ่ งมีชีวตขนาดเล็ก ที่เป็ นพืช และ สัตว์ จะศึกษา ิ ได้อย่างไร 5. นักเรี ยนคิดว่าหน่วยที่เล็กที่สุดของสิ่ งมีชีวตมีขนาดเท่าใด สามารถมองดูดวยตาเปล่าได้หรื อไม่ ิ ้ นักเรี ยนสามารถนาอุปกรณ์ชนิดใดมาช่วยในการมองดูได้บาง ้ ขั้นที่ 2 ขั้นเตรียมการค้ นหาคาตอบ (ชั่วโมงที่ 3 ) 1. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มนาคาถามจากครั้งก่อนมาร่ วมกันค้นหาคาตอบโดยศึกษาใบความรู้ และดูวดิโอ ครู ิ กระตุนให้นกเรี ยนออกแบบการค้นหาคาตอบ ้ ั 2. นักเรี ยนคิดว่า การศึกษาโครงสร้างของสิ่ งมีชีวตขนาดเล็ก ที่เป็ นพืช และ สัตว์ จะศึกษาได้อย่างไร ิ 3. นักเรี ยนคิดว่าหน่วยที่เล็กที่สุดของสิ่ งมีชีวตมีขนาดเท่าใด สามารถมองดูดวยตาเปล่าได้หรื อไม่ ิ ้ นักเรี ยนสามารถนาอุปกรณ์ชนิดใดมาช่วยในการมองดูได้บาง ้ 4. นักเรี ยนแต่ละกลุ่ม ร่ วมกันศึกษาใบกิจกรรมที่ 1 และร่ วมกันอภิปราย ตั้งปั ญหา ตั้งสมมติฐาน วาง แผนการทดลอง
  • 6. 4 5. ครู แนะนาวิธีการทาสไลด์สด จากเยือหอม และบอกข้อควรระวังในการทดลองและการสังเกตผลการ ่ ทดลอง ขั้นที่ 3 ขั้นดาเนินการค้ นหาและตรวจสอบคาตอบ (ชั่วโมงที่ 4 - 5) 1. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มทาการทดลองตามใบกิจกรรมที่ 2 เรื่ อง ส่ วนประกอบของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ โดยครู เน้นย้าเรื่ อง การใช้กล้องจุลทรรศน์ 2. นักเรี ยนแต่ละกลุ่ม ร่ วมกันอภิปรายผลการทดลอง เกี่ยวกับภาพของเยือหอม สาหร่ ายหางกระรอก ่ และเยือบุขางแก้ม ว่ามีความเหมือนหรื อแตกต่างกันอย่างไร ่ ้ 3. ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มศึกษาใบความรู ้ที่ 3 เกี่ยวกับ หน้าที่ของส่ วนประกอบของเซลล์พชและเซลล์ ั ื สัตว์ 4. นักเรี ยนแต่ละกลุ่ม วาดภาพเซลล์พืช และเซลล์สัตว์ที่ได้จากการทดลอง และแสดงส่ วนประกอบ หน้าที่ของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ ขั้นที่ 4 ขั้นสรุ ปและนาเสนอผลการค้ นหาคาตอบ (ชั่วโมงที่ 4) 1. นักเรี ยนแต่ละกลุ่ม นาภาพวาดนาเสนอหน้าชั้นเรี ยน พร้อมทั้งอธิ บายถึงรู ปร่ าง ลักษณะของ สิ่ งมีชีวตเซลล์เดียวและสิ่ งมีชีวตหลายเซลล์ หน้าที่ และส่ วนประกอบของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ ิ ิ 2. นักเรี ยนแต่ละกลุ่ม ร่ วมกันอภิปราย ข้อแตกต่างระหว่าง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์ 3. นักเรี ยนและครู ร่วมกันอภิปราย หน้าที่ของส่ วนประกอบที่สาคัญของเซลล์พชและ ื เซลล์สัตว์ 4. นักเรี ยนแต่ละกลุ่ม ศึกษาค้นคว้า เกี่ยวกับ รู ปร่ าง หน้าที่ และส่ วนประกอบที่สาคัญ ของเซลล์พืชและเซลล์สตว์ เพิ่มเติม จากห้องสมุดโรงเรี ยน ห้องสมุดกลุ่มสาระ วิทยาศาสตร์ หรื อห้องศูนย์ ั อินเตอร์เน็ต 5. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลการค้นคว้า จากแหล่งเรี ยนรู ้ มานาเสนอหน้าชั้นเรี ยน 6. ครู ชมเชยนักเรี ยน กลุ่มที่รับผิดชอบ งานที่ได้รับมอบหมาย และทางานเสร็ จตามกาหนด พร้อมทั้ง แนะนากลุ่มที่ขาดความรับผิดชอบ 7. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มประเมินชิ้นงาน ภาพวาดของแต่ละกลุ่ม โดยร่ วมกันตั้งเกณฑ์ เกี่ยวกับลักษณะ รู ปร่ างเซลล์ หน้าที่ ส่ วนประกอบ ความถูกต้องของเนื้ อหา 8. นักเรี ยนทาใบกิจกรรมที่ 2 เรื่ อง หน้าที่ส่วนประกอบของเซลล์
  • 7. 5 9. นักเรี ยนทาใบกิจกรรมที่ 3 เรื่ อง แผนผังความคิดเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ 10. นักเรี ยนทาแบบทดสอบหลังเรี ยน เรื่ อง โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์ สื่ อและอุปกรณ์ 1. ภาพปริ ศนา 2. กล้องจุลทรรศน์ 3. วิดิโอ (ในภาคผนวก) 4. ใบความรู้ที่ 1 เรื่ อง สิ่ งมีชีวต ิ 2 เรื่ องกล้องจุลทรรศน์ 3 เรื่ อง เซลล์พืช เซลล์สัตว์ 5. ใบกิจกรรมที่ 1 - 3 การวัดและประเมินผล วิธีการวัดและประเมิน รายการประเมิน วิธีการประเมิน เครื่องมือประเมิน 1. ด้ านความรู้ - ทดสอบ - แบบทดสอบ การสารวจ การสังเกตส่ วนประกอบที่ - ตรวจใบงาน - ใบงาน สาคัญของเซลล์พืช และเซลล์สัตว์ การสื บค้นข้อมูล และการอภิปราย เกี่ยวกับ ลักษณะและรู ปร่ าง ของเซลล์ต่าง ๆ ของสิ่ งมีชีวตเซลล์เดียว กับสิ่ งมีชีวต ิ ิ หลายเซลล์ หน้าที่ของส่ วนประกอบของ เซลล์พืชและเซลล์สัตว์ 2. ด้ านทักษะกระบวนการ -การตั้ งคาถาม การ -แบบสังเกตพฤติกรรมการ 1.ใช้กระบวนการวิจยในการเรี ยนรู้ ั เตรี ยมการค้นหาคาตอบ เรี ยนรู้โดยใช้กระบวนการวิจย ั 2.ใช้ทกษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ั การค้นหาคาตอบและตรวจ -แบบสังเกตพฤติกรรมการ คาตอบ การสรุ ปและ เรี ยนรู้โดยใช้ทกษะกระบวนการ ั นาเสนอ ทางวิทยาศาสตร์ 3. ด้ านคุณลักษณะ ใฝ่ เรี ยนรู้ -การสังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม
  • 8. 6 บันทึกการเรียนรู้ เรื่องเซลล์ จาก VCD ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................
  • 9. 7 ใบความรู้ ที่ 1 เรื่อง เซลล์ของสิ่ งมีชีวต ิ ่ การศึกษาลักษณะและรู ปร่ างของเซลล์ตางๆ ของสิ่ งมีชีวตพบว่า สิ่ งมีชีวตที่มีเซลล์เพียงเซลล์เดียว ิ ิ เรี ยกว่า สิ่ งมีชีวตเซลล์เดียว ได้แก่ อะมีบา พารามีเซี ยม ยูกลีนา ฟาคัส ส่ วนสิ่ งมีชีวตที่ประกอบขึ้นจากเซลล์ ิ ิ หลายเซลล์รวมกันเป็ นรู ปร่ าง เรี ยกว่า สิ่ งมีชีวตหลายเซลล์ ได้แก่ พืช สัตว์ ิ เซลล์ของสิ่ งมีชีวตประกอบด้วยส่ วนห่อหุ มเซลล์ นิวเคลียส ไซโทพลาซึ ม เซลล์พืชมีส่วนที่ห่อหุ มเซลล์ ิ ้ ้ 2 ชั้น คือ ผนังเซลล์ (cell wall) เยือหุมเซลล์ (cell membrane) และ คลอโรพลาสต์ ่ ้ ่ (Chloroplast) ที่อยูในไซโทพลาซึ ม (Cytoplasm) ส่ วนเซลล์สัตว์ประกอบด้วย เยือหุมเซลล์ (cell ่ ้ membrane) ไซโทพลาซึม (Cytoplasm) และนิวเคลียส (nucleus) เซลล์ คือหน่วยที่เล็กที่สุดของสิ่ งมีชีวต มีส่วนประกอบพื้นฐานที่สาคัญของสิ่ งมีชีวต เซลล์ของสิ่ งมีชีวต ิ ิ ิ อาจมีรูปร่ างและส่ วนประกอบแตกต่างกันเพื่อความเหมาะสมกับการทาหน้าที่ ผูคนพบเซลล์เป็ นคนแรก คือ โรเบิร์ต ฮูก (Robert Hook) เป็ นชาวอังกฤษ พบโครงร่ างที่เป็ นรู ป ้้ เหลี่ยมจากการศึกษาชิ้นไม้คอร์ ก และตั้งชื่ อว่า เซลล์ ต่อมา ชไลเดน (Schleiden) และชวาน (Schwann) ได้ต้ งทฤษฏีเซลล์ (Cell Theory) มีใจความว่า “ สิ่ งมีชีวตทั้งหลายประกอบด้วยเซลล์และผลิตภัณฑ์ของ ั ิ เซลล์ ” ส่ วนประกอบและหน้ าที่ของเซลล์พช ื เซลล์พช (Plant cell) มีส่วนประกอบ 3 ส่ วน มีหน้าที่ต่างๆ ดังนี้ ื 1. ส่ วนที่ห่อหุ้มเซลล์ ประกอบด้วย 1.1 เยือหุมเซลล์ (cell membrane) เป็ นเยื่อบางๆ เหนี่ยว ประกอบด้วย ่ ้ สารประเภทไขมันและโปรตีน มีสมบัติเป็ น เยือเลือกผ่าน (semipermeable membrane) ทาหน้าที่ ่ ควบคุมปริ มาณและชนิ ดของสารที่ผานเข้าออกจากเซลล์ เช่น อาหาร อากาศ และสารละลายเกลือแร่ ต่างๆ ่ ่ ้ 1.2 ผนังเซลล์ (cell wall) อยูดานนอกสุ ดของเซลล์ พบเฉพาะเซลล์พชเท่านั้น ทา ื ่ หน้าที่เสริ มสร้างความแข็งแรงของเซลล์ ทาให้เซลล์พืชคงรู ปอยูได้ ประกอบด้วยเซลล์ลูโลส 2.นิวเคลียส (nucleus) เป็ นส่ วนประกอบที่สาคัญของเซลล์ มีลกษณะค่อนข้างกลมภายใน ั ของเหลวมีนิวคลีโอลัสและโครมาทิน ทาหน้าที่ควบคุมการทางานของเซลล์ และกิจกรรมต่างๆ ภายในเซลล์ เช่น การหายใจ การบ่งเซลล์ การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุ กรรม 3. ไซโทพลาซึม (cytoplasm) เป็ นของเหลวภายในเยื่อหุมเซลล์ ยกเว้น นิวเคลียส มี ้ ส่ วนประกอบที่สาคัญ เช่น โปรตีน ไขมัน และแก๊สต่างๆ ภายในไซโทพลาซึ มประด้วยออร์ แกเนลล์ต่างๆ ซึ่ งมี รู ปร่ างลักษณะแตกต่างกัน ได้แก่
  • 10. 8 3.1 ไรโบโซม (ribosome) ทาหน้าที่เป็ นแหล่งสังเคราะห์โปรตีน 3.2 เอนโดพลาสมิกเรติคูลม (endoplasmic reticulum) ทาหน้าที่สร้างและ ั ขนส่ งโปรตีน 3.3 กอลจิบอดี้ (Golgi body) ทาหน้าที่ขนส่ งโปรตีนออกนอกเซลล์ 3.4 คลอโรพลาสต์ (Chloroplast) ประกอบด้วยเยือหุ ้มเซลล์ 2 ชั้น ่ ่ ชั้นนอกทาหน้าที่ควบคุมโมเลกุลต่างๆ ที่ผานเข้าออก ชั้นในมีคลอโรฟิ ลล์ (chlorophyll) และเอนไซม์ ช่วยในกระบวนการสังเคราะห์ดวยแสง ้ 3.5 ไมโทคอนเดรี ย (mitochondria) ทาหน้าที่สร้างพลังงาน 3.6 แวคิวโอล (vacuole) ลักษณะเป็ นถุงใส ทาหน้าที่เก็บสะสมของเสี ยก่อนถูกขับ ออกนอกเซลล์ ส่ วนประกอบและหน้ าที่ของเซลล์สัตว์ เซลล์สัตว์ (Animal cell) มีส่วนประกอบ 3 ส่ วน มีหน้าที่ต่างๆ ดังนี้ ่ 1. เยือหุมเซลล์ (cell membrane) เป็ นส่ วนที่อยูนอกสุ ดของเซลล์ประกอบด้วย ่ ้ โปรตีนและไขมัน ่ 2. มีลกษณะค่อนข้างกลม อยูตรงกลางเซลล์ เป็ นศูนย์กลางควบคุมกิจกรรมภายใน ั เซลล์ ภายในนิวเคลียสบรรจุดวยสารควบคุมพันธุ กรรม แต่มีเซลล์บางชนิดเมื่อเจริ ญเติบโตเต็มที่ไม่มีนิวเคลียส ้ เช่น เซลล์เม็ดเลือดแดง ่ 3. ไซโทพลาซึม (cytoplasm) เป็ นของเหลวที่อยูระหว่างเยือหุ มเซลล์กบ ่ ้ ั นิวเคลียส ประกอบด้วยออร์ แกเนลล์หลายชนิด ยกเว้น คลอโรพลาสต์ ซึ่ งพบในเซลล์พืชเท่านั้น เซลล์สัตว์ไม่มี ผนังเซลล์ และคลอโรพลาสต์ ฉะนั้นเซลล์สัตว์จึงอ่อนนุ่มและไม่สามารถสร้างอาหารเองได้ ตารางแสดงข้อแตกต่างระหว่างเซลล์พชและเซลล์สัตว์ ื รายการ เซลล์พืช เซลล์สัตว์
  • 11. 9 1. ผนังเซลล์ มี ไม่มี 2.เยือหุมเซลล์ ่ ้ มี มี 3. นิวเคลียส มี มี 4. ไซโทพลาซึม มี มี 5. คลอโรพลาสต์ มี ไม่มี 6.รู ปร่ างของเซลล์ รู ปเหลี่ยม รู ปค่อนข้างกลม 7. ความแข็งแรงของเซลล์ ่ แข็งแรง คงรู ปอยูได้นาน อ่อนนุ่มไม่สามารถคงรู ปได้ สิ่ งมีชีวตเซลล์เดียวมีการดาเนินกิจกรรมในการดารงชี วตเช่น การกินอาหาร การขับถ่าย การหายใจ การ ิ ิ สื บพันธุ์ และการเคลื่อนที่ สิ่ งมีชีวตหลายเซลล์ ประกอบด้วย เซลล์ (cell) ที่มีการจัดเรี ยงตัวกันเป็ น เนือเยือ ิ ้ ่ (tissue) หลายๆ เนื้อเยื่อจัดเรี ยงตัวกันเป็ น อวัยวะ (organ) หลายๆ อวัยวะจัดเรี ยงตัวกันเป็ น ระบบอวัยวะ (organ system) หลายๆ ระบบอวัยวะจัดเรี ยงตัวกันเป็ น ร่ างกาย (body) ของสิ่ งมีชีวต ิ
  • 12. 10 ใบความรู้ ที่ 2 เรื่อง กล้ องจุลทรรศน์ กล้ องจุลทรรศน์ พ.ศ. 2215 แอนโทนี แวน ลิวเวนฮุก ( Antonie van Leeuwenhoek ) ชาวดัตช์ เป็ นผูประดิษฐ์กล้อง ้ จุลทรรศน์ชนิดเลนส์เดียว พ.ศ. 2208 รอเบิร์ต ฮุก ( Robert Hooke ) ชาวอังกฤษ เป็ นผูประดิษฐ์กล้องจุลทรรศน์ชนิดเลนส์ ้ ่ ประกอบ และใช้ตรวจดูแผ่นไม้คอร์ กที่ฝานบางๆ พบว่าประกอบด้วยช่องเล็กๆ คล้ายรังผึ้ง เรี ยกช่องนี้วา เซลล์ กล้องจุลทรรศน์เป็ นเครื่ องมือที่ช่วยขยายขนาดของสิ่ งที่มีขนาดเล็กเกินกว่าที่จะมองเห็นได้ดวยตาเปล่า ้ เช่น เซลล์พช เซลล์สัตว์ เป็ นต้น กล้องจุลทรรศน์มีส่วนประกอบและวิธีใช้ดงนี้ ื ั ส่ วนประกอบของกล้ องจุลทรรศน์ 1. ฐาน เป็ นส่ วนที่ใช้วางบนโต๊ะ และรองรับน้ าหนักของตัวกล้อง 2. แขน เป็ นส่ วนที่เชื่ อมระหว่างตัวกล้องกับฐาน 2. แท่นวางวัตถุ เป็ นแท่นสาหรับวางวัตถุหรื อสไลด์ มีช่องกลมอยูตรงกลางเพื่อให้แสงจาก ่ ด้านล่างส่ องผ่านขึ้นมาได้ ่ ่ ั 3. ที่หนีบสไลด์ เป็ นแผ่นโลหะอยูบนแท่นวางวัตถุ ทาหน้าที่หนีบสไลด์ให้อยูกบที่ 4. ลากล้อง เป็ นท่อเชื่ อมระหว่างเลนส์ใกล้ตากับเลนส์ใกล้วตถุ ั 5. เลนส์ใกล้ตา เป็ นเลนส์นูน ทาหน้าที่ขยายภาพของวัตถุ สามารถถอดเปลี่ยนกาลังขยายได้ 6. เลนส์ใกล้วตถุ เป็ นเลนส์นูน ทาหน้าที่ขยายภาพของวัตถุให้เลนส์ใกล้ตา มีกาลังขยายให้ ั เลือกได้ 3 ขนาด 7. กระจกเงา เป็ นกระจกเว้า ทาหน้าที่สะท้อนแสงให้ส่องไปที่วตถุั 8. ปุ่ มปรับภาพหยาบ สาหรับใช้หมุนหาภาพของวัตถุก่อนใช้ปุ่มปรับภาพละเอียด 9. ปุ่ มปรับภาพละเอียด สาหรับใช้หมุนปรับภาพของวัตถุให้เห็นชัดเจนยิงขึ้น ่ วิธีการใช้กล้องจุลทรรศน์ กล้องจุลทรรศน์มีความสาคัญมากสาหรับการทางานในห้องปฏิบติการทางวิทยาศาสตร์ ั และเนื่องจากเป็ นอุปกรณ์ท่ีมีส่วนประกอบและการใช้งานที่ซบซ้อน ดังนั้นจึงจาเป็ นต้องเรี ยนรู ้วธีการใช้และ ั ิ ฝึ กฝนเพื่อให้เกิดทักษะที่ถูกต้องดังนี้
  • 13. 11 1. วางตัวกล้องบนพื้นราบที่มีความแข็งแรงและมีแสงสว่างเพียงพอโดยให้ลากล้องตั้งตรง 2. หมุนเลนส์ใกล้วตถุ โดยเลือกเลนส์ที่มีกาลังขยายต่าสุ ดมาใช้ก่อน ั 3. ปรับกระจกเงาใต้แท่นวางวัตถุให้แสงส่ องผ่านเข้าสู่ ลากล้องได้เต็มที่ โดยมองผ่านเลนสใกล้ตาจะ เห็นวงกลมสว่างที่สุด ่ 4. วางแผ่นสไลด์ที่เตรี ยมไว้บนแท่นวางวัตถุ จัดวัตถุให้อยูตรงตาแหน่งที่มีแสงส่ องผ่านได้ แล้วใช้ที่หนีบสไลด์จบแผ่นสไลด์ให้แน่น ั 5. หมุนปุ่ มปรับภาพหยาบจนเลนส์ใกล้วตถุเลื่อนลงมาต่าที่สุด โดยไม่ชนแผ่นสไลด์ ั 6. มองผ่านเลนส์ใกล้ตาแล้วค่อยๆ หมุนปุ่ มปรับภาพหยาบเลื่อนขึ้นจนมองเห็นภาพของวัตถุ ปรากฏ ขึ้นชัดเจนที่สุด แล้วจึงหมุนปุ่ มปรับภาพละเอียด ขณะนี้ อาจเลื่อนแผ่นสไลด์เพื่อ ่ ให้มองเห็นวัตถุในตาแหน่งที่เราสนใจอยูตรงกลางพอดี 7. ถ้าต้องการขยายภาพให้มีขนาดใหญ่ข้ ึน ให้หมุนเลนส์ ใกล้วตถุท่ีมีกาลังขยายสู งมาแทนที่ ั โดยไม่ตองเลื่อนแผ่นสไลด์ แล้วให้หมุนปุ่ มปรับภาพละเอียด เพื่อปรับภาพให้ชดเจนมาก ้ ั ขึ้น (ห้ามใช้ปุ่มปรับภาพหยาบ) 8. บันทึกภาพที่เห็นภายใต้กล้องจุลทรรศน์ และระบุกาลังขยายที่ใช้ วิธีคานวณกาลังขยาย กาลังขยายของกล้อง = กาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา x กาลังขยายของเลนส์ใกล้วตถุ ั เช่น กาลังขยายของกล้อง = 10 x 40 = 400 หมายความว่า ภาพที่มองเห็นจากกล้องจุลทรรศน์มีขนาดใหญ่กว่าวัตถุจริ ง 400 เท่า ข้ อควรระวังในการใช้ กล้ องจุลทรรศน์ กล้องจุลทรรศน์เป็ นเครื่ องมือที่มีราคาแพงและมีความซับซ้อนในการใช้งาน ผูใช้ ้ จึงต้องใช้อย่างระมัดระวังและรักษาความสะอาดอยูเ่ สมอ เพื่อไม่ให้เกิดความเสี ยหายและสามารถนาไปใช้งาน ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ข้อควรระวังมีดงนี้ ั 1. การยกกล้องเพื่อเคลื่อนย้าย ให้ใช้มือหนึ่งจับที่แขนของกล้อง อีกมือหนึ่งใช้รองที่ใต้ฐาน ปรับให้ตรง และยกกล้องในลักษณะตั้งตรง 2. ขณะที่หมุนปรับภาพหยาบเพื่อเลื่อนเลนส์ใกล้วตถุลงใกล้แผ่นสไลด์ ให้คอยมองด้านข้างของเลนส์ ั ใกล้วตถุไม่ให้ชนแผ่นสไลด์ ั 3. การมองภาพในกล้องจุลทรรศน์ควรลืมตาทั้ง 2 ข้าง 4. การเช็ดเลนส์ให้ใช้กระดาษเช็ดเลนส์เท่านั้น 5. การเก็บกล้องจุลทรรศน์เมื่อใช้งานเสร็ จแล้ว ควรปฏิบติดงนี้ ั ั
  • 14. 12 5.1ใช้ผาแห้งนุ่มทาความสะอาดตัวกล้อง ้ 5.2 เลื่อนที่หนีบสไลด์ให้ขนานกัน ่ 5.3 ปรับกระจกเงาให้อยูในแนวดิ่งตั้งฉากกับตัวกล้อง ่ 5.4 หมุนเลนส์ใกล้วตถุท่ีมีกาลังขยายต่าสุ ดให้ตรงกับลากล้อง และเลื่อนให้อยูในระดับต่าที่สุด ั
  • 15. 13 ใบความรู้ ที่ 3 เรื่อง เซลล์พช และเซลล์สัตว์ ื เซลล์ (Cell) คือ หน่วยที่เล็กที่สุดของสิ่ งมีชีวต ิ ่ เซลล์พช คือหน่วยที่เล็กที่สุดของพืช เซลล์มีอยูในทุกส่ วนของพืช อาจจะมีรูปร่ าง หน้าที่และ ื ส่ วนประกอบแตกต่างกันบ้าง แต่โดยทัวไปเซลล์มีส่วนประกอบดังนี้ ่ 1. ผนังเซลล์ (cell wall) อยูนอกสุ ด พบเฉพาะในเซลล์พืชเท่านั้น ผนังเซลล์ช่วยเสริ มสร้างความแข็งแรง ่ ให้แก่เซลล์ ทาให้เซลล์พืชคงรู ปอยูได้ ส่ วนใหญ่เป็ นสารพวกเซลลูโลสซึ่ งสร้างมาจากน้ าตาล ผนังเซลล์มีช่อง ่ เล็กๆให้สารต่างๆเข้าออกได้ 2. เยือหุมเซลล์ (cell membrane) มีลกษณะเป็ นเยือบางๆ ซึ่งเป็ นสารประเภทโปรตีน ่ ้ ั ่ และไขมัน ทาหน้าที่ห่อหุ มไซโทพลาสซึ มให้รวมกันอยูได้ และทาหน้าที่ควบคุมปริ มาณและชนิดของสารที่ ้ ่ ผ่านเข้าออกจากเซลล์ เช่น น้ า อากาศ ของเสี ย เกลือแร่ และอื่นๆ ่ 3. ไซโทพลาซึม (cytoplasm) เป็ นของเหลวที่อยูรอบ ๆ นิวเคลียส ประกอบด้วยสารประกอบหลาย ชนิด เช่น น้ าตาล โปรตีน ไขมัน คาร์ โบไฮเดรต และเกลือแร่ ชนิ ดต่างๆ ในไซโท พลาสซึ ม มีเม็ดสี เขียว เรี ยกว่า คลอโรพลาสต์ (chloroplast) ซึ่ งภายในมีน้ าและโมเลกุลของสารสี เขียว เรี ยกว่า คลอโรฟิ ลล์ (chlorophy) ซึ่งใช้ ในการสังเคราะห์ดวยแสงของพืช ้ 4. นิวเคลียส (Nucleus) มีลกษณะค่อนข้างกลม ทาหน้าที่ควบคุมการทางานของเซลล์ การเจริ ญเติบโต ั และการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุ กรรมจากพ่อแม่ไปสู่ ลูกหลาน ่ เซลล์สัตว์ คือหน่วยที่เล็กที่สุดของสัตว์ ซึ่ งมีอยูในทุก ๆส่ วนของสัตว์ อาจจะมีรูปร่ าง ขนาดและ ลักษณะแตกต่างกันออกไป ตามแต่ชนิดและหน้าที่ของเซลล์ เช่น เซลล์กล้ามเนื้อและเซลล์ประสาทมีลกษณะ ั เป็ นเส้นยาว เซลล์เม็ดเลือดแดงของกบมีลกษณะรี เป็ นรู ปไข่มีนิวเคลียสตรงกลาง แต่เซลล์เม็ดเลือดแดงของ ั สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมมีลกษณะกลมและไม่มีนิวเคลียส ั
  • 16. 14 ส่ วนประกอบและหน้ าที่ของเซลล์สัตว์ เซลล์สัตว์มีส่วนประกอบและหน้าที่ของเซลล์ดงนี้ ั 1. เยือหุ้มเซลล์ เป็ นส่ วนนอกสุ ดของเซลล์ ประกอบด้วยไขมันและโปรตีน ่ ่ 2. นิวเคลียส มีลกษณะค่อนข้างกลม อยูบริ เวณกลางเซลล์ เป็ นศูนย์กลางควบคุมกิจกรรมภายในเซลล์ ใน ั นิวเคลียสบรรจุดวย สารควบคุมลักษณะทางพันธุ กรรม ในเซลล์บางชนิดที่เจริ ญเติบโตเต็มที่แล้ว อาจไม่มี ้ นิวเคลียส เช่น เซลล์เม็ดเลือดแดงของคน เป็ นต้น ่ 3. ไซโทพลาซึม เป็ นส่ วนที่อยูระหว่างเยื่อหุ มเซลล์ กับนิ วเคลียส ซึ่ งไม่พบคลอโรพลาสต์ เหมือนใน เซลล์พืช ้ เซลล์สัตว์ก็เช่นเดียวกับเซลล์พืช คือ ประกอบด้วยส่ วนที่เป็ นนิวเคลียสและไซโทพลาซึ มแต่ในไซ โทพลาซึ มของเซลล์สัตว์ไม่มีคลอโรพลาสต์ จึงเป็ นเหตุผลหนึ่งที่สัตว์สร้างอาหารเองไม่ได้ นอกจากนี้ เซลล์ สัตว์ยงต่างจากเซลล์พืชอีกประการหนึ่งคือ เซลล์สัตว์ไม่มีผนังเซลล์ (cell wall) ั มีแต่เยือหุมเซลล์ (cell membranc) ล้อมรอบไซโทพลาซึ มเท่านั้น ่ ้
  • 17. 15 ใบกิจกรรมที่ 1 สรุ ปคาถามของสมาชิกในกลุ่มที่........... ……………………………………………… ………………………………… ……………………………………………… ………………………………… …………………………………………….. ………………………………… …. ………………………………………… ……………………………………… ………………………………………… ……………………………………… ……………………………………….. ………………………. ……………………………………………… …………………………………… ……………………………………………… …………………………………… …………………………………………….. ………………………………. ชื่อสมาชิกในกลุ่ม ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………
  • 18. 16 ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง ส่ วนประกอบของเซลล์พชและเซลล์สัตว์ ื สิ่ งมีชีวตทุกชนิดประกอบด้วยหน่วยที่เล็กที่สุดเรี ยกว่า เซลล์ พืชและสัตว์คือสิ่ งมีชีวตที่เกิดขึ้นจาก ิ ิ เซลล์แต่ละเซลล์มาเชื่อมต่อกันเป็ นจานวนหลายล้านเซลล์ เซลล์จึงเป็ นหน่วยย่อยขนาดเล็กที่มีการดาเนิน กิจกรรมต่าง ๆ ภายในเซลล์ ขั้นตั้งคาถาม 1. นักเรี ยนคิดว่าเซลล์พชและเซลล์สัตว์ มีรูปร่ างลักษณะเป็ นอย่างไร ื 2. นักเรี ยนคิดว่าเซลล์พชและเซลล์สัตว์มีส่วนประกอบที่เหมือนกัน หรื อแตกต่างกันอย่างไร ื 3. ประเด็นปั ญหาคืออะไร ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ขั้นเตรียมการค้ นหาคาตอบ 1. นักเรี ยนร่ วมกันตั้งสมมติฐาน 2. นักเรี ยนและครู ร่วมกันวางแผนออกแบบการทดลอง 3. ครู ให้คาแนะนาวิธีการทดลองเพิ่มเติม พร้อมทั้งชี้ แนะข้อควรระวังในการทดลอง ขั้นดาเนินการค้ นหาคาตอบและตรวจสอบคาตอบ 1. ศึกษาเซลล์ของเยือหอม ่ หยดน้ าลงบนสไลด์ 1-2 หยด ให้พอท่วม 1.1 ลอกเยือด้านในของกลีบหัวหอม วางลงบนหยดน้ า และปิ ดด้วยกระจกปิ ดสไลด์ระวังอย่า ่ ให้มีฟองอากาศ 1.2 ย้อมสี โดยหยดสารละลายไอโอดีน 1 หยด 1.3 นาไปตรวจดูดวยกล้องจุลทรรศน์ โดยใช้เลนส์ใกล้วตถุกาลังขยายต่าและกาลังขยายสู ง ้ ั ตามลาดับ วาดรู ป และชี้ส่วนประกอบของเซลล์ลงในตารางบันทึกผลการทดลอง 2. ศึกษาเซลล์ของสาหร่ ายหางกระรอก โดยนาใบอ่อนบริ เวณยอดอ่อนมาวางบนหยดน้ าบนสไลด์ ปิ ด ทับด้วยกระจกปิ ดสไลด์ และดาเนินการเช่นเดียวกับข้อ 1.3 3. ศึกษาเซลล์เยือบุขางแก้ม ่ ้ 3.1 หยดสารละลายโซเดียมคลอไรด์ ลงบนสไลด์ 1 หยด
  • 19. 17 3.2 ใช้ปลายไม้จิ้มฟันด้านป้ านจุ่ม เอทิลแอลกอฮอล์ 70% ทิ้งให้แห้งสักครู่ นาไปขูดเบา ๆ ที่ผวเยือบุขางแก้มในปาก และนามาเกลี่ยให้กระจายบนสไลด์ ิ ่ ้ 3.3 ดาเนินการเช่นเดียวกับ ข้อ 1.3 อุปกรณ์ที่ใช้ในกิจกรรมนี้มีอะไรบ้าง 1………………………………………………………………………………………………… 2………………………………………………………………………………………………… 3………………………………………………………………………………………………… ตารางบันทึกผลการทดลอง เซลล์ทนามาศึกษา ี่ ภาพของเซลล์ ส่ วนประกอบทีพบ ่ 1. เยือหอม ่ 2. สาหร่ ายหางกระรอก 3. เยือบุขางแก้ม ่ ้ สรุ ปผลการทดลองและการคิดวิเคราะห์ ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… คาถามท้ายการทดลองและการคิดวิเคราะห์ 1. นักเรี ยนสังเกต เซลล์สาหร่ ายหางกระรอกมีลกษณะแตกต่างจากเซลล์เยือบุขางแก้มอย่างไร ั ่ ้ 2. เซลล์พืชมีรูปร่ างแตกต่างจากเซลล์สัตว์อย่างไร 3. ส่ วนประกอบใดบ้างที่พบในเซลล์พืชแต่ไม่พบในเซลล์สัตว์ ขั้นสรุ ปและนาเสนอผลการค้ นหาคาตอบ 1. นักเรี ยนแต่ละกลุ่ม นาภาพวาดนาเสนอหน้าชั้นเรี ยน พร้อมทั้งอธิ บายถึงรู ปร่ าง ลักษณะ หน้าที่ และ ส่ วนประกอบของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ 2. นักเรี ยนแต่ละกลุ่ม ร่ วมกันอภิปราย ข้อแตกต่างระหว่าง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
  • 20. 18 3. นักเรี ยนและครู ร่วมกันอภิปราย หน้าที่ของส่ วนประกอบที่สาคัญของเซลล์พชและ ื เซลล์สัตว์ 4. นักเรี ยนแต่ละกลุ่ม ศึกษาค้นคว้า เกี่ยวกับ รู ปร่ าง หน้าที่ และส่ วนประกอบที่สาคัญ ของเซลล์พืชและเซลล์สตว์ เพิมเติม จากห้องสมุดโรงเรี ยน ห้องสมุดกลุ่มสาระ วิทยาศาสตร์ หรื อห้องศูนย์ ั ่ อินเตอร์เน็ต 5. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลการค้นคว้า จากแหล่งเรี ยนรู ้ มานาเสนอหน้าชั้นเรี ยน 6. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มประเมินชิ้นงาน ภาพวาดของแต่ละกลุ่ม โดยร่ วมกันตั้งเกณฑ์ เกี่ยวกับ ลักษณะ รู ปร่ างเซลล์ หน้าที่ ส่ วนประกอบ ความถูกต้องของเนื้อหา
  • 21. 19 ใบกิจกรรมที่ 3 เรื่อง หน้ าที่และส่ วนประกอบของเซลล์ คาชี้แจง นักเรี ยนร่ วมกันอภิปรายในกลุ่ม เพื่อตอบคาถามต่อไปนี้ ่ 1. นักเรี ยนคิดว่าเยื่อหุ มเซลล์มีคุณสมบัติอย่างไร จึงทาให้สารเคลื่อนที่ผานไปได้หรื อผ่าน ้ ไป ไม่ได้ นักเรี ยนมีวธีการทดลองอย่างไร ิ 2. เซลล์โดยทัวไปจะมีโครงสร้างพื้นฐานเป็ นอย่างไร จงอธิ บายพร้อมวาดภาพประกอบ ่ 3. นักเรี ยนคิดว่ารู ปร่ างของเซลล์มีความสัมพันธ์ กับการทาหน้าที่ของเซลล์น้ นหรื อไม่ ั อย่างไร จงอธิบาย พร้อมยกตัวอย่างประกอบ 4. ถ้านักเรี ยนอยากทราบว่า รู ปร่ างลักษณะของสิ่ งมีชีวตเซลล์เดียวและสิ่ งสิ่ งมีชีวตหลายเซลล์มี ิ ิ ลักษณะเหมือนหรื อต่างกันอย่างไร นักเรี ยนจะมีวธีการอย่างไร ิ
  • 22. 20 ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องแผนผังความคิด เซลล์พืช และเซลล์สัตว์ ให้นกเรี ยนเขียนแผนผังความคิด ของเซลล์พช และ เซลล์สัตว์ เพื่อบอกถึงส่ วนประกอบและหน้าที่ ั ื ของเซลล์พืชและเซลล์สตว์ ตามความคิดของนักเรี ยน ตกแต่งระบายสี ให้สวยงาม ั
  • 23. 21 เกณฑ์ การให้ คะแนนผลงานหรือชิ้นงาน นาหนักคะแนน (คุณภาพ) ้ ชิ้นงาน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑. สรุ ปองค์ความรู ้ ๑. สรุ ปส่วนประกอบของ ๑. สรุ ปส่วนประกอบ ๑. สรุ ปส่วนประกอบ ๑. สรุ ปส่วนประกอบ เกี่ยวกับเซลล์ เซลล์พืชและหน้าที่ได้ครบ และหน้าที่ของเซลล์พืช และหน้าที่ของเซลล์พืช และหน้าที่ของเซลล์พืช ทุกรายการ และเซลล์สตว์ ไม่ครบ ๒ และเซลล์สตว์ ไม่ครบ ั ั และเซลล์สตว์ ไม่ครบ ั ๒. สรุ ปเกี่ยวกับ รายการ ๓-๔ รายการ มากกว่า ๔ รายการ ส่วนประกอบของเซลล์ ๒. เขียนผังความคิด ๒. เขียนผังความคิด ๒. เขียนผังความคิด สัตว์และหน้าที่ได้ครบทุก - จัดวางองค์ประกอบ - จัดวางองค์ประกอบ - จัดวางองค์ประกอบ รายการ ไม่ได้สดส่วน ๑-๒ ั ไม่ได้สดส่วน ๓-๔ ั ไม่ได้สดส่วนตั้งแต่ ๕ ั ๓. เขียนผังความคิด ตาแหน่ง ตาแหน่ง ตาแหน่ง - จัดวางองค์ประกอบได้ - สะอาดหรื อความ - ไม่ค่อยสะอาด มี - ไม่สะอาด และไม่ เหมาะสมกับพื้นที่ สวยงามค่อนข้างดี ร่ องรอยให้เห็นสะอาด เป็ นระเบียบ - สะอาดดี พอสมควร - สวยงามเป็ นระเบียบ ๒. การเขียน ๑. รู ปแบบถูกต้อง ถูกต้องตามเกณฑ์ที่ระบุ ถูกต้องตามเกณฑ์ที่ระบุ ถูกต้องตามเกณฑ์ที่ระบุ รายงานผลการ ๒. เขียนจุดประสงค์ได้ ในน้ าหนักคะแนน ๔ ในน้ าหนักคะแนน ๔ ในน้ าหนักคะแนน ๔ ทดลอง ถูกต้อง ๖ รายการ ๕ รายการ ต่ากว่า ๕ รายการ ๓. มีการระบุตาแหน่งได้ ถูกต้อง ๔. เขียนวิธีการทดลองได้ ถูกต้องชัดเจน ๕. มีภาพประกอบการ ทดลอง ๖. บันทึกผลการทดลองได้ เหมาะสม ๗. วิเคราะห์และสรุ ปได้ ถูกต้อง
  • 24. 22 แบบทดสอบ เรื่องเซลล์พชและเซลล์สัตว์ ื คาสั่ ง : ให้นกเรี ยนบอกความแตกต่างของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ (อธิบายพอสังเขป) ั ตารางเปรียบเทียบความแตกต่ างของเซลล์พชและเซลล์สัตว์ ื รายการ เซลล์พช ื เซลล์สัตว์ รู ปร่ าง ผนังเซลล์ คลอโรพลาสต์ เซนทริ โอล แวคคิวโอล ไลโซโซม
  • 25. 23 ให้ ผ้ ูเรี ยนเติมส่ วนประกอบของเซลล์ ลงในช่ องว่ างและบอกหน้ าที่ของส่ วนประกอบต่ างๆ ให้ ถูกต้ อง 1. 2. 3. 5. 4. ส่ วนประกอบที่ หน้าที่ 1. 2. 3. 4. 5.
  • 26. 24 บันทึกการเรียนรู้ เรื่องเซลล์ จาก VCD .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ………… .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ………… .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ………… .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ………… .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ………… .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ………… .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ………… .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ………… .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ………… .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. …………