SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
รูป แบบการเรีย นการสอนโดยยึด ผู้เ รีย นเป็น
                    ศูน ย์ก ลาง:
    (CIPPA Model) หรือ รูป แบบการประสานห้า
                แนวคิด หลัก
                     โดย ทิศ นา แขมมณี

ปัญ หา: นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์และเจตคติต่อภาษาอังกฤษไม่ดี
คุณ ลัก ษณะ: การคิดวิเคราะห์ การคิดสร้างสรรค์ การทำางานเป็นกลุ่ม
การสื่อสาร และความใฝ่รู้
หลัก การ : การจัดการเรียนการสอนโดยใช้โมเดลซิปปา เป็นแนวคิด
ของทิศนา แขมมณี ที่กล่าวว่า ซิปปา (CIPPA) เป็นหลักการซึ่งสามารถ
นำาไปเป็นหลักในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ ให้แก่ผู้เรียน การจัด
กระบวนการเรียนการสอนตามหลัก “CIPPA” สามารถใช้วิธีการและ
กระบวนการที่หลากหลาย อาจจัดเป็นแบบแผนได้หลายรูปแบบ CIPPA
MODEL เป็น วิธีหนึ่งในการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็น
สำาคัญ เป็นรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ที่มุ่งเน้นให้
นักเรียนศึกษาค้นคว้า รวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง การมีส่วนร่วมในการ
สร้างคามรู้ การมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น และการแลกเปลี่ยนความรู้ การได้
เคลื่อนไหวทางกาย การเรียนรู้กระบวนการต่าง ๆ และการนำาความรู้ไป
ประยุกต์ใช้
             การจัดการเรียนการสอนแบบ CIPPA MODEL มาจาก
แนวคิดหลัก 5 แนวคิด ซึ่งเป็นแนวคิดพื้นฐานในการจัดการศึกษา
ได้แก่
        1.           แนวคิดการสร้างสรรค์ความรู้ (Contructivism)
        2.           แนวคิดเรื่องกระบวนการกลุ่มและการเรียนแบบ
        ร่วมมือ (Group Process and Cooperative Learning)
        3.           แนวคิดเกี่ยวกับความพร้อมในการเรียนรู้
        (Learning Readiness)
        4.           แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้กระบวนการ (Process
        Learning)
5.         แนวคิดเกี่ยวกับการถ่ายโอนการเรียนรู้
        (Transfer of Learning)

วัต ถุป ระสงค์                1. ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษา
อังกฤษดีขึ้น
                  2. ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนภาษาอังกฤษ

วิธ ีส อน (ขั้น การสอน) มีขั้นตอนสำาคัญ 7 ขั้นตอน ดังต่อไปนี้
1.ขั้น ทบทวนความรู้เ ดิม ขันนี้เป็นการดึงความรู้ของผู้เรียนในเรื่องที่
                               ้
เรียนเพื่อช่วยให้ผู้เรียนมีความพร้อมในการเชื่อมโยงความรู้ใหม่กับ
ความรู้เดิมของตน
2. ขั้น แสวงหาความรู้ใ หม่ ขันนี้เป็นการแสวงหาข้อมูล ความรู้ใหม่ที่
                                 ้
ผู้เรียนยังไม่มีจากแหล่งข้อมูลหรือแหล่งความรู้ต่างๆ ซึ่งครูอาจเตรียม
มาให้ผู้เรียนหรือให้คำาแนะนำาเกี่ยวกับแหล่งข้อมูลต่าง เพื่อให้ผู้เรียนไป
แสวงหาก็ได้
3. ขั้น การศึก ษาทำา ความเข้า ใจข้อ มูล /ความรู้ใ หม่? และเชื่อ ม
โยงความรู้ใ หม่ก ับ ความรู้เ ดิม ขั้นนี้เป็นขั้นที่ผู้เรียนเผชิญปัญหา
และทำาความเข้าใจกับข้อมูล ผู้เรียนจะต้องสร้างความหมายของข้อมูล
ประสบการณ์ใหม่ๆ โดยใช้กระบวนการต่างๆ ด้วยตนเอง เช่นใช้
กระบวนการคิด และกระบวนการกลุ่มในการอภิปรายและสรุปผลความ
เข้าใจเกี่ยวกับข้อมูลนั้น ซึ่งอาจจำาเป็นต้องอาศัยการเชื่อมโยงความรู้
เดิม มีการตรวจสอบความเข้าใจต่อตนเองหรือกลุ่ม โดยครูใช้สื่อและยำ้า
มโนมติในการเรียนรู้
4. ขั้น การแลกเปลี่ย นความรู้ค วามเข้า ใจกับ กลุ่ม ขันนี้เป็นขั้นที่ผู้
                                                             ้
เรียนอาศัยกลุ่มเป็นเครื่องมือ? ในการตรวจสอบความรู้ความเข้าใจของ
ตนเอง รวมทั้งขยายความรู้ความเข้าใจของตนให้กว้างขึ้น ซึ่งจะช่วย
ให้ผู้เรียนได้แบ่งปันความรู้ความเข้าใจของตนเองแก่ผู้อื่นและได้ รับ
ประโยชน์จากความรู้ ความเข้าใจของผู้อื่นไปพร้อมๆกัน
5. ขั้น การสรุป และจัด ระเบีย บความรู้ ขั้นนี้เป็นขั้นของการสรุป
ความรู้ที่ได้รับทั้งหมด ทั้งความรู้เดิมและความรู้ใหม่และจัดสิ่งที่เรียนรู้
ให้เป็นระบบระเบียบ เพื่อช่วยให้จดจำาสิ่งที่เรียนรู้ได้ง่าย
6. ขั้น การแสดงผลงาน ขั้นนี้เป็นขั้นที่ช่วยให้ผู้เรียนได้มีโอกาสได้
แสดงผลงานการสร้างความรู้ ของตนเองให้ผู้อื่นรับรู้ เป็นการช่วยให้ผู้
เรียนตอกยำ้า หรือตรวจสอบ เพื่อช่วยให้จดจำาสิ่งที่เรียนรู้ได้ง่าย
7. ขั้น ประยุก ต์ใ ช้ค วามรู้ ขันนี้เป็นการส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ฝึกฝน
                                ้
การนำาความรู้? ความเข้าใจของตนเองไปใช้ในสถานการณ์ต่างๆที่
หลากหลายเพื่อเพิ่มความชำานาญ ความเข้าใจ ความสามารถในการแก้
ปัญหาและความจำาในเรื่องนั้น ๆ
ประเมิล ผล
ผลสัมฤทธิ์ : แบบทดสอบ
เจตคติ: แบบวัดเจตคติ
                                                       นางสาวนา
รดา บุญ รัก ษ์
                                                       รหัส
นัก ศึก ษา 5524442230
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง

More Related Content

Similar to รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง

รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนwannaphakdee
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางรูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางIaon Srichiangsa
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdockrupornpana55
 
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coachingการนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ CoachingProud N. Boonrak
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Noppasorn Boonsena
 
สื่อนวตกรรมนำเสนอ
สื่อนวตกรรมนำเสนอสื่อนวตกรรมนำเสนอ
สื่อนวตกรรมนำเสนอrainacid
 
สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7Tsheej Thoj
 
ออซูเบล
ออซูเบลออซูเบล
ออซูเบลsanniah029
 
ทฤษฎีของออซูเบล
ทฤษฎีของออซูเบลทฤษฎีของออซูเบล
ทฤษฎีของออซูเบลNusaiMath
 
David p. ausubel
David p. ausubelDavid p. ausubel
David p. ausubelya035
 
ออซ เบล New
ออซ เบล Newออซ เบล New
ออซ เบล Newmakusoh026
 
David p. ausubel
David p. ausubelDavid p. ausubel
David p. ausubelya035
 
ออซ เบล New
ออซ เบล Newออซ เบล New
ออซ เบล Newsaleehah053
 
David p. ausubel
David p. ausubelDavid p. ausubel
David p. ausubelya035
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้wisnun
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่panggoo
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่Vachii Ra
 

Similar to รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (20)

รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอน
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางรูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
 
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coachingการนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
อาม
อามอาม
อาม
 
Itage2
Itage2Itage2
Itage2
 
สื่อนวตกรรมนำเสนอ
สื่อนวตกรรมนำเสนอสื่อนวตกรรมนำเสนอ
สื่อนวตกรรมนำเสนอ
 
สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7
 
ออซูเบล
ออซูเบลออซูเบล
ออซูเบล
 
ทฤษฎีของออซูเบล
ทฤษฎีของออซูเบลทฤษฎีของออซูเบล
ทฤษฎีของออซูเบล
 
David p. ausubel
David p. ausubelDavid p. ausubel
David p. ausubel
 
ออซ เบล New
ออซ เบล Newออซ เบล New
ออซ เบล New
 
David p. ausubel
David p. ausubelDavid p. ausubel
David p. ausubel
 
ออซ เบล New
ออซ เบล Newออซ เบล New
ออซ เบล New
 
David p. ausubel
David p. ausubelDavid p. ausubel
David p. ausubel
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่
 
ภารกิจครูผู้ช่วย2
ภารกิจครูผู้ช่วย2ภารกิจครูผู้ช่วย2
ภารกิจครูผู้ช่วย2
 

More from Proud N. Boonrak

สมุดประจำตัวลูกเสือ
สมุดประจำตัวลูกเสือสมุดประจำตัวลูกเสือ
สมุดประจำตัวลูกเสือProud N. Boonrak
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงProud N. Boonrak
 
ทฤษฏีไวก็อตสกี้
ทฤษฏีไวก็อตสกี้ทฤษฏีไวก็อตสกี้
ทฤษฏีไวก็อตสกี้Proud N. Boonrak
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการProud N. Boonrak
 
มาตรา ๒๔ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒
มาตรา ๒๔ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒มาตรา ๒๔ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒
มาตรา ๒๔ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒Proud N. Boonrak
 
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคตภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคตProud N. Boonrak
 
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Brการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน BrProud N. Boonrak
 
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์Proud N. Boonrak
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพProud N. Boonrak
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง Proud N. Boonrak
 
ร่างยุทธศาสตร์การศึกษา
ร่างยุทธศาสตร์การศึกษาร่างยุทธศาสตร์การศึกษา
ร่างยุทธศาสตร์การศึกษาProud N. Boonrak
 
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมProud N. Boonrak
 

More from Proud N. Boonrak (15)

สมุดประจำตัวลูกเสือ
สมุดประจำตัวลูกเสือสมุดประจำตัวลูกเสือ
สมุดประจำตัวลูกเสือ
 
Present simple
Present simplePresent simple
Present simple
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
ทฤษฏีไวก็อตสกี้
ทฤษฏีไวก็อตสกี้ทฤษฏีไวก็อตสกี้
ทฤษฏีไวก็อตสกี้
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
 
มาตรา ๒๔ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒
มาตรา ๒๔ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒มาตรา ๒๔ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒
มาตรา ๒๔ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒
 
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคตภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
 
พหุปัญญา
พหุปัญญาพหุปัญญา
พหุปัญญา
 
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Brการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
 
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
 
ASEAN
ASEANASEAN
ASEAN
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
ร่างยุทธศาสตร์การศึกษา
ร่างยุทธศาสตร์การศึกษาร่างยุทธศาสตร์การศึกษา
ร่างยุทธศาสตร์การศึกษา
 
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
 

รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง

  • 1. รูป แบบการเรีย นการสอนโดยยึด ผู้เ รีย นเป็น ศูน ย์ก ลาง: (CIPPA Model) หรือ รูป แบบการประสานห้า แนวคิด หลัก โดย ทิศ นา แขมมณี ปัญ หา: นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์และเจตคติต่อภาษาอังกฤษไม่ดี คุณ ลัก ษณะ: การคิดวิเคราะห์ การคิดสร้างสรรค์ การทำางานเป็นกลุ่ม การสื่อสาร และความใฝ่รู้ หลัก การ : การจัดการเรียนการสอนโดยใช้โมเดลซิปปา เป็นแนวคิด ของทิศนา แขมมณี ที่กล่าวว่า ซิปปา (CIPPA) เป็นหลักการซึ่งสามารถ นำาไปเป็นหลักในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ ให้แก่ผู้เรียน การจัด กระบวนการเรียนการสอนตามหลัก “CIPPA” สามารถใช้วิธีการและ กระบวนการที่หลากหลาย อาจจัดเป็นแบบแผนได้หลายรูปแบบ CIPPA MODEL เป็น วิธีหนึ่งในการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็น สำาคัญ เป็นรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ที่มุ่งเน้นให้ นักเรียนศึกษาค้นคว้า รวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง การมีส่วนร่วมในการ สร้างคามรู้ การมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น และการแลกเปลี่ยนความรู้ การได้ เคลื่อนไหวทางกาย การเรียนรู้กระบวนการต่าง ๆ และการนำาความรู้ไป ประยุกต์ใช้ การจัดการเรียนการสอนแบบ CIPPA MODEL มาจาก แนวคิดหลัก 5 แนวคิด ซึ่งเป็นแนวคิดพื้นฐานในการจัดการศึกษา ได้แก่ 1. แนวคิดการสร้างสรรค์ความรู้ (Contructivism) 2. แนวคิดเรื่องกระบวนการกลุ่มและการเรียนแบบ ร่วมมือ (Group Process and Cooperative Learning) 3. แนวคิดเกี่ยวกับความพร้อมในการเรียนรู้ (Learning Readiness) 4. แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้กระบวนการ (Process Learning)
  • 2. 5. แนวคิดเกี่ยวกับการถ่ายโอนการเรียนรู้ (Transfer of Learning) วัต ถุป ระสงค์ 1. ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษา อังกฤษดีขึ้น 2. ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนภาษาอังกฤษ วิธ ีส อน (ขั้น การสอน) มีขั้นตอนสำาคัญ 7 ขั้นตอน ดังต่อไปนี้ 1.ขั้น ทบทวนความรู้เ ดิม ขันนี้เป็นการดึงความรู้ของผู้เรียนในเรื่องที่ ้ เรียนเพื่อช่วยให้ผู้เรียนมีความพร้อมในการเชื่อมโยงความรู้ใหม่กับ ความรู้เดิมของตน 2. ขั้น แสวงหาความรู้ใ หม่ ขันนี้เป็นการแสวงหาข้อมูล ความรู้ใหม่ที่ ้ ผู้เรียนยังไม่มีจากแหล่งข้อมูลหรือแหล่งความรู้ต่างๆ ซึ่งครูอาจเตรียม มาให้ผู้เรียนหรือให้คำาแนะนำาเกี่ยวกับแหล่งข้อมูลต่าง เพื่อให้ผู้เรียนไป แสวงหาก็ได้ 3. ขั้น การศึก ษาทำา ความเข้า ใจข้อ มูล /ความรู้ใ หม่? และเชื่อ ม โยงความรู้ใ หม่ก ับ ความรู้เ ดิม ขั้นนี้เป็นขั้นที่ผู้เรียนเผชิญปัญหา และทำาความเข้าใจกับข้อมูล ผู้เรียนจะต้องสร้างความหมายของข้อมูล ประสบการณ์ใหม่ๆ โดยใช้กระบวนการต่างๆ ด้วยตนเอง เช่นใช้ กระบวนการคิด และกระบวนการกลุ่มในการอภิปรายและสรุปผลความ เข้าใจเกี่ยวกับข้อมูลนั้น ซึ่งอาจจำาเป็นต้องอาศัยการเชื่อมโยงความรู้ เดิม มีการตรวจสอบความเข้าใจต่อตนเองหรือกลุ่ม โดยครูใช้สื่อและยำ้า มโนมติในการเรียนรู้ 4. ขั้น การแลกเปลี่ย นความรู้ค วามเข้า ใจกับ กลุ่ม ขันนี้เป็นขั้นที่ผู้ ้ เรียนอาศัยกลุ่มเป็นเครื่องมือ? ในการตรวจสอบความรู้ความเข้าใจของ ตนเอง รวมทั้งขยายความรู้ความเข้าใจของตนให้กว้างขึ้น ซึ่งจะช่วย ให้ผู้เรียนได้แบ่งปันความรู้ความเข้าใจของตนเองแก่ผู้อื่นและได้ รับ ประโยชน์จากความรู้ ความเข้าใจของผู้อื่นไปพร้อมๆกัน 5. ขั้น การสรุป และจัด ระเบีย บความรู้ ขั้นนี้เป็นขั้นของการสรุป ความรู้ที่ได้รับทั้งหมด ทั้งความรู้เดิมและความรู้ใหม่และจัดสิ่งที่เรียนรู้ ให้เป็นระบบระเบียบ เพื่อช่วยให้จดจำาสิ่งที่เรียนรู้ได้ง่าย 6. ขั้น การแสดงผลงาน ขั้นนี้เป็นขั้นที่ช่วยให้ผู้เรียนได้มีโอกาสได้ แสดงผลงานการสร้างความรู้ ของตนเองให้ผู้อื่นรับรู้ เป็นการช่วยให้ผู้
  • 3. เรียนตอกยำ้า หรือตรวจสอบ เพื่อช่วยให้จดจำาสิ่งที่เรียนรู้ได้ง่าย 7. ขั้น ประยุก ต์ใ ช้ค วามรู้ ขันนี้เป็นการส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ฝึกฝน ้ การนำาความรู้? ความเข้าใจของตนเองไปใช้ในสถานการณ์ต่างๆที่ หลากหลายเพื่อเพิ่มความชำานาญ ความเข้าใจ ความสามารถในการแก้ ปัญหาและความจำาในเรื่องนั้น ๆ ประเมิล ผล ผลสัมฤทธิ์ : แบบทดสอบ เจตคติ: แบบวัดเจตคติ นางสาวนา รดา บุญ รัก ษ์ รหัส นัก ศึก ษา 5524442230